You are on page 1of 62

แผนพลังงานชาติ

กับความท้าทายเทคโนโลยี
เพื่ อความยั่งยืน

Photo : freepik

นายวัฒนพงษ์ คุโรวาท
ผู้อานวยการสานักงานนโยบายและแผนพลังงาน
หลักสูตรพลังงานสาหรับผู้บริหาร (Executive Energy Program) รุ่นที่ 7 วันศุกร์ที่ 24 มิถุนายน 2565
หัวข้อนาเสนอ
01 ทิศทางพลังงานโลก

02 แผนพลังงานชาติ (National Energy Plan)

03 สถานการณ์พลังงานไฟฟ้าในประเทศไทย

04 การบริหารจัดการพลังงานแห่งอนาคต

05 Road to New Business Opportunity


2
01 ทิศทางพลังงานโลก
ปัจจัยขับเคลื่อนทิศทางพลังงานโลก
Diving force : 2 Degree Pathway

ที่มา: OurWorldinData 4
ปัจจัยขับเคลื่อนทิศทางพลังงานโลก
ต้นทุนพลังงาน
Solar & Wind ยังคงลดลงต่อเนือ ่ ง ต้นทุน Battery ลดลงอย่างต่อเนือ่ ง
สะท้อนต่อการใช้งานทีเ่ พิ่ มขึน
้ ส่งผลต่อการเพิ่ มสัดส่วนการใช้งาน RE

แหล่งที่มา : Bloomberg NEF

แหล่งที่มา : BP Energy Outlook 2022


5
NET ZERO EMISSIONS RACE

6
แนวโน้มการผลิตและใช้พลังงานในอนาคต
ของ IRENA Indicator

ที่มา: Global Renewable Outlook; Energy Transformation 2050. IRENA 2020


7
มุมมองสถานการณ์พลังงานในอนาคตของ BP
สัดส่วนพลังงานจากฟอสซิลจะลดลง สัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจาก Solar & Wind
จากการเติบโตอย่างรวดเร็วของ RE ้ จาก <10% เป็น 45-70%
จะเพิ่ มขึน

แหล่งที่มา : BP Energy Outlook 2022 8


่ ้วย
พลังงานจากฟอสซิลจะถูกแทนทีด EV จะมีสัดส่วนมากกว่า 40-80% ทาให้
พลังงานไฟฟ้าและไฮโดรเจน ความต้องการนา้ มันในภาค Transport ลดลง

แหล่งที่มา : BP Energy Outlook 2022 9


พลังงานจาก Hydrogen ตลาด CCUS
จะเริ่มเข้ามามีบทบาทในอนาคต ่ ง
มีบทบาทและมีการเติบโตอย่างต่อเนือ

แหล่งที่มา : BP Energy Outlook 2022 10


สรุปบทเรียนแนวโน้มพลังงานในอนาคต
้ เพลิงฟอสซิลมีแนวโน้มลดลงอย่างมาก
• การใช้เชือ
การลงทุนโครงสร้างพื้ นฐานด้านพลังงานขนาดใหญ่
ในรูปแบบเดิมต้องคานึงถึงความเสี่ยงทีอ
่ าจจะเกิดขึน

้ อย่างมาก
• แนวโน้ม Electrification โดยเฉพาะ EV เพิ่ มขึน
จะทาให้ความต้องการพลังงานไฟฟ้าเติบโตอย่างต่อเนือ
่ ง
• พลังงานหมุนเวียนจาก Solar & Wind จะเป็นเชือ้ เพลิงทีม ่ ีสัดส่วนสูงมาก
การผลิตไฟฟ้า และมีความจาเป็นต้องปรับปรุงระบบไฟฟ้าเพื่ อรองรับ

• เทคโนโลยี Hydrogen และ CCUS เป็นเทคโนโลยีทม


ี่ ีบทบาทสาคัญในอนาคต

11
02 แผนพลังงานชาติ
(National Energy Plan)
Photo by Zbynek Burival on Unsplash

Photo by Joshua Tsu on Unsplash


เป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ

13
การประกาศเป้าหมายของไทยสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality)
“ประเทศไทยบรรลุเป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอนภายในปี ค.ศ. 2050
และบรรลุเป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ได้ปี ค.ศ. 2065
และด้วยการสนับสนุนทางด้านการเงินและเทคโนโลยีอย่างเต็มที่และเท่าเทียม
รวมถึงการเสริมสร้างขีดความสามารถจากความร่วมมือระหว่างประเทศ และกลไกภายใต้กรอบอนุสัญญาฯ
ผมมั่นใจว่าประเทศไทยก็จะสามารถยกระดับ NDC ของเราขึ้นเป็นร้อยละ 40 ในปี ค.ศ. 2030 ได้
ซึ่งจะทาให้การปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิของไทยเป็นศูนย์ได้ภายในปี ค.ศ. 2050”

ระดับการปล่อย
ก๊าซเรือนกระจก
กรณีปกติ และ
Updated NDC คิดเฉพาะ CO2 มีค่าเท่ากับ 256 MtCO2

14
ศั กยภาพการลดก๊าซเรือนกระจกจาก ภาค Energy ในปี ค.ศ. 2030

คิดเฉพาะ CO2 มีค่าเท่ากับ 164.2 MtCO2


โดยเป็น Uncon = 123.9 MtCO2
Con = 40.3 MtCO2
15
การปรับแผนพลังงานสู่ Low Carbon Economy
Policy Direction to
2 3
ภายในปี ค.ศ. 2050
1 4

16
ประโยชน์จากการปรับแผนพลังงานสู่ Low Carbon Economy
เพิ่มศักยภาพการแข่งขัน
สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ ของผู้ประกอบการไทย
DECENTRALIZATION ลดการลงทุนในสินทรัพย์ รองรับรูปแบบการค้า
Grid Edge ที่มีประสิทธิภาพต่า กลไกผ่านภาษีคาร์บอน
Technology
ELECTRIFICATION
รองรับ Customer Grid Defection
DIGITALIZATION

เพิ่มการลงทุนและการจ้างงาน ฟื้นฟูเศรษฐกิจ
ในระบบเศรษฐกิจประเทศ หลังสถานการณ์วิกฤต
จากการเพิ่มสัดส่วน COVID-19
ของพลังงานสะอาด

บรรเทาปัญหา
มลพิษ PM2.5 17
การปรับแผนพลังงานรองรับนโยบาย 4D1E

รองรับการเกิด Energy Transformation

Green Society

National Energy Plan Smart System Smart Life


18
แผนพลังงานตามแนวทาง 4D1E

ด้านไฟฟ้า High RE Penetration

 เพิ่มสัดส่วน RE ในโรงไฟฟ้าใหม่ Phase out Fossil


 ลดสัดส่วนการผลิตจากเชื้อเพลิงฟอสซิลที่ปลดปล่อย CO2
และการผลิตจากโรงไฟฟ้าทีม่ ีประสิทธิภาพต่า Grid Modernization
 พัฒนาเทคโนโลยีการใช้ประโยชน์และการกักเก็บคาร์บอน
 พัฒนา Grid Modernization และบริหารจัดการระบบไฟฟ้า
ด้วยเทคโนโลยี Smart Grid พัฒนาการพยากรณ์และการควบคุม
ระบบไฟฟ้าให้ทันสมัย DER Aggregation
 ผลิตพลังงานและโครงสร้างพื้นฐานแบบกระจายศูนย์
ศึกษาแนวทางการปรับปรุงโครงสร้างกิจการไฟฟ้า
รองรับรูปแบบการซื้อขายที่อาจเกิดขึ้น Electrification
เปลี่ยนรูปแบบการใช้พลังงานมาเป็นพลังงานไฟฟ้า
19
แผนพลังงานตามแนวทาง 4D1E

ด้านก๊าซธรรมชาติ Decarbonized Heat Sector


NG
LNG
H2
Low-Carbon
• ส่งเสริมการใช้ LNG ในภาคอุตสาหกรรมและภาคขนส่ง Bio-methane Technologies
แทนการใช้น้ามัน และถ่านหิน
• บริหารจัดการก๊าซธรรมชาติในประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ Resource Optimization
พัฒนาระบบการประเมินศักยภาพและกากับดูแลทรัพยากรปิโตรเลียม
ให้ทันสมัย บริหารจัดการการนาเข้า LNG จากต่างประเทศ
• พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านก๊าซธรรมชาติ รองรับการใช้ก๊าซธรรมชาติ
แบบกระจายศูนย์ และกากับดูแลคุณภาพการให้บริการและมาตรฐาน Distributed Gas System
ความปลอดภัย
• เปิดเสรีกิจการก๊าซธรรมชาติโดยปรับปรุงกฎระเบียบที่เป็นอุปสรรค
และพัฒนาโครงสร้างราคาก๊าซธรรมชาติ และส่งเสริมให้เกิดการแข่งขัน Gas Market Liberation
อย่างเต็มรูปแบบ 20
แผนพลังงานตามแนวทาง 4D1E

ด้านน้ามัน
Low Carbon Petroleum
• ปรับปรุงมาตรฐานโรงกลั่นน้ามันให้มีคุณภาพน้ามัน
เทียบเท่า EURO 5 และ 6 ของยุโรป
• ส่งเสริมการใช้น้ามันเชื้อเพลิงคาร์บอนต่าและเชื้อเพลิงชีวภาพ Bio-Fuel & Low carbon Tech.
ในภาคขนส่งในสัดส่วนที่เหมาะสม และปรับโครงสร้างราคา
น้ามันให้สะท้อนต้นทุนและไม่กระทบต่อภาระประชาชน
• พัฒนาการจัดทาระบบการควบคุมกากับดูแลและเก็บข้อมูล
ด้านน้ามันเชื้อเพลิงด้วยเทคโนโลยีดจิ ิทัล Electrified Residential Heat
• ส่งเสริมการปรับเปลีย่ นรูปแบบการใช้พลังงานในภาค
เศรษฐกิจต่างๆ มาเป็นไฟฟ้า และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
ด้านน้ามัน พัฒนาและส่งเสริมการเปลี่ยนการใช้ความร้อน
จาก LPG ในภาคครัวเรือนมาเป็นเตาไฟฟ้า
21
แผนพลังงานตามแนวทาง 4D1E
ด้านพลังงานทดแทน DG Promotion
และพลังงานทางเลือก

• ประเมินศักยภาพพลังงานหมุนเวียนของประเทศ
• ส่งเสริมและพัฒนากลไกการผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนแบบกระจายศูนย์ RE Data &
• จัดทาแพลตฟอร์มและพัฒนาศูนย์ข้อมูลในการควบคุมพลังงานหมุนเวียน Control Center
ด้วยระบบดิจิทัล
• กาหนดมาตรการส่งเสริมให้เกิดการลงทุนในพลังงานหมุนเวียนมากขึ้น
โดยการกาหนดราคารับซื้อพลังงานสะอาด และการปรับปรุงกฎระเบียบ
ให้มีกลไกส่งเสริมและสร้างแรงจูงใจ RE Regulation
• ส่งเสริมการลงทุนในตลาดเทคโนโลยีพลังงานหมุนเวียน & Market
พัฒนาตลาดชีวมวลเพื่อการผลิตไฟฟ้าและความร้อนเพื่อเป็นประเทศฐาน
ของ Bioeconomy ศึกษาและพัฒนาการใช้ไฮโดรเจน เปลี่ยนเชื้อเพลิง
ชีวภาพไปสู่ Bio-Jet และการใช้งานอุตสาหกรรมปิโตรเคมี
22
แผนพลังงานตามแนวทาง 4D1E

ด้านการอนุรักษ์พลังงาน
NEW EE Target
• กาหนดเป้าหมายการเพิ่มประสิทธิภาพใหม่ พัฒนามาตรการส่งเสริม
การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานให้ครอบคลุมทุกภาคส่วน EE Regulation
ปรับปรุงกฎระเบียบและกาหนดมาตรการเพื่อให้เกิดกลไกตลาด
ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
& Market
• ส่งเสริมการลงทุนในตลาดเทคโนโลยีการเพิ่มประสิทธิภาพพลังงาน
และส่งเสริมให้เกิดอุตสาหกรรมสีเขียว
• พัฒนาเทคโนโลยีเพื่อบริหารจัดการการใช้พลังงาน NEW EE Technology
อย่างมีประสิทธิภาพและรองรับเทคโนโลยีการใช้พลังงานยุคใหม่ & Infrastructure
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานรองรับการใช้พลังงานที่มปี ระสิทธิภาพ
ในอนาคต เช่น โครงสร้างพื้นฐานสถานีอัดประจุไฟฟ้า

23
03 สถานการณ์พลังงานไฟฟ้า
ในประเทศไทย
การจัดหาไฟฟ้า การใช้ไฟฟ้า
กาลังผลิตตามสัญญา Peak ในระบบ 3 การไฟฟ้า
MW* MW*
ณ เดือน เม.ย. 2565 ณ วันที่ 28 เม.ย. 2565 เวลา 14.30 น.
ไม่รวม Peak ของ IPS

การผลิตไฟฟ้า การใช้ไฟฟ้า
% %
71,167 GWh* 64,013 GWh*
Export 905 GWh
Electricity Consumption (Classified by Consumer)
การใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้น อุตสาหกรรม 46%  3.4%

การผลิตไฟฟ้าจากก๊าซธรรมชาติ น้ามัน ในเกือบทุกสาขาเศรษฐกิจ ครัวเรือน


ธุรกิจ
27%  6.9%
23%  6.3%
(ยกเว้นเกษตรกรรม) ไฟไม่คิดมูลค่า 2%  5.8%

พลังน้า ไฟฟ้านาเข้า และพลังงานหมุนเวียน เพิ่มขึ้น เนื่องจากฐานการขยายตัวที่ต่าผิดปกติ


จากผลกระทบของการแพร่ระบาดของโควิด-19
อื่นๆ (คือ ไฟฟ้า… 2%  9.3%
เกษตรกรรม 0.3%  8.4%
องค์กรไม่แสวงหา… 0.1%  9.7%
ในขณะที่การผลิตไฟฟ้าถ่านหิน/ลิกไนต์ ลดลง ในช่วงเดียวกันของปีก่อน
หมายเหตุ: เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
*ไม่รวมข้อมูลของผู้ผลิตไฟฟ้าใช้เอง (IPS)
25
สัดส่วนกาลังผลิตตามสัญญาในระบบไฟฟ้าจาแนกตามผู้ผลิตไฟฟ้า

30% 32% 19% 11% 8%

กฟผ. IPP SPP นาเข้าและ VSPP


แลกเปลี่ยน
15,520 MW 16,124 MW 9,439 MW 5,721 MW 4,237 MW

กาลังผลิตตามสัญญาในระบบไฟฟ้า ณ สิ้นเดือนเมษายน 2565 รวมทั้งสิ้น MW


หมายเหตุ : กาลังผลิตตามสัญญาในระบบไฟฟ้าไม่รวมข้อมูลของผู้ผลิตไฟฟ้าใช้เอง (IPS)
ที่มา : 3 การไฟฟ้า และ สานักงาน กกพ. 26
การผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงชนิดต่าง ๆ
การผลิตไฟฟ้า ถ่านหินนาเข้า/ลิกไนต์
% 10,833 GWh
การผลิตไฟฟ้าจากก๊าซธรรมชาติ
15%
น้ามัน พลังน้า ไฟฟ้านาเข้า
และพลังงานหมุนเวียน เพิ่มขึ้น
14% นาเข้า
ในขณะที่การผลิตไฟฟ้า 10,015 GWh
จากถ่านหิน/ลิกไนต์ ลดลง
56% 11% พลังงานหมุนเวียน
ก๊าซธรรมชาติ 3% 7,645 GWh
39,937 GWh 0.5%
พลังน้า
2,404 GWh
ม.ค. – เม.ย. 2565 : รวมทั้งสิ้น GWh น้ามัน
334 GWh
หมายเหตุ : (1) การผลิตไฟฟ้าในที่นยี้ ังไม่รวมการผลิตไฟฟ้าของผู้ผลิตไฟฟ้าใช้เอง (IPS)
(2) การผลิตไฟฟ้าจากน้า้ มันรวมการผลิตไฟฟ้าจากน้า้ มันปาล์มของโรงไฟฟ้าบางปะกง
27
ปริมาณการใช้ไฟฟ้ารายสาขา ปี 2565* (ม.ค.-เม.ย.)
ประเภท Growth Share
250,000 การใช้ไฟฟ้า ส่วนราชการฯ เกษตรกรรม***
(%) (%)
ไฟฟ้าไม่คิดมูลค่า อื่นๆ**** ครัวเรือน  6.9 27
%
200,000 ธุรกิจ  6.3 23
ไฟฟ้าไม่คิดมูลค่า
อื่นๆ****
2%
2% อุตสาหกรรม  3.4 46
อุตสาหกรรม
กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh)

150,000
องค์กรไม่แสวงหากาไร**  9.7 0.1
ครัวเรือน เกษตรกรรม***  8.4 0.3
27%
อื่นๆ****  9.3 2
100,000 อุตสาหกรรม 2564
46% ไฟฟ้าไม่คิดมูลค่า  5.8 2
ธุรกิจ ธุรกิจ
23% ** ตั้งแต่เดือน ต.ค. 2555 เป็นต้นไป ผู้ใช้ไฟฟ้าที่เป็นหน่วยงานราชการจะถูกจัด
50,000 เข้าประเภทธุรกิจ/กิจการขนาดเล็ก แล้วแต่กรณี
*** การใช้ไฟฟ้าในสาขาเกษตรกรรม ได้แก่ การใช้ไฟฟ้าในการสูบน้้าเพื่อ
การเกษตร
ครัวเรือน **** อื่นๆ ได้แก่ ไฟฟ้าชั่วคราว และอื่นๆ
หมายเหตุ : ไม่รวมการใช้ไฟฟ้าของผู้ผลิตไฟฟ้าใช้เอง (IPS)
0
2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 28
การจาหน่ายไฟฟ้าจาแนกตามประเภทอัตราค่าไฟฟ้า
กิจการเฉพาะอย่าง องค์กรไม่แสวงหากาไร** ปี 2565* (ม.ค.-เม.ย.)
สูบน้าการเกษตร ไฟฟ้าไม่คิดมูลค่า ประเภท Growth (%) Share (%)
200,000 อื่นๆ*** ลูกค้าตรง กฟผ. บ้านอยู่อาศัย  6.9 27
กิจการขนาดเล็ก  4.4 11
180,000
กิจการขนาดกลาง  2.7 15
160,000 กิจการขนาดใหญ่ กิจการขนาดใหญ่  4.2 39
กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh)

140,000 กิจการเฉพาะอย่าง  20.8 3


120,000
องค์กรไม่แสวงหากาไร**  9.7 0.1
สูบน้าการเกษตร  8.4 0.3
100,000
กิจการขนาดกลาง อื่นๆ***  10.9 2
80,000 ไฟฟ้าไม่คิดมูลค่า  5.8 2
60,000 กิจการขนาดเล็ก ลูกค้าตรง กฟผ.  7.4 1
** ตั้งแต่เดือน ต.ค. 2555 เป็นต้นไป ผู้ใช้ไฟฟ้าที่เป็นหน่วยงานราชการจะถูกจัดเข้า
40,000 ประเภทกิจการขนาดเล็ก/กลาง/ใหญ่ แล้วแต่กรณี
*** อื่นๆ ได้แก่ ประเภทไฟฟ้าส้ารอง ประเภทที่สามารถงดจ่ายไฟฟ้าได้ และไฟฟ้าชั่วครว
20,000 บ้านอยู่อาศัย
หมายเหตุ : ไม่รวมการใช้ไฟฟ้าของผู้ผลิตไฟฟ้าใช้เอง (IPS)
0
2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 29
การจาหน่ายไฟฟ้าของกลุ่มอุตสาหกรรมที่สาคัญ * เดือน ม.ค.-เม.ย.

12,000
อาหาร
11,000
10,000
9,000
กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh)

8,000 เหล็กและโลหะพื้นฐาน
7,000 อิเล็กทรอนิกส์

6,000
พลาสติก
5,000 ยานยนต์
4,000 ยางและผลิตภัณฑ์ยาง
สิ่งทอ
3,000 ซีเมนต์
การผลิตน้าแข็ง
2,000
เคมีภัณฑ์

1,000
2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564

ปี 2565* อาหาร เหล็กและโลหะ สิ่งทอ อิเล็กทรอนิกส์ พลาสติก ยานยนต์ ซีเมนต์ เคมีภัณฑ์ ยางและ การผลิต
พื้นฐาน ผลิตภัณฑ์ยาง น้าแข็ง
Growth (%)  2.8  8.7  2.4  4.1  0.3  2.5  1.7  1.4  8.3  0.5 30
การจาหน่ายไฟฟ้าของกลุ่มธุรกิจที่สาคัญ * เดือน ม.ค.-เม.ย.

5,500

5,000

4,500
อพาร์ทเมนต์
4,000 ห้างสรรพสินค้า
กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh)

ขายปลีก
3,500

3,000 โรงพยาบาล
ขายส่ง
2,500 อสังหาริมทรัพย์
โรงแรม
2,000

1,500

1,000 ภัตตาคารและไนต์คลับ
สถาบันการเงิน
500 ก่อสร้าง
2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564
ห้างสรรพ อพาร์ตเมนต์ อสังหา โรงพยาบาล/ ภัตตาคาร
ปี 2565* สินค้า โรงแรม และเกสต์เฮาส์ ขายปลีก ริมทรัพย์
สถานบริการ ขายส่ง สถาบันการเงิน ก่อสร้าง และไนต์คลับ
ทางการแพทย์
Growth (%)  2.1  30.1  11.0  6.0  1.7  9.0  7.8  0.1  2.4  5.2 31
สถานการณ์พลังงานไฟฟ้านอกระบบ (IPS)

พลังงานไฟฟ้านอกระบบ/ในระบบ เชื้อเพลิงที่ใช้ในการผลิต 3 ลาดับแรก


ปี 2554 = 11.58% ก๊าซธรรมชาติ ร้อยละ 70
ปี 2563 = 16.76% ถ่านหิน ร้อยละ 21
ปี 2564 (กันยายน) = 17.05% ชีวมวล ร้อยละ 5.5

จังหวัดที่มีการผลิตพลังงานไฟฟ้านอกระบบ
รวมสูงสุด 3 จังหวัดแรก
ข้อมูลเพิ่มเติม คู่มือการใช้งาน คือ ระยอง ชลบุรี และสระบุรี
32
สถานการณ์พลังงานหมุนเวียนของไทย
(ภาคการผลิตไฟฟ้า) เป้าหมาย
กาลังผลิตติดตั้ง กาลังผลิต IPS รวมทั้งสิ้น
AEDP2018(2)
คงเหลือจาก
ประเภทเชื้อเพลิง (MW) เป้าหมาย(6)
รฟ. RE (MW) (MW) (MW)
แสงอาทิตย์(1) 3,132.6 46.1 3,178.7 12,139(3) 8,960
พลังงานลม 1,516.5 1,516.5 2,989 1,472
พลังน้าขนาดเล็ก 95.9 95.9 308(4) 212
ชีวมวล 3,754.6 611.1 4,365.7 5,790 1,424
ก๊าซชีวภาพ 386.6 49.5 436.1 1,565 1,129
ขยะ 491.9 492 975 483
- ขยะชุมชน 454.5 455 900 445
- ขยะอุตสาหกรรม 37.4 37 75 38
รวมทั้งสิ้น 9,378.2 706.8 10,085.0 23,766(5) 13,681

แหล่งที่มา: ข้อมูลจากเว็บไซต์ส้านักงาน กกพ. ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2564 หมายเหตุ (1) นับรวมข้อมูล Solar Rooftop FiT 130 MW รอบปี 56-58 ที่จ่ายไฟฟ้าเข้าระบบแล้ว
และข้อมูล IPS ของ RE แยกประเภทเชื้อเพลิงจาก สนพ. เดือนมีนาคม 2562 (2) เป้าหมาย AEDP2018 เป็นเป้าหมายของก้าลังผลิตตามสัญญา (ปริมาณเสนอขายไฟฟ้า)
(3) ไม่นับรวม Solar floating 2,725 MW
(4) ไม่นับรวมพลังน้้าขนาดใหญ่ 2,920 MW
(5) เป้ารวมสะสม AEDP2018 เท่ากับ 29,441 MW
(6) ปริมาณคงเหลือดังกล่าว หักลบจากก้าลังผลิตไฟฟ้าจาก RE ทั้งที่จ่ายไฟเข้าระบบและ IPS 33
การปรับสัดส่วนเชื้อเพลิงในแผน PDP2018 REV.1
ช่วงปี 2563 – 2573 เพื่ อรองรับพลังงานสะอาด
พิจารณาปรับปรุง
จาก
ปรับ เป้าหมายและแผนการจ่ายไฟฟ้า
โรงไฟฟ้าพลังงานสะอาด/โรงไฟฟ้าหลักประเภทเชื้อเพลิงฟอสซิล
ทิศทางพลังงานโลก ในช่วงปี พ.ศ. 2564–2573
 พิจารณาแผนการจ่ายไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน
ใช้พลังงานสะอาด : โครงการรับซื้อไฟฟ้าจาก RE ที่ล่าช้ากว่าแผน/คาดว่าไม่สามารถดาเนินการได้ตามแผน
 พิจารณาศักยภาพรายเชื้อเพลิงสอดคล้องกับศักยภาพของประเทศ
แก้ปัญหาโลกร้อน
 สอดคล้องกับสถานการณ์ต้นทุน/เทคโนโลยี และปริมาณการปล่อย CO2 ตามหลัก IPCC
ให้ความสาคัญกับพลังงานสะอาด  เพื่อสนับสนุนให้ภาคพลังงานช่วยขับเคลื่อน
แผนพลังงานชาติ นโยบาย Carbon Neutrality ของภาครัฐ
มุ่งสู่  สอดคล้องกับทิศทางของโลก มุ่งเน้นการลดการปล่อย CO2 แก้ปัญหาโลกร้อน
ภายในปี 2065-2070
34
สรุปผลการปรับปรุงแผนการเพิ่ มการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานสะอาด
ภายใต้แผน PDP2018 Rev.1 ในช่วงปี พ.ศ. 2564 – 2573 หน่วย: เมกะวัตต์

โรงไฟฟ้าใหม่ PDP2018 Rev.1 (A) การปรับปรุงใหม่ (B) ส่วนต่าง (B-A)


โรงไฟฟ้าก๊าซธรรมชาติ 5,550 4,850
เชื้อเพลิงฟอสซิล
-700
โรงไฟฟ้าถ่านหิน (ลิกไนต์) 600 600 0
รวม (1) 6,150 5,450 -700
รับซื้อไฟฟ้าพลังงานน้าต่างประเทศ 1,400 2,766 +1,366
พลังงานแสงอาทิตย์ 5,194 4,455 -739
พลังงานลม 270 1,500 +1,230
พลังงานสะอาด

ชีวมวล 1,120 485 -635


ก๊าซชีวภาพ 783 335 -448
ขยะ 400 600 +200
พลังน้าขนาดเล็ก 26 52 +26
รวม (2) 9,193 10,193 +1,000
รวมโรงไฟฟ้าใหม่ (1 + 2) 15,343 15,643 +300 35
04 การบริหารจัดการพลังงาน
แห่งอนาคต
การบริหารจัดการพลังงานแห่งอนาคต
สู่ Carbon Neutrality
Smart Infrastructure
ลงทุนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางพลังงาน และโครงสร้างพื้นฐานด้านระบบสื่อสารและด้านดิจิตอล
เพื่อให้สามารถรองรับการบริหารจัดการสมัยใหม่ตามแนวโน้มเทคโนโลยีคาร์บอนต่า

Market & Price Structure


ปรับโครงสร้างตลาดและโครงสร้างราคา ให้สามารถตอบโจทย์ของการใช้งานแหล่งพลังงานกระจายศูนย์
และสะท้อนต่อการนาเทคโนโลยีรูปแบบใหม่เข้าร่วมบริหารจัดการในตลาดพลังงาน

Law & Regulation


ปรับกฎหมายและระเบียบต่างๆ รองรับการส่งเสริมตลาดการผลิตและใช้พลังงาน
ผ่านเทคโนโลยีคาร์บอนต่าและเทคโนโลยีกระจายศูนย์
37
การพั ฒนาโครงสร้างพื้ นฐานระบบไฟฟ้ายุคใหม่
Customer inter-actions
Distributed energy Data-driven asset strategies Smart grid and smart pipes Platform supports
governed by analysis of
resources enabled by big including preventative and allow automated controls distributed energy
customer journeys,
data-driven alignment of condition-based to improve network resources and
segmentation, and
supply and demand maintenance and resiliency, safety, and marketplaces
personalized
predictive outage efficiency
communication

นโยบาย 4D1E รองรับ Energy Transformation

Back-office automation Field workforce with mobile High level of situational


and data-driven access to maps, data, work- awareness to enable
decision making management tools, and real-time energy balancing
expertise

38
การพั ฒนาโครงสร้างพื้ นฐานระบบไฟฟ้ายุคใหม่

การพั ฒนาระบบไฟฟ้าสมัยใหม่เป็นส่วนสาคัญในการปรับ Port


สู่ Carbon Neutrality 39
การพั ฒนาโครงสร้างพื้ นฐานระบบไฟฟ้ายุคใหม่

การปรับปรุงระบบไฟฟ้าสู่ Smart Grid

40
การปรับโครงสร้างพื้ นฐาน
เพื่ อรองรับ Energy Transition

Grid modernization

ที่มา : blogs.edf.org &www.bv.com 41


นโยบายราคาพลังงานเพื่ อรองรับ Energy Transition
กาหนดนโยบายราคาพลังงานไฟฟ้าสอดคล้องกับ Energy Transition
• ส่งเสริมให้ ใช้ประโยชน์จากพลังงานหมุนเวียน
ต้นทุนตา่ จากการลงทุนของผู้ใช้ไฟฟ้า
เพื่ อลดต้นทุนไฟฟ้าโดยรวม
• ลด Stranded Asset จากโครงสร้างพื้ นฐาน
ที่ไม่สอดคล้องกับแนวโน้มพลังงานโลก
เพื่ อลดภาระการลงทุนที่ไม่จาเป็น
• ใช้ประโยชน์จาก DER ทดแทนการก่อสร้าง
โรงไฟฟ้ารูปแบบเดิม

รักษาระดับเสถียรภาพราคาไฟฟ้า และไม่ส่งผลต่อภาระต้นทุนไฟฟ้าในระยะยาว
42
การปรับโครงสร้างตลาดพลังงานและกฎระเบียบ
เพื่ อรองรับ Energy Transition

Transform to Multiple Market-based Competition New Business Model Adoption

43
05 Road to
New Business Opportunity
การปรับปรุงโครงสร้างกิจการไฟฟ้า
เพื่ อส่งเสริมการแข่งขัน

45
การปรับปรุงโครงสร้างกิจการไฟฟ้าในระยะทดลอง-นาร่อง
(Pilot Project)
หลักการสาคัญ

‣ ตลาดขายส่งไฟฟ้า ‣ ซื้อขาย ‣ เปิดให้มีบริการ ‣ ขอบเขตพื้นที่ ‣ ช่วงการปรับตัว ‣ มีกระบวนการ


‣ ซื้อขายไฟฟ้าโดยใช้ แบบ Bilateral TPA ดาเนินการใน EEC เพื่อปรับเปลี่ยน Scheduling
Excess Capacity ‣ ซื้อขายผ่าน ‣ SO บริหารจัดการ กลยุทธ์และ ‣ บริการบริหาร
‣ โรงไฟฟ้าใหม่ Power Marketer สมดุลและความ การดาเนินการ สมดุลการซื้อขาย
‣ โรงไฟฟ้า Fossil มั่นคงระบบไฟฟ้า ขององค์กร
และ RE
46
ธุรกิจการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน
รูปแบบใหม่
การรับซื้อไฟฟ้า Partial-Firm Solar+BESS
จากโครงการ
Solar+BESS

47
การนากลไก RECs ประยุกต์ใช้
เพื่ อส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจาก RE
เพิ่มประสิทธิผลในการพัฒนาการผลิตไฟฟ้าจาก RE เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ
ต้นทุนการผลิตไฟฟ้าจาก RE
• เพิ่มมูลค่าของไฟฟ้าที่ผลิตจาก RE • แยกค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนการผลิตไฟฟ้าจาก RE (บางส่วน)
• พัฒนาโครงการผลิตไฟฟ้าจาก RE ไม่จ้าเป็นต้องพึ่งพิง ออกจากค่าไฟฟ้า และส่งผ่านไปสู่กลุ่มเป้าหมายโดยตรง (Matching)
ภาครัฐมีความเป็นอิสระมากขึ้น ขยายตัวได้มากกว่า • สามารถบริหารจัดการให้เกิดการกระจายภาระค่าใช้จ่ายไปยัง
ที่กรอบที่ภาครัฐก้าหนด กลุ่มเป้าหมายอย่างเหมาะสมผ่านกลไกภาคบังคับ
เป้าหมายการนา RECs
มาประยุกต์ใช้
เสริมศักยภาพด้านเศรษฐกิจจากโอกาส ยกระดับความสามารถ
ในการเข้าถึงไฟฟ้าที่ผลิตจาก RE ในการบรรลุเป้าหมาย AEDP
• ชักจูงและตอบสนองความต้องการของผู้ประกอบการ และ Carbon Neutrality
ที่ต้องการด้าเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน (ESG) ในประเทศไทย • เพิ่มโอกาสในการลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการผลิตไฟฟ้าด้วย RE
• เสริมสร้างศักยภาพการแข่งขันของผู้ประกอบการไทย • ยกระดับความชัดเจน โปร่งใส ของข้อมูลการผลิตไฟฟ้าจาก RE
ในตลาดนานาชาติ ซึ่งมีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนแปลงไป ให้เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ
ตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) • เพิ่มศักยภาพในการบริหารจัดการข้อมูล
และติดตามความก้าวหน้าโดยป้องกันการนับซ้้า 48
ประเด็นพิ จารณาของกลไก RECs
Carbon Border Adjustment
แนวโน้มการติดตั้งโซลาร์เซลล์บนหลังคามีสูงขึ้น การเพิ่มขึ้น Mechanism: CBAM
เนื่องจากต้นทุนราคาเทคโนโลยีที่ถูกลง ของ ผู้น้าเข้าสินค้านอกจากสหภาพยุโรป
Prosumer จะต้องซื้อ “ใบรับรองการปล่อยคาร์บอน”

การซื้อขาย
PPA พลังงาน ข้อกาหนดของ RE100
Virtual Cross-border
หมุนเวียน ที่มีต่อกลไก RECs
Physical Cross-border
ข้ามพรมแดน

ตัวอย่างความไม่เท่าเทียม ข้อแตกต่าง RECs


ค่า คาร์บอนเครดิต
Country Elec. EF ระหว่างคาร์บอน
Emission ton of CO2 MWh
A 0.2 tCO2/MWh เครดิต Scope 1,2,3 Scope 2
Factor ต้องมีการตรวจ ไม่ต้องตรวจ
B 0.5 tCO2/MWh กับ RECs Additionality Additionality
C 0.8 tCO2/MWh
49
โครงการนาร่อง Demand Response
การตอบสนองด้านโหลด (Demand Response: DR) คือ
การส่งเสริมให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการใช้ไฟฟ้าของผู้ใช้ไฟเองจากรูปแบบการใช้ปกติ
เพื่ อตอบสนองต่อราคาค่าไฟในช่วงเวลาต่างๆ เพื่ อเพิ่ มศักยภาพในการลดความต้องการไฟฟ้าสูงสุด (Peak Demand)
อันจะเป็นประโยชน์ต่อการจัดการสภาวะวิกฤตด้านพลังงานไฟฟ้า และเสริมความมัน
่ คงด้านพลังงานไฟฟ้าทัง
้ ในระยะสั้นและระยะยาว

50
โครงการนาร่อง Demand Response
• โปรแกรม DR นาร่อง: เริ่มด้าเนินการนาร่องด้วยโปรแกรมในรูปแบบ Firm (Commit Capacity DR Program)
เพื่อทดแทนการก่อสร้างโรงไฟฟ้า และลดต้นทุนการผลิตไฟฟ้าในช่วงความต้องการไฟฟ้าสูงสุด
• กลุ่มผู้เข้าร่วมโครงการ: โดยเริ่มจากการรวบรวม DR Resource จากกลุ่มผู้ใช้ไฟฟ้าภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม (C&I)
ที่มีความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐานสมาร์ทมิเตอร์ และมีต้นทุนการบริหารจัดการต่้ากว่าผู้ใช้ไฟฟ้ารายเล็ก
• ลักษณะของการจัดหาแหล่งทรัพยากร DR: กาหนดราคาและประกาศรับซือ้ แหล่งทรัพยากร DR
• เป้าหมายการตอบสนองด้านโหลด (DR): 50 MW
• ระยะเวลาดาเนินการ: ระหว่างปี พ.ศ. 2565-2566
• การจ่ายผลตอบแทนการตอบสนองด้านโหลด (DR): ค่าความพร้อมในการลดการใช้ไฟฟ้า (AP) (คงที-่ หน่วย: บาท/kW/เดือน)
และค่าพลังงานไฟฟ้าที่ลดได้ (EP) (ตามหน่วยไฟฟ้าที่ลดได้จริง-หน่วย: บาท/kWh)
• แหล่งเงินสนับสนุนระยะโครงการนาร่องฯ: ใช้เงินสนับสนุนจากกองทุนพัฒนาไฟฟ้า 97(4)
• บทปรับ/ลงโทษ (Penalty): ไม่คิดบทปรับ/ลงโทษ ทั้งในระดับค้าส่งและค้าปลีก

51
การขยายผลโครงการ DR

โอกาส/การมีส่วนร่วม
หน่วยงานโทรคมนาคม/ดิจิทัล อาทิ หน่วยงานวิจัย/สถาบันการศึกษา
• การสื่อสาร/เชื่อมโยง/ข้อมูล • พัฒนาเทคโนโลยีสมัยใหม่ อาทิ
EMS, Platform
ภาคเอกชน
• การพัฒนาเทคโนโลยีต่าง ๆ ผู้ใช้ไฟฟ้า/ประชาชน
• ธุรกิจ Load Aggregator (LA) • การเข้าร่วมโครงการ DR เพื่อลด
• ผู้จ้าหน่ายอุปกรณ์ EMS & เครื่องปรับอากาศ ค่าไฟฟ้า/เพิ่มรายได้

52
New Business Opportunity
โอกาสทางธุรกิจใหม่ ๆ จากผู้เล่นทางธุรกิจทีเ่ กิดขึน

GW

53
การลงทุนผลิตไฟฟ้า
แบบกระจายศูนย์ & การเพิ่ มสัดส่วนพลังงานหมุนเวียน

54
การลงทุนด้านโครงสร้างพื้ นฐานรองรับยานยนต์ไฟฟ้า

เป้าหมายการส่งเสริม EV 30@30

55
การลงทุนเทคโนโลยี CCUS

CCUS
value
chain

แหล่งที่มา : Wood Mackenzie, Lux Research


56
CO2
utilization
pathways

แหล่งที่มา : Wood Mackenzie, Lux Research


57
รูปแบบของ Hydrogen
Hydrogen Source

58
การใช้ประโยชน์ภาคพลังงานจาก Hydrogen

ภาคขนส่ง
 ไฮโดรเจนถูกใช้ในการสังเคราะห์
ภาคพลังงานไฟฟ้า
และปรับปรุงน้ามันปิโตรเลียม
และน้ามันไบโอดีเซล
 ใช้ไฮโดรเจนเป็นเชื้อเพลิงโดยตรง หรือ
 ใช้เป็นเชื้อเพลิง
นาไปผสมกับก๊าซธรรมชาติในการผลิตไฟฟ้า
โดยผ่านเครื่องยนต์ ICE หรือ
 ผลิตพลังงานไฟฟ้าจากเทคโนโลยี Fuel Cell
ผ่าน Fuel Cell ผลิตไฟฟ้า
ไปขับเคลื่อนมอเตอร์ไฟฟ้า
ในรถยนต์
ภาคพลังงานความร้อน
เช่นเดียวกับภาคพลังงานไฟฟ้า
 ใช้ไฮโดรเจนเป็นเชื้อเพลิงโดยตรง
หรือ นาไปผสมกับก๊าซธรรมชาติ หรือน้ามันเตา 59
ทิศทางการใช้ Hydrogen ในอนาคต

60
เพิ่ มศั กยภาพการแข่งขันทางการค้า
ในยุค Energy Transition

61
เราๅสร้างสรรค์
เพื่ อทุกคน

www.eppo.go.th EppoThailand EppoThailand

You might also like