You are on page 1of 31

แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบ

อาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูง
เชิงสถาปัตยกรรม
ค�ำน�ำ สารบัญ
เนื่องจากการใช้พลังงานในภาคอาคารธุรกิจมีสัดส่วนการใช้พลังงานค่อนข้างสูง และมีแนวโน้มที่จะมี บทน�ำ 4
การใช้พลังงานมากขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานของอาคารที่จะสร้างใหม่
หรือดัดแปลง จึงเป็นวิธีการที่ดีที่สุดวิธีหนึ่งที่ท�ำให้มั่นใจได้ว่าประเทศไทยจะลดการใช้พลังงานลง ส่วนที่ 1: Background 7
และจะสามารถลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ได้ในอนาคต ซึ่งเกณฑ์มาตรฐานประสิทธิภาพ เกณฑ์ Building Energy Code (BEC) และเกณฑ์การออกแบบ
พลังงานในอาคารที่จะขออนุญาตก่อสร้างหรือดัดแปลงหรือ Building Energy Code (BEC) อาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูง
เป็นเครื่องมือส�ำคัญที่จะท�ำให้ศักยภาพการประหยัดพลังงานเกิดขึ้นได้จริงในภาคอาคารธุรกิจ • เกณฑ์ Building Energy Code (BEC) ของไทย 8
• ท�ำไมต้องให้ความส�ำคัญกับค่า OTTV และ RTTV 8
BEC คื อ เกณฑ์ ม าตรฐานประสิ ท ธิ ภ าพพลั ง งานขั้ น ต�่ ำ ในอาคารที่ จ ะขออนุ ญ าตก่ อ สร้ า งหรื อ • ประเภทของอาคารจ�ำแนกตามเกณฑ์ BEC 10
ดัดแปลง ออกโดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน ซึ่งออกเป็น • เกณฑ์การออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูง 11
กฎกระทรวง พ.ศ. 2552 ข้อก�ำหนด BEC จะมีการปรับปรุงเพื่อยกระดับมาตรฐานขั้นต�ำ่ ให้สอดคล้อง • ที่มาของตัวอย่างการออกแบบผนังและหลังคา 12
กับเทคโนโลยีและประสบการณ์การอนุรักษ์พลังงานในอาคารที่จะมีการพัฒนาขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ในอนาคต ดังนั้นการส่งเสริมการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงจะช่วยยกระดับ ส่วนที่ 2: การออกแบบผนังเพื่อการอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูง 15
เกณฑ์ BEC ในอนาคตได้ • ตัวอย่างการออกแบบผนังตามเกณฑ์ OTTV 16
• ค�ำอธิบายตัวอย่าง 16
เอกสารนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแรงจูงใจและเป็นแนวทางเบื้องต้นให้กับเจ้าของอาคารและสถาปนิก • สัญลักษณ์แสดงประสิทธิภาพขององค์ประกอบผนัง 18
ในการออกแบบอาคารอนุรกั ษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงโดยจัดท�ำขึน้ ภายใต้ความร่วมมือระหว่างโครงการ กลุ่มที่ 1 – ส�ำนักงาน 21
ความร่วมมือไทย-เยอรมันตามแผนอนุรักษ์พลังงาน (Thai-German Programme on Energy กลุ่มที่ 2 – ศูนย์การค้า 29
Efficiency Development Plan, TGP-EEDP) และศูนย์ประสานงานการออกแบบอาคารเพื่อการ กลุ่มที่ 3 – อาคารชุด 37
อนุรักษ์พลังงาน (2E Building Centre) ภายใต้กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
(พพ.) กระทรวงพลังงาน เราหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารเล่มนี้จะเป็นแนวทาง และสร้างแรงบันดาลใจ ส่วนที่ 3: การออกแบบหลังคาเพื่อการอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูง 45
ให้กับสถาปนิกในการค้นหาแนวทางที่จะเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานของอาคารตั้งแต่จุดเริ่มต้นคือ • ตัวอย่างการออกแบบหลังคาตามเกณฑ์ RTTV 46
ที่โต๊ะออกแบบของสถาปนิกนั่นเอง
ส่วนที่ 4: Next Steps ส�ำหรับการออกแบบ 53
กรุงเทพฯ อาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูง
มีนาคม 2559
อภิธานศัพท์ 56
บทน�ำ เอกสารนี้แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ
ช่วงปลายปี พ.ศ. 2553 ส�ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน ส่วนที่ 1
(สนพ.) ภายใต้ ก ระทรวงพลั ง งานได้ จั ด ท� ำ แผนอนุ รั ก ษ์
พลังงานของประเทศไทย พ.ศ. 2554 – 2573 ภายใต้ แผนอนุรักษ์พลังงาน Background ในส่วนนี้จะน�ำเสนอข้อมูลที่ส�ำคัญเบื้องต้นเกี่ยวกับเกณฑ์มาตรฐานประสิทธิภาพ
แผนดั ง กล่ า ว ประเทศไทยมี เ ป้ า หมายที่ จ ะลดความเข้ ม พ.ศ. 2558 - 2579 การใช้พลังงานขั้นต�่ำในอาคาร หรือ Building Energy Code (BEC) รวมถึงแนวทางเบื้องต้นใน
ของการใช้พลังงาน (Energy Intensity) ต่อ GDP ลง การออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูง ซึ่งจะมีการอ้างถึงข้อมูลเหล่านี้ในส่วนอื่นๆ ต่อไป
ร้ อ ยละ 25 ภายในปี พ.ศ. 2573 โดยเทียบกับ ปี พ.ศ.
2553 ต่ อ มาในปี พ.ศ. 2558 ได้ มี ก ารปรั บ ปรุ ง แผน ส่วนที่ 2
อนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน โดยขยายเป้ า หมายด้ า นการพั ฒ นา
ประสิ ท ธิ ภ าพพลั ง งานให้ ล ดความเข้ ม การใช้ พ ลั ง งาน สิงหาคม 2558 การออกแบบผนัง ในส่วนนี้ถือเป็นหัวใจหลักของเอกสารซึ่งจะมีการน� ำเสนอแนวทางเบื้องต้นและ
เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 30 ภายในปี พ.ศ. 2579 เมื่อเทียบกับปี สร้างแรงจูงใจในการออกแบบผนังอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงานที่มีประสิทธิภาพในระดับ BEC
พ.ศ. 2553 จนถึงระดับประสิทธิภาพสูง
ในประเทศไทยมีการใช้พลังงานในภาคอาคารค่อนข้างสูงโดยคิดเป็นร้อยละ 17.6 ของความต้องการ
พลังงานรวมของประเทศ ดังนั้น ภาคอาคารจึงมีบทบาทส�ำคัญที่จะช่วยท�ำให้แผนอนุรักษ์พลังงาน ส่วนที่ 3
บรรลุ ต ามเป้ า หมายได้ โดยเกณฑ์ ม าตรฐานประสิ ท ธิ ภ าพการใช้ พ ลั ง งานขั้ น ต�่ ำ ในอาคาร หรื อ
(Building Energy Code, BEC) สามารถเข้ามามีบทบาทส� ำคัญในการปรับปรุงประสิทธิภาพ การออกแบบหลังคา ในส่วนนี้จะน�ำเสนอแนวทางเบื้องต้นและสร้างแรงจูงใจในการออกแบบหลังคา
การใช้พลังงานในภาคอาคารได้ตั้งแต่เริ่มต้นออกแบบอาคาร เพื่อการอนุรักษ์พลังงานที่มีประสิทธิภาพในระดับ BEC จนถึงระดับประสิทธิภาพสูง

เนื่ อ งจาก BEC จะมี ก ารปรั บ ปรุ ง เพื่ อ ยกระดั บ มาตรฐานขั้ น ต�่ ำ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ เทคโนโลยี แ ละ ส่วนที่ 4
ประสบการณ์การอนุรักษ์พลังงานในอาคารที่จะมีการพัฒนาขึ้นอย่างต่อเนื่องในอนาคต ดังนั้น
การส่ ง เสริ ม การออกแบบอาคารอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานประสิ ท ธิ ภ าพสู ง จะช่ ว ยยกระดั บ เกณฑ์ BEC Next Steps เนื่องจากเราหวังว่าเอกสารนี้มีวัตถุประสงค์เพียงเพื่อน�ำเสนอแนวทางเบื้องต้น และ
ในอนาคตได้ เอกสารนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแรงจูงใจและเป็นแนวทางเบื้องต้นให้กับเจ้าของอาคาร สร้างแรงจูงใจให้ท่านในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเท่านั้น ดังนั้นในส่วนนี้
และสถาปนิกในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูง จะน�ำเสนอข้อมูลต่างๆ จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องซึ่งพร้อมจะสนับสนุนท่านในการออกแบบอาคาร
อนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงต่อไป

จุดเด่นของเอกสาร เอกสารเล่มนี้จะท�ำให้ท่านเห็นว่า
• การเชื่อมโยงข้อก�ำหนด BEC ให้สอดคล้องกับมุมมองของสถาปนิกในการออกแบบ การออกแบบอาคารตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ
อาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูง
• การให้ความส�ำคัญในการเสนอแนวทางการออกแบบผนังและหลังคาซึ่งถือเป็น
การใช้พลังงานขั้นต�่ำ (BEC) ไม่ใช่เรื่องยาก
องค์ประกอบที่สำ� คัญและท้าทายการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูง และการออกแบบอาคารอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน
• การแสดงตัวอย่างให้เห็นแนวทางการออกแบบที่มีประสิทธิภาพการสูงขึ้นเป็นล�ำดับ ประสิทธิภาพสูงก็เป็นสิ่งที่เป็นไปได้เช่นกัน

แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม
5
ส่วนที่ 1: Background
เกณฑ์ Building Energy Code (BEC)
และเกณฑ์การออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงาน
ประสิทธิภาพสูง

แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม
7
เกณฑ์ Building Energy Code (BEC) ของไทย
BEC คือเกณฑ์มาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานขั้นต�่ำในอาคารที่จะขออนุญาตก่อสร้างหรือดัดแปลง
ซึ่งได้รับการบรรจุในกฎกระทรวง ก�ำหนดประเภท หรือขนาดของอาคาร และมาตราฐาน หลักเกณฑ์
และวิธีการในการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2552 กระทรวงพลังงาน ประกอบ
ด้วยการออกแบบระบบกรอบอาคาร ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง ระบบปรับอากาศ อุปกรณ์ผลิตน�้ำร้อน
การใช้พลังงานโดยรวมของอาคาร และการใช้พลังงานหมุนเวียนในระบบต่างๆ ของอาคาร
• ค่าการถ่ายเทความร้อนรวมผ่านผนังอาคาร หรือ Overall Thermal Transfer Value (OTTV)
และค่าการถ่ายเทความร้อนรวมผ่านหลังคา หรือ Roof Thermal Transfer Value (RTTV)
เป็นตัวแสดงประสิทธิภาพการอนุรักษ์พลังงานของกรอบอาคาร
• ค่าก�ำลังไฟฟ้าเพื่อการส่องสว่างต่อตารางเมตร หรือ Lighting Power Density (LPD)
เป็นตัวแสดงประสิทธิภาพในการส่องสว่าง ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณความร้อนผ่านผนัง / หลังคาทึบ
• พื้นที่ผนัง/หลังคาทึบ
• ค่าสัมประสิทธิ์สมรรถนะ หรือ Coefficient of Performance (COP) เป็นตัวแสดงประสิทธิภาพ • สีของผนัง/หลังคา
ของระบบปรับอากาศ • ความหนาวัสดุ ค่าสัมประสิทธิ์
• ค่าสัมประสิทธิ์การน�ำความร้อน (k) การถ่ายเทความร้อน (U)
• ความหนาแน่นวัสดุ
ท�ำไมต้องให้ความส�ำคัญกับค่า OTTV และ RTTV • ความจุความร้อนจ�ำเพาะของวัสดุ
• ทิศทางผนัง/หลังคา
จากเกณฑ์มาตรฐานดังกล่าวเห็นได้ชัดว่าการออกแบบกรอบอาคารให้ผ่านค่ามาตรฐาน OTTV
• มุมเอียงผนัง/หลังคา
และ RTTV ถือเป็นเรื่องท้าทายส�ำหรับสถาปนิกผู้ออกแบบอาคาร ดังนั้นในเอกสารเล่มนี้จึงน�ำเสนอ
แนวทางเบื้องต้นและสร้างแรงจูงใจให้กับสถาปนิกในการออกแบบผนังและหลังคาเพื่อการอนุรักษ์
พลังงานประสิทธิภาพสูง ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณความร้อนผ่านผนัง / หลังคาโปร่งแสง
• พื้นที่ผนัง/หลังคาโปร่งแสง
• ค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อน (U)
• ค่าสัมประสิทธิ์ความร้อนจากรังสีอาทิตย์ที่ส่งผ่านผนัง / หลังคาโปร่งแสง (SHGC)
• รูปแบบของแผงบังแดด
• ทิศทางผนัง/หลังคา
• มุมเอียงผนัง/หลังคา

แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม
8 9
ประเภทของอาคารจ�ำแนกตามเกณฑ์ BEC เกณฑ์การออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูง
เกณฑ์ BEC ของไทย มีสมมติฐานในการแบ่งอาคารออกเป็น 3 กลุ่มตามช่วงเวลาการใช้ เนื่องจาก เนื่องจากเกณฑ์ BEC เป็นเพียงมาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานในอาคารขั้นต�่ำ ที่มีผลบังคับ ใช้กับ
ระยะเวลาการใช้งานอาคารที่แตกต่างกันจะมีผลต่อค่าการถ่ายเทความร้อนรวมของผนังและหลังคา อาคารก่อสร้างใหม่หรือดัดแปลง เอกสารนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางเบื้องต้นในการออกแบบ
จากภายนอกของอาคารที่แตกต่างกัน ทั้ง 3 กลุ่มจ�ำแนกได้ดังต่อไปนี้ อาคารให้มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ BEC เพื่อเป็นการส่งเสริมให้มีการพัฒนาการออกแบบ
และเป็ นการรองรับการปรับยกระดับเกณฑ์ BEC ให้สูง ขึ้นตามเทคโนโลยีและประสบการณ์การ
อนุรักษ์พลังงานในอาคารที่จะมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องในอนาคต ทั้งนี้ การสนับสนุนการออกแบบ
การอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงจึงมีความส� ำคัญในการเตรียมความพร้อมกับการยกระดับ
มาตรฐานขั้นต�ำ่ ในอนาคต
กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3
ใช้งานวันละ 9 ชั่วโมง ใช้งานวันละ 12 ชั่วโมง ใช้งานตลอด
(เวลา 8.00 – 17.00 น.) (เวลา 10.00 – 22.00 น.) 24 ชั่วโมง

DEPARTMENTSTORE

สถานศึกษา สำ�นักงาน โรงมหรสพ ศูนย์การค้า สถานพยาบาล BAU : Business-As-Usual คือระดับประสิทธิภาพการใช้พลังงานในสถานการณ์ปกติ


สถานบริการ และอาคาร อาคารชุด โรงแรม BEC : Building Energy Code คือระดับประสิทธิภาพการใช้พลังงานขั้นต�่ำ
ชุมนุมคน EE : Energy Efficiency คือระดับประสิทธิภาพการใช้พลังงานในอนาคตที่สูงขึ้น

แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม
10 11
ที่มาของตัวอย่างการออกแบบผนังและหลังคา
เอกสารเล่มนี้จะน�ำเสนอตัวอย่างการออกแบบผนังและหลังคาตามเกณฑ์มาตรฐานประสิทธิภาพ
พลังงานในอาคารขั้นต�่ำ (BEC) และที่สูงกว่าเกณฑ์ BEC เพื่อเป็นแนวทางเบื้องต้นและสร้างแรงจูงใจ
ในการออกแบบกรอบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงโดยจะน�ำเสนอตัวอย่างจาก
3 กลุ่มอาคารตามเกณฑ์ BEC ดังนี้
กลุ่มที่ 1 สถานศึกษา ส�ำนักงาน
กลุ่มที่ 2 โรงมหรสพ ศูนย์การค้า สถานบริการ อาคารชุมนุมคน
กลุ่มที่ 3 สถานพยาบาล อาคารชุด โรงแรม

ตัวอย่างทั้งหมดในเอกสารนี้ได้มาจากการจ�ำลองโมเดล เพื่อค�ำนวณค่า OTTV และ ค่า RTTV


ตามเกณฑ์ BEC และใช้โปรแกรม BEC ที่ได้รับการพัฒนาโดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ
อนุรักษ์พลังงานในการค�ำนวณ โดยมีสมมติฐานของการจ�ำลองโมเดลเพื่อเป็นแนวทางเบี้องต้น คือ
ผังอาคารเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส ผนังแต่ละด้านมีลักษณะเหมือนกัน ผนังวางตัวในแนวดิ่ง (90 ํ) อาคาร
วางตัวอยู่ในแกนของทิศหลัก หลังคาวางตัวในแนวราบ (0 ํ) หลังคาไม่มีวัสดุโปร่งแสง อาคารตั้งอยู่ใน
กรุงเทพฯ และวัสดุต่างๆ ที่เลือกใช้จากฐานข้อมูลในโปรแกรม BEC อย่างไรก็ตามหากอาคารไม่เป็น
ไปตามสมมติฐานดังกล่าว ค่า OTTV และ RTTV ที่แสดงในเอกสารนี้อาจจะมีการคลาดเคลื่อนได้
โดยสามารถใช้โปรแกรม BEC ในการวิเคราะห์ในรายละเอียดต่อไปได้

การค�ำนวณค่า OTTV
• อัตราส่วนของพื้นที่กระจกต่อพื้นที่ผนัง
ในการน� ำ เสนอเพื่ อ การปรั บ ทั้งหมด (Window to Wall Ratio, WWR)
องค์ ป ระกอบต่ า งๆ ที่เป็นตัว • สีของผนังทึบ
ก�ำหนดระดับของประสิทธิภาพ • คุณสมบัติของวัสดุผนังทึบและวัสดุโปร่งแสง
การใช้พลังงานของผนังหรือ • ค่าสัมประสิทธิ์การบังแดด
หลังคา ประกอบด้วย
การค�ำนวณค่า RTTV
• สีของหลังคาทึบ
• คุณสมบัติวัสดุหลังคาทึบ

แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม
12 13
ส่วนที่ 2:
การออกแบบผนัง
เพื่อการอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูง

แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม
15
ค่า OTTV ที่คำ� นวณได้ สัญลักษณ์แสดงประสิทธิภาพของแต่ละองค์ประกอบ
ตัวอย่าง ค�ำอธิบาย ค่า OTTV ที่คำ� นวณได้เปรียบเทียบ สัญลักษณ์นี้จะแสดงถึงความแตกต่างขององค์ประกอบ
การออกแบบผนังตามเกณฑ์ OTTV ส่วนประกอบต่างๆ กับค่าตามเกณฑ์ BEC ของผนัง (ดูรายละเอียดของสัญลักษณ์ ในหน้าถัดไป)

ในมุมมองของสถาปนิกแล้วการออกแบบอาคารตามเกณฑ์ ของตัวอย่าง
OTTV (ค่ า การถ่ า ยเทความร้ อ นรวมผ่ า นผนั ง อาคารซึ่ ง มี
หน่วยเป็น วัตต์ ต่อ ตารางเมตร) ถือเป็นเรื่องที่ท้าทาย ใน
ส่วนที่ 2 นี้จะน�ำเสนอตัวอย่างการออกแบบผนังตามเกณฑ์
มาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานในอาคารขั้นต�่ำ (BEC) และ
ที่สูงกว่าเกณฑ์ BEC เพื่อเป็นแนวทางและสร้างแรงจูงใจใน การเปรียบเทียบ
การออกแบบผนังอาคารเพือ่ การอนุรกั ษ์พลังงานประสิทธิภาพสูง ในแต่ละกลุ่มอาคารจะแสดง
โดยจะน�ำเสนอตัวอย่างจาก 3 กลุ่มอาคารตามเกณฑ์ BEC ดังนี้ ให้เห็น 6 ตัวอย่างที่มีค่า
OTTV ผ่านเกณฑ์ BEC และมี
กลุ่มที่ 1 ส�ำนักงาน ประสิทธิภาพสูงขึ้นเป็นล�ำดับ
กลุ่มที่ 2 ศูนย์การค้า จากความแตกต่างของ
องค์ประกอบของผนัง คือ
กลุ่มที่ 3 อาคารชุด 1. อัตราส่วนของพื้นที่กระจก
ต่อพืน้ ทีผ่ นังทัง้ หมด (WWR)
2. สีของผนังทึบ
3. คุณสมบัติของวัสดุผนังทึบ
4. คุณสมบัติของวัสดุโปร่งแสง
5. ค่าสัมประสิทธิ์การบังแดด

ระดับประสิทธิภาพที่สูงกว่าเกณฑ์ BEC
แสดงในรูปแบบค่าร้อยละของผลต่าง OTTV ที่มีประสิทธิภาพสูงกว่าค่าตามเกณฑ์ BEC ตามประเภทของอาคาร
ในกรณีนี้เป็นระดับประสิทธิภาพของกลุ่มที่ 1 อาคารส�ำนักงาน

แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม
17
สัญลักษณ์แสดงประสิทธิภาพ
ขององค์ประกอบผนัง 1. 40% 30% 20%
องค์ประกอบของผนังภายนอกอาคาร เช่น อัตราส่วนของพื้นที่
กระจกต่อพื้นที่ผนังทึบ สีของผนังทึบ คุณสมบัติของวัสดุผนังทึบ อัตราส่วนของพืน้ ทีก่ ระจก
และหน้าต่าง ค่าสัมประสิทธิ์การบังแดดของอุปกรณ์บังแดด เป็น ต่อพืน้ ทีผ่ นังทัง้ หมด
องค์ประกอบส�ำคัญในการออกแบบผนังเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน (WWR)
ในอาคาร อย่างไรก็ตามองค์ประกอบของผนังต่างๆ สามารถ
ออกแบบได้หลายทางเลือกซึ่งส่งผลให้มีประสิทธิภาพการอนุรักษ์
พลังงานที่แตกต่างกัน ดังนั้นเพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจ เอกสารนี้จะ
2. สีของผนังอาคาร
0.9 0.7 0.5 0.3
สีเข้ม ได้แก่ สีค่อนข้างเข้ม ได้แก่ สีอ่อน ได้แก่ สีขาว สีสะท้อนแสง ได้แก่
น�ำเสนอตัวอย่างองค์ประกอบของผนังบางทางเลือกเท่านั้น สัมประสิทธิ์การดูดกลืน
สีแดงเข้ม สีนำ�้ เงิน สีด�ำ สีแดง สีฟ้า สีเขียว สีส้ม สีครีม สีฟ้าอ่อน สีขาว อลูมิเนียมสะท้อน
รังสีดวงอาทิตย์,
สีเขียวเข้ม สีน�้ำตาลเข้ม สีสนิม คอนกรีตไม่ทาสี สีเขียวอ่อน สีเหลืองอ่อน แสง สีเงิน บรอนซ์
ทั้งนี้องค์ประกอบผนังแต่ละทางเลือกจะปรากฏสัญลักษณ์ที่มีระดับ สีส้มอ่อน สะท้อนแสง
ที่ต่างกันเพื่อแสดงประสิทธิภาพการอนุรักษ์พลังงานในระดับต่างๆ
ดังแสดงให้เห็นในตาราง
3. 2.0 0.6 0.4
คุณสมบัติวัสดุผนังทึบ ผนังคอนกรีตมวลเบา+ฉนวน
สัมประสิทธิ์การถ่ายเท ผนังคอนกรีตมวลเบา แผ่นอลูคาร์บอน+ฉนวน+
ความร้อน, U แผ่นคอนกรีต แผ่นคอนกรีต+ฉนวน ช่องอากาศ ผนังคอนกรีตมวลเบา+
ผนังก่ออิฐมอญ แผ่นคอนกรีต+ฉนวน+ ฉนวน+ช่องอากาศ
ผนังก่ออิฐมอญ+ฉนวน ช่องอากาศ
หมายเหตุ : ตัวอย่างสีและค่าสัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีดวงอาทิตย์,
อ้างอิงจากคู่มือมาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานส�ำหรับอาคารที่จะ
ก่อสร้างหรือดัดแปลง การอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารการตรวจประเมินอาคาร
ที่จะก่อสร้างหรือดัดแปลงเพื่อการอนุรักษ์พลังงานตามกฎหมาย,
4. 0.7
5
SHGC
U
0.3
2
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน
การเลื อ กวั ส ดุ โ ปร่ ง แสง ควรพิ จ ารณาร่ ว มกั บ ค่ า ส่ ง ผ่ า นรั ง สี ที่ คุณสมบัติวัสดุโปร่งแสง
สัมประสิทธิ์ความร้อนจากรังสี
กระจกใส กระจกเขียวตัดแสง กระจก Low-E กระจก Low-E
ตามองเห็น (Tvis) เพื่อให้ค่า Light to Solar Gain (LSG) มีค่า อาทิตย์ที่ส่งผ่านกระจก, SHGC กระจก Low-E
มากกว่า 1 กรณีต้องการใช้แสงธรรมชาติ สัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อน, U

การเลือกรูปแบบขอบอุปกรณ์บังแดดควรพิจารณาร่วมกับค่าส่งผ่าน
รังสีที่ตามองเห็น (Tvis) เพื่อให้ค่า Effective Shading Coefficient 5. 0.8 0.6 0.4
มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 0.3 กรณีต้องการใช้แสงธรรมชาติ
อุปกรณ์บังแดด
สัมประสิทธิ์การบังแดด, SC

แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม
19
กลุ่มที่ 1 อาคารส�ำนักงาน

แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม
21
WWR สีของ คุณสมบัติ คุณสมบัติ อุปกรณบังแดด
กลุ‹มที่ 1 อาคารสำนักงาน (เกณฑ BEC ค‹า OTTV < 50 W/m2) ผนังอาคาร วัสดุผนังทึบ วัสดุโปร‹งแสง

ธิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
สิ ท

BE
ประ

C
2.7%
30%

m2
TTV W/

O
= 4 8.7
สีอ‹อน คอนกรีตมวลเบา Clear float glass อุปกรณบังแดดยื่น 1 m.
เมื่อมีการออกแบบอุปกรณบังแดดที่ดี • ปูนฉาบสำหรับคอนกรีต 8 mm. • ดŒานบนและดŒานขŒาง
มวลเบาหนา 1.25 cm • SHGC = 0.8 ชิดกับขอบกระจก
สีผนังอาคารเปšนสีอ‹อน เลือกใชŒสัดส‹วน • คอนกรีตมวลเบา • U = 5.67 W/m2 K • กระจกกวŒาง 2 m
WWR ที่เหมาะสม ก็สามารถใชŒวัสดุผนังทึบ ความหนาแน‹น • Tvis = 0.87 สูง 3 m
ทั่วไป และกระจกใสธรรมดาไดŒ โดยยัง 620 kg./m3 • LSG = 1.09 • SC = 0.43
สามารถผ‹านเกณฑ BEC หนา 7.5 cm • SCeff = 0.38
• ปูนฉาบสำหรับคอนกรีต
มวลเบาหนา 1.25 cm
• U = 1.52 W/m2 K

ธิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
สิ ท
BE
ประ

8.4%
30%
m2

TTV /
O

= 4 5.8 W
สีค‹อนขŒาง คอนกรีตมวลเบา Ocean green float อุปกรณบังแดดยื่น 1 m
เมื่อเลือกใชŒวัสดุกระจกที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น เขŒม • ปูนฉาบสำหรับคอนกรีต glass 8 mm. • ดŒานบนและดŒานขŒาง
ประกอบกับการออกแบบอุปกรณบังแดดที่ดี มวลเบาหนา 1.25 cm • SHGC = 0.56 ชิดกับขอบกระจก
• คอนกรีตมวลเบา • U = 5.67 W/m2 K • กระจกกวŒาง 2 m
เลือกใชŒสัดส‹วน WWR ที่เหมาะสม ก็สามารถ ความหนาแน‹น • Tvis = 0.72 สูง 3 m
ใชŒวัสดุผนังทึบทั่วไป และสามารถเลือกใชŒ 620 kg./m3 • LSG = 1.29 • SC = 0.43
สีผนังอาคารที่ค‹อนขŒางเขŒมไดŒ หนา 7.5 cm • SCeff = 0.31
• ปูนฉาบสำหรับคอนกรีต
มวลเบาหนา 1.25 cm
• U = 1.52 W/m2 K
แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม
22 23
WWR สีของ คุณสมบัติ คุณสมบัติ อุปกรณบังแดด
กลุ‹มที่ 1 อาคารสำนักงาน (เกณฑ BEC ค‹า OTTV < 50 W/m2) ผนังอาคาร วัสดุผนังทึบ วัสดุโปร‹งแสง

ธิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
สิ ท

BE
ประ

C
15.4%
30%

m2
TTV W/

O
= 42.3
สีค‹อนขŒาง คอนกรีตมวลเบาและฉนวน Ocean green float อุปกรณบังแดดยื่น 1 m
เขŒม • ปูนฉาบสำหรับคอนกรีต glass 8 mm • ดŒานบนห‹างจาก
เมื่อเลือกใชŒวัสดุกระจกที่มีประสิทธิภาพและ มวลเบาหนา 1.25 cm • SHGC = 0.56 ขอบกระจก 0.5 m
เพิ่มฉนวนบริเวณผนัง ก็ทำใหŒประสิทธิภาพ • คอนกรีตมวลเบา • U = 5.67 W/m2 K • กระจกกวŒาง 2 m
พลังงานของอาคารสูงขึ้น แมŒจะเลือกใชŒสีผนัง ความหนาแน‹น • Tvis = 0.72 สูง 1 m
620 kg./m3 • LSG = 1.29 • SC = 0.69
อาคารที่ค‹อนขŒางเขŒมก็ตาม หนา 7.5 cm
• ฉนวนใยแกŒวความหนาแน‹น • SCeff = 0.50
16 kg./m3 หนา 5 cm
• แผ‹นยิปซั่มหนา 1.2 cm
• U = 0.506 W/m2 K

ธิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
สิ ท
BE
ประ

24.6% Low
-E

30%
m2

TTV /
O

= 37.7 W
สีอ‹อน คอนกรีตมวลเบาและฉนวน Clear color single อุปกรณบังแดดยื่น 1 m
เมื่อเลือกใชŒวัสดุกระจกที่มีประสิทธิภาพสูง • ปูนฉาบสำหรับคอนกรีต silver LOW-E coat • ดŒานบนห‹างจาก
ประกอบกับเพิ่มฉนวนบริเวณผนัง และสีผนัง มวลเบาหนา 1.25 cm on clear 10 mm ขอบกระจก 0.5 m
• คอนกรีตมวลเบา (10-12-10) • กระจกกวŒาง 2 m
อาคารที่เปšนสีอ‹อน ก็ทำใหŒประสิทธิภาพ ความหนาแน‹น • SHGC = 0.61 สูง 1 m
พลังงานของอาคารสูงขึ้น 620 kg./m3 • U = 1.97 W/m2 K • SC = 0.69
หนา 7.5 cm • Tvis = 0.70
• ฉนวนใยแกŒวความหนาแน‹น • SCeff = 0.49
16 kg./m3 หนา 5 cm • LSG = 1.15
• แผ‹นยิปซั่มหนา 1.2 cm
• U = 0.506 W/m2 K
แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม
24 25
WWR สีของ คุณสมบัติ คุณสมบัติ อุปกรณบังแดด
กลุ‹มที่ 1 อาคารสำนักงาน (เกณฑ BEC ค‹า OTTV < 50 W/m2) ผนังอาคาร วัสดุผนังทึบ วัสดุโปร‹งแสง

ธิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
สิ ท

BE
ประ

C
-E
32.6% Low
50%

/m 2
TTV
= 3 3.7 W

O
สีอ‹อน Aluminium cladding Clear color single อุปกรณบังแดดยื่น 2 m
เมื่อเลือกใชŒวัสดุกระจกที่มีประสิทธิภาพสูง ฉนวนและช‹องอากาศ silver LOW-E coat • ดŒานบนห‹างจากขอบ
• Aluminium cladding on ocean green กระจก 0.5 m
ประกอบกับเพิ่มฉนวนและช‹องอากาศ หนา 0.1 cm 6 mm (6-12-6) • กระจกกวŒาง 2 m
บริเวณผนัง สีผนังอาคารที่เปšนสีอ‹อน • ฉนวนใยแกŒวความหนาแน‹น • SHGC = 0.39 สูง 1 m
เพิ่มระยะยื่นของอุปกรณบังแดด 16 kg./m3 หนา 5 cm • U = 2 W/m2 K • SC = 0.55
(เปšนระเบียงรอบอาคาร) ก็ทำใหŒ หุŒมฟอยล • Tvis = 0.64 • SCeff = 0.35
• ช‹องว‹างอากาศ 5 cm • LSG = 1.64
ประสิทธิภาพพลังงานของอาคารสูงขึ้น • แผ‹นยิปซั่มหนา 1.2 cm
แมŒจะเพิ่มสัดส‹วน WWR ก็ตาม • U = 0.474 W/m2 K

ธิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
สิ ท
BE
ประ

44.2% Low
-E

40%
m2

TTV /
O

= 27.9 W คอนกรีตมวลเบา ฉนวน


และช‹องอากาศ
สีอ‹อน • ปูนฉาบสำหรับคอนกรีต Clear color single อุปกรณบังแดดยื่น 1 m
เมื่อเลือกใชŒวัสดุกระจกที่มีประสิทธิภาพสูง มวลเบาหนา 1.25 cm silver LOW-E coat • ดŒานบนชิดขอบกระจก
ประกอบกับเพิ่มฉนวนและช‹องอากาศ • คอนกรีตมวลเบาความ- on sky blue 8 mm • กระจกกวŒาง 2 m
หนาแน‹น 620 kg./m3 (8-12-8) insulating สูง 3 m
บริเวณผนัง สีผนังอาคารที่เปšนสีอ‹อน หนา 7.5 cm glass (Clear color • SC = 0.74
ก็ทำใหŒประสิทธิภาพพลังงานของอาคารสูงขึ้น • ฉนวนใยแกŒวความหนาแน‹น single silver low-e • SCeff = 0.32
แมŒจะเพิ่มสัดส‹วน WWR ก็ตาม 16 kg./m3 หนา 5 cm for outer glass)
หุŒมฟอยล • SHGC = 0.3
• ช‹องว‹างอากาศ 5 cm • U = 1.98 W/m2 K
• แผ‹นยิปซั่มหนา 1.2 cm • Tvis = 0.43
• U = 0.39 W/m2 K • LSG = 1.44
แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม
26 27
กลุ่มที่ 2 ศูนย์การค้า
DEPARTMENTSTORE

แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม
28 29
WWR สีของ คุณสมบัติ คุณสมบัติ อุปกรณบังแดด
กลุ‹มที่ 2 ศูนยการคŒา (เกณฑ BEC ค‹า OTTV < 40 W/m2) ผนังอาคาร วัสดุผนังทึบ วัสดุโปร‹งแสง

ธิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
สิ ท

BE
ประ

C
DEPARTMENTSTORE
4.4%
15%

m2
TTV /

O
= 38.3 W
สีค‹อนขŒาง คอนกรีตมวลเบา Ocean green float ไม‹มีอุปกรณบังแดด
เนื่องจากอาคารประเภทนี้ไม‹ตŒองการ เขŒม • ปูนฉาบสำหรับคอนกรีต glass 8 mm • SC = 1
สัดส‹วน WWR ที่สูงมากนัก การเลือกใชŒ มวลเบาหนา 1.25 cm • SHGC = 0.56 • SCeff = 0.72
• คอนกรีตมวลเบาความ- • U = 5.67 W/m2 K
กระจกเขียว แมŒไม‹ตŒองมีอุปกรณบังแดด หนาแน‹น 620 kg./m3 • Tvis = 0.72
และวัสดุผนังทึบทั่วไป ก็สามารถผ‹าน หนา 7.5 cm • LSG = 1.29
เกณฑ BEC ไดŒ ถึงแมŒว‹าสีผนังอาคาร • ปูนฉาบสำหรับคอนกรีต
จะเปšนสีค‹อนขŒางเขŒม มวลเบาหนา 1.25 cm
• U = 1.52 W/m2 K

ธิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
สิ ท
BE
ประ

DEPARTMENTSTORE
10.0%
20%
m2

TTV /
O

= 36.0 W
สีอ‹อน คอนกรีตมวลเบา Ocean green float อุปกรณบังแดดยื่น 2 m
เมื่อมีการออกแบบอุปกรณบังแดดที่ดี • ปูนฉาบสำหรับคอนกรีต glass 8 mm • ดŒานบนชิดขอบกระจก
กระจกเขียว ใชŒสัดส‹วน WWR ที่เหมาะสม มวลเบาหนา 1.25 cm • SHGC = 0.56 • กระจกกวŒาง 2 m
สีผนังอาคารเปšนสีอ‹อน ใชŒวัสดุผนังทึบทั่วไป • คอนกรีตมวลเบา • U = 5.67 W/m2 K สูง 3 m
ความหนาแน‹น • Tvis = 0.72 • SC = 0.62
ก็สามารถทำใหŒอาคารมีประสิทธิภาพ 620 kg./m3 • LSG = 1.29 • SCeff = 0.45
ที่สูงกว‹า BEC ไดŒ หนา 7.5 cm
• ปูนฉาบสำหรับคอนกรีต
มวลเบาหนา 1.25 cm
• U = 1.52 W/m2 K
แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม
30 31
WWR สีของ คุณสมบัติ คุณสมบัติ อุปกรณบังแดด
กลุ‹มที่ 2 ศูนยการคŒา (เกณฑ BEC ค‹า OTTV < 40 W/m2) ผนังอาคาร วัสดุผนังทึบ วัสดุโปร‹งแสง

ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
ิทธ

BE
ประ

C
DEPARTMENTSTORE
14.2%
25%

m2
TTV
W/

O
= 34.3
สีอ‹อน แผ‹นคอนกรีตสำเร็จรูป Ocean green float ไม‹มีอุปกรณบังแดด
เมื่อมีการเพิ่มฉนวนและช‹องอากาศกับ ฉนวน และช‹องอากาศ glass 8 mm • SC = 1
ผนังคอนกรีตสำเร็จรูปในการทำผนังอาคาร • คอนกรีตหนา 10 cm • SHGC = 0.56 • SCeff = 0.72
• ฉนวนใยแกŒวความหนาแน‹น • U = 5.67 W/m2 K
สีผนังอาคารเปšนสีอ‹อน ใชŒวัสดุกระจกเขียว 16 kg./m3 หนา 5 cm • Tvis = 0.72
ใชŒสัดส‹วน WWR ที่เหมาะสม แมŒจะไม‹มี หุŒมฟอยล • LSG = 1.29
อุปกรณบังแดด ก็สามารถทำใหŒอาคาร • ช‹องว‹างอากาศ 5 cm
มีประสิทธิภาพที่สูงกว‹า BEC ไดŒ • แผ‹นยิปซั่มหนา 1.2 cm
• U = 0.459 W/m2 K

ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
ิทธ

BE
ประ

DEPARTMENTSTORE
25.5% Low
-E

20%
m2

TTV /
O

= 29.8 W
สีค‹อนขŒาง อิฐและฉนวน Clear color single
silver LOW-E coat ไม‹มีอุปกรณบังแดด
เมื่อมีการเพิ่มฉนวนใหŒกับผนังก‹ออิฐธรรมดา เขŒม • ปูนฉาบหนา 1.5 cm on clear 10 mm • SC = 1
ใชŒวัสดุกระจกที่มีประสิทธิภาพสูง ใชŒสัดส‹วน • อิฐหนา 7 cm (10-12-10), • SCeff = 0.70
WWR ที่เหมาะสม แมŒจะไม‹มีอุปกรณบังแดด • ฉนวนใยแกŒวความ- insulating glass
หนาแน‹น 16 kg./m3 (Clear color single
และสีผนังอาคารเปšนสีค‹อนขŒางเขŒม ก็สามารถ หนา 5 cm silver low-e for
ทำใหŒอาคารมีประสิทธิภาพที่สูงกว‹า BEC ไดŒ • แผ‹นยิปซั่มหนา 1.2 cm outer glass)
• U = 0.613 W/m2 K • SHGC = 0.61
• U = 1.97 W/m2 K
• Tvis = 0.70
• LSG = 1.15
แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม
32 33
WWR สีของ คุณสมบัติ คุณสมบัติ อุปกรณบังแดด
กลุ‹มที่ 2 ศูหŒนายงสรรพสิ นคŒา BEC ค‹า OTTV < 40 W/m2)
การคŒา (เกณฑ ผนังอาคาร วัสดุผนังทึบ วัสดุโปร‹งแสง

ธิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
สิ ท

BE
ประ

C
-E
DEPARTMENTSTORE
35.7% Low
30%

/m 2
TTV คอนกรีตมวลเบา ฉนวน
= 2 5.8 W

O
และช‹องอากาศ Clear color single
สีอ‹อน • ปูนฉาบสำหรับคอนกรีต silver LOW-E coat ไม‹มีอุปกรณบังแดด
เมื่อมีการเพิ่มฉนวนและช‹องอากาศกับ มวลเบาหนา 1.25 cm on ocean green • SC = 1
ผนังคอนกรีตสำเร็จรูปในการทำผนังอาคาร • คอนกรีตมวลเบาความ- 6 mm (6-12-6) • SCeff = 0.64
หนาแน‹น 620 kg./m3 insulating glass
สีผนังอาคารเปšนสีอ‹อน ใชŒวัสดุกระจกเขียว หนา 7.5 cm (Clear color single
ใชŒสัดส‹วน WWR ที่เหมาะสม แมŒจะไม‹มี • ฉนวนใยแกŒวความหนาแน‹น silver LOW-E for
16 kg./m3 หนา 5 cm outer glass)
อุปกรณบังแดด ก็สามารถทำใหŒอาคาร หุŒมฟอยล • SHGC = 0.39
มีประสิทธิภาพที่สูงกว‹า BEC ไดŒ • ช‹องว‹างอากาศ 5 cm • U = 2 W/m2 K
• แผ‹นยิปซั่มหนา 1.2 cm • Tvis = 0.64
• U = 0.39 W/m2 K • LSG = 1.64

ธิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
สิ ท
BE
ประ

DEPARTMENTSTORE
63.0% Low
-E

20%
m2

TTV /
O

= 1 4.8 W
สีค‹อนขŒาง แผ‹นคอนกรีตสำเร็จรูป Clear color single อุปกรณบังแดดยื่น 1 m
เมื่อมีการเพิ่มฉนวนใหŒกับผนังก‹ออิฐธรรมดา เขŒม ฉนวน และช‹องอากาศ silver LOW-E coat • ดŒานบนชิดขอบกระจก
ใชŒวัสดุกระจกที่มีประสิทธิภาพสูง • คอนกรีตหนา 10 cm on sky blue 8 mm • กระจกกวŒาง 2 m
• ฉนวนใยแกŒวความหนาแน‹น (8-12-8) insulating สูง 3 m
ใชŒสัดส‹วน WWR ที่เหมาะสม และสีผนังอาคาร glass (Clear color
16 kg./m3 หนา 5 cm single silver LOW-E • SC = 0.74
เปšนสีค‹อนขŒางเขŒม ก็สามารถทำใหŒอาคาร หุŒมฟอยล • SCeff = 0.32
for outer glass)
มีประสิทธิภาพที่สูงกว‹า BEC ไดŒ • ช‹องว‹างอากาศ 5 cm • SHGC = 0.3
• แผ‹นยิปซั่มหนา 1.2 cm • U = 1.98 W/m2 K
• U = 0.459 W/m2 K • Tvis = 0.43
• LSG = 1.44
แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม
34 35
กลุ่มที่ 3 อาคารชุด

แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม
36 37
WWR สีของ คุณสมบัติ คุณสมบัติ อุปกรณบังแดด
กลุ‹มที่ 3 อาคารชุด (เกณฑ BEC ค‹า OTTV < 30 W/m2) ผนังอาคาร วัสดุผนังทึบ วัสดุโปร‹งแสง

ธิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
สิ ท

BE
ประ

C
2.0%
15%

m2
TTV /
= 2 9.4 W

O
สีอ‹อน อิฐมอญ Ocean green float อุปกรณบังแดดยื่น 2 m
เมื่อมีการออกแบบอุปกรณบังแดดที่ดี • ปูนฉาบหนา 1.5 cm glass 8 mm • ดŒานบนห‹างจาก
สีผนังอาคารเปšนสีอ‹อน เลือกใชŒสัดส‹วน WWR ที่เหมาะสม • อิฐมอญหนา 7 cm • SHGC = 0.56 ขอบกระจก 0.5 m
• ปูนฉาบหนา 1.5 cm • U = 5.67 W/m2 K • กระจกกวŒาง 2 m
และกระจกเขียว ก็สามารถใชŒวัสดุผนังทึบทั่วไป • U = 3.413 W/m2 K • Tvis = 0.72 สูง 2 m
โดยยังสามารถผ‹านเกณฑ BEC • LSG = 1.29 • SC = 0.68
• SCeff = 0.49

ธิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
สิ ท
BE
ประ

8.8%
30%
m2

TTV
W/
O

= 27.4
สีอ‹อน คอนกรีตมวลเบา Clear float glass อุปกรณบังแดดยื่น 1 m
เมื่อมีการออกแบบอุปกรณบังแดดที่ดี สีผนังอาคาร • ปูนฉาบสำหรับคอนกรีต 8 mm • ดŒานบนและดŒานขŒาง
เปšนสีอ‹อน เลือกใชŒสัดส‹วน WWR ที่เหมาะสม มวลเบาหนา 1.25 cm • SHGC = 0.8 ห‹างจากขอบกระจก
• คอนกรีตมวลเบาความ- • U = 5.67 W/m2 K 0.5 m
ก็สามารถใชŒวัสดุผนังทึบทั่วไป และกระจกใส หนาแน‹น 620 kg./m3 • Tvis = 0.87 • กระจกกวŒาง 2 m
ธรรมดาไดŒ โดยยังสามารถผ‹านเกณฑ BEC หนา 7.5 cm • LSG = 1.09 สูง 2 m
• ปูนฉาบสำหรับคอนกรีต • SC = 0.60
มวลเบาหนา 1.25 cm • SCeff = 0.52
• U = 1.52 W/m2 K

แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม
38 39
WWR สีของ คุณสมบัติ คุณสมบัติ อุปกรณบังแดด
กลุ‹มที่ 3 อาคารชุด (เกณฑ BEC ค‹า OTTV < 30 W/m2) ผนังอาคาร วัสดุผนังทึบ วัสดุโปร‹งแสง

ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
ิทธ

BE
ประ

C
17.0%
35%

m2
TTV /
= 2 4.9 W

O
สีอ‹อน อิฐมอญและฉนวน Ocean green float อุปกรณบังแดดยื่น 1 m
เมื่อมีการเลือกใชŒฉนวนร‹วมกับผนังอิฐธรรมดา • ปูนฉาบหนา 1.5 cm glass 8 mm • ดŒานบนห‹างจาก
สีผนังอาคารเปšนสีอ‹อน กระจกเขียว มีอุปกรณบังแดด • อิฐมอญหนา 7 cm • SHGC = 0.56 ขอบกระจก 0.5 m
• ฉนวนใยแกŒวความ- • U = 5.67 W/m2 K • กระจกกวŒาง 2 m
ทำใหŒสามารถออกแบบใหŒมีสัดส‹วน WWR ไดŒถึง 35% หนาแน‹น 16 kg./m3 • Tvis = 0.72 สูง 2 m
และสามารถทำใหŒอาคารมีประสิทธิภาพที่สูงกว‹า BEC ไดŒ หนา 5 cm • LSG = 1.29 • SC = 0.81
• แผ‹นยิปซั่มหนา 1.2 cm • SCeff = 0.58
• U = 0.613 W/m2 K

ธิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
สิ ท
BE
ประ

28.6%
40%
/m 2

TTV
= 2 1.4 W
O

สีอ‹อน แผ‹นคอนกรีตสำเร็จรูป Clear float glass อุปกรณบังแดดยื่น 2 m


เมื่อมีการเลือกใชŒฉนวนร‹วมกับผนังคอนกรีตสำเร็จรูป และฉนวน 8 mm • ดŒานบนและดŒานขŒาง
สีผนังอาคารเปšนสีอ‹อนที่สำคัญคือมีการออกแบบ • คอนกรีตหนา 10 cm • SHGC = 0.8 ห‹างจากขอบกระจก
อุปกรณบังแดดสำหรับระเบียงหŒองพัก แมŒจะใชŒกระจกใสธรรมดา • ฉนวนใยแกŒวความ- • U = 5.67 W/m2 K 0.5 m
หนาแน‹น 16 kg./m3 • Tvis = 0.87 • กระจกกวŒาง 2 m
ก็ยังสามารถใชŒสัดส‹วน WWR ไดŒถึง 40% หนา 5 cm • LSG = 1.09 สูง 3 m
และสามารถทำใหŒอาคารมีประสิทธิภาพที่สูงกว‹า BEC ไดŒ • แผ‹นยิปซั่มหนา 1.2 cm • SC = 0.37
• U = 0.628 W/m2 K • SCeff = 0.32

แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม
40 41
WWR สีของ คุณสมบัติ คุณสมบัติ อุปกรณบังแดด
กลุ‹มที่ 3 อาคารชุด (เกณฑ BEC ค‹า OTTV < 30 W/m2) ผนังอาคาร วัสดุผนังทึบ วัสดุโปร‹งแสง

ธิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
สิ ท

BE
ประ

C
-E
44.3% Low
30%

/m 2
TTV
= 1 6.7 W

O
สีค‹อนขŒาง แผ‹นคอนกรีตสำเร็จรูป Clear color single ไม‹มีอุปกรณบังแดด
เมื่อเลือกใชŒวัสดุกระจกที่มีประสิทธิภาพสูงประกอบ เขŒม ฉนวน และช‹องอากาศ silver LOW-E coat SC = 1
• คอนกรีตหนา 10 cm on ocean green SCeff = 0.64
กับเพิ่มฉนวนและช‹องอากาศบริเวณแผ‹นคอนกรีต 6 mm. (6-12-6)
• ฉนวนใยแกŒวความ- insulating glass
สำเร็จรูป ใชŒสัดส‹วน WWR ที่เหมาะสม ก็ทำใหŒ หนาแน‹น 16 kg./m3 (Clear color single
ประสิทธิภาพพลังงานของอาคารสูงขึ้นกว‹า หนา 5 cm. หุŒมฟอยล silver LOW-E for
เกณฑ BEC แมŒจะไม‹มีอุปกรณบังแดด • ช‹องว‹างอากาศ 5 cm outer glass)
และสีผนังอาคารค‹อนขŒางเขŒมก็ตาม • แผ‹นยิปซั่มหนา 1.2 cm • SHGC = 0.39
• U = 0.459 W/m2 K • U = 2 W/m2 K
• Tvis = 0.64
• LSG = 1.64

ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
ิทธ

BE
ประ

51.3% Low
-E

40%
/m 2

TTV
= 1 4.6 W
O

สีอ‹อน Aluminium cladding Clear color single อุปกรณบังแดดยื่น


เมื่อเลือกใชŒวัสดุกระจกที่มีประสิทธิภาพสูงประกอบ ฉนวน และช‹องอากาศ silver LOW-E coat 0.5 m
กับวัสดุผนังทึบที่เปšนแผ‹น Aluminium Cladding • Aluminium cladding on sky blue 8 mm • ดŒานบนชิดขอบกระจก
หนา 0.1 cm (8-12-8) insulating • กระจกกวŒาง 2 m
ที่มีฉนวนและช‹องอากาศ ผนังอาคารเปšนสีอ‹อน • ฉนวนใยแกŒวความ- glass (Clear color สูง 3 m
ก็ทำใหŒประสิทธิภาพพลังงานของอาคารสูงขึ้นมากกว‹า หนาแน‹น 16 kg./m3 single silver LOW-E • SC = 0.84
for outer glass)
เกณฑ BEC ประมาณ 50% โดยยังสามารถใชŒสัดส‹วน หนา 5 cm. หุŒมฟอยล • SHGC = 0.3 • SCeff = 0.36
WWR ไดŒสูงถึง 40% และอุปกรณบังแดดที่ยื่น • ช‹องว‹างอากาศ 5 cm • U = 1.98 W/m2 K
• แผ‹นยิปซั่มหนา 1.2 cm • Tvis = 0.43
เพียง 0.5 m บนกระจกที่มีความสูงถึง 3 m • U = 0.474 W/m2 K • LSG = 1.44
แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม
42 43
ส่วนที่ 3:
การออกแบบหลังคา
เพื่อการอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูง

แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม
44 45
ภาพตัวอย่าง องค์ประกอบของหลังคา
ตัวอย่าง ค�ำอธิบาย
แสดงองค์ประกอบ องค์ประกอบและค่าที่ใช้ส�ำหรับ
การออกแบบหลังคาตามเกณฑ์ RTTV ส่วนประกอบต่างๆ
ของหลังคา การค�ำนวณ RTTV ของตัวอย่างนี้

การออกแบบอาคารตามเกณฑ์ RTTV (ค่าการถ่ายเทความร้อน ของตัวอย่าง


รวมผ่านหลังคาซึ่งมีหน่วยเป็น วัตต์ ต่อ ตารางเมตร) ถือ
เป็นอีกเรื่องที่มีความส�ำคัญ ดังนั้นในส่วนที่ 3 นี้จะน�ำเสนอ
ตัวอย่างการออกแบบหลังคาตามเกณฑ์มาตรฐานประสิทธิภาพ สีหลังคา กลุ‹มที่ 1สีอาคารสำนั
หลังคา กงานกลุ‹มที่ 1 อาคารสำนักงาน
เกณฑ BEC ค‹า RTTV < 15 W/m
คุณสมบัติวัสดุหลังคาทึบ คุณสมบัติวัสดุหลังคาทึ บ เกณฑ2 BEC ค‹า RTTV < 15 W/m2
กลุ‹มที่ 2 ศูนยการคŒา
เกณฑ BEC ค‹า RTTV < 12 W/m
กลุ‹มที่ 2 ศูนยการคŒา
เกณฑ2 BEC ค‹า RTTV < 12 W/m
DEPARTMENTSTORE

เกณฑ2 BEC ค‹า RTTV < 10 W/m


กลุ‹มที่ 3 อาคารชุด
เกณฑ2 BEC ค‹า RTTV < 10 W/m2
DEPARTMENTSTORE

กลุ‹มที่ 3 อาคารชุด

พลั ง งานในอาคารขั้ น ต�่ ำ (BEC) และที่ สู ง กว่ า เกณฑ์ BEC สีอ‹อน สีค‹อสีนขŒอ‹อางเขŒ
น ม สีค‹อนขŒางเขŒม สีอ‹อน สีค‹อสีนขŒอ‹อางเขŒ
น ม สีค‹อสีนขŒ
อ‹อานงเขŒม สีค‹อสีนขŒอ‹อางเขŒ
น ม สีค‹อนขŒางเขŒม

เพื่ อ เป็ น แนวทางและสร้ า งแรงจู ง ใจในการออกแบบหลั ง คา ิทธ


ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
ิทธ
ิ ภ า พ สตู ํ่ งา ก ว‹ า
ิทธ
ิ ภ า พ ตํ่ า ก ว‹ า
ิทธ
ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
ิทธ
ิ ภ า พ สตู ํ่ งา ก ว‹ า
ิทธ
ิ ภ า พ สตู ํ่ งา ก ว‹ า
ิทธ
ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
ิทธ
ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า

อาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูง โดยจะน�ำเสนอ



BE

BE

BE

BE
BE

BE

BE

BE
ประ

ประ

ประ

ประ

ประ

ประ
ประ

ประ
C

C
C

C
25.3% 25.3%
2.1% 2.1% 5.0% 5.0%
27.2% 27.2%
31.0% 31.0%
8.1% 8.1%
ตัวอย่างอาคารจาก 3 กลุ่มอาคารตามเกณฑ์ BEC ดังนี้

/mm22
/m 2

/m 2

/m 2

m2

/m 2
TTTVV TTV

m2
TTV

m2
TV TV TV TV / TV / /
== 165. 9. 3 WW/ /

RT

RT

RRT
RT

RT
RT

R
คอนกรีตและฉนวน คอนกรีตและฉนวน = 11.2 W = 1 15. 24 W = 15.4 W = 1 1.4 W = 1 15. 43 W = 69. 92 W = 9.2 W
• คอนกรีตหนา 10 cm • คอนกรีตหนา 10 cm
• ฉนวนใยแกŒวความหนาแน‹น 16 kg./m3 หนา
• ฉนวนใยแกŒ 5 cm น 16 kg./m3 หนา 5 cm
วความหนาแน‹
• แผ‹นยิปซั่มหนา 0.9 cm U =• 0.612
แผ‹นยิปW/m 2 K0.9 cm U = 0.612 W/m2 K
ซั่มหนา
กลุ่มที่ 1 ส�ำนักงาน การเปรียบเทียบจากการใช้วัสดุ
กลุ่มที่ 2 ศูนย์การค้า แสดงค่า RTTV 5 ตัวอย่าง ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า ิ ภ า พ สตู ํ่ งา ก ว‹ า ิ ภ า พ สตู ํ่ งา ก ว‹ า ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
ิทธ ิทธ ิทธ ิทธ ิทธ ิทธ ิทธ ิทธ
ที่ผ่านเกณฑ์ BEC และมี





กลุ่มที่ 3 อาคารชุด

BE

BE

BE

BE
BE

BE
BE

BE
ประ

ประ
ประ
ประ

ประ

ประ
ประ

ประ
C

C
C

C
C

C
32.5% 32.5%
7.8% 7.8% 14.2% 14.2%
15.0% 37.6%
15.0% 37.6%
17.0% 17.0%
ประสิทธิภาพสูงขึ้นเป็นล�ำดับ

/m 2
/m 2

/m 2

/m 2

/m 2

/mm22

m2

m2
คอนกรีต ฉนวน และช‹องว‹างอากาศ
คอนกรีต ฉนวน และช‹องว‹TาVงอากาศ W TV TV TV TV TTTVV TTV TTV
== 163..38 WW/ / /

RT

RT

RT

RT

RRT
RT

R
• คอนกรีตหนา 10 cm • คอนกรีตหนา 10 cm= 1 0 . 2 = 1 03. 29 W = 1 3.9 W = 1 0.3 W = 1 03. 38 W = 68. 3 W = 8.3 W
จากความแตกต่างของ • ฉนวนใยแกŒวความหนาแน‹น 16 kg./m3 หนา
• ฉนวนใยแกŒ 5 cm น 16 kg./m3 หนา 5 cm
วความหนาแน‹

การเปรียบเทียบ: ในแต่ละกลุ่มอาคารจะแสดงให้เห็น 5 ตัวอย่าง วัสดุหลังคา


• ช‹องว‹างอากาศ 10-20 cm • ช‹องว‹างอากาศ 10-20 cm
• แผ‹นยิปซั่มหนา 0.9 cm U =• 0.553
แผ‹นยิปW/m 2 K0.9 cm U = 0.553 W/m2 K
ซั่มหนา

ที่มีค่า RTTV ผ่านเกณฑ์ BEC ในระดับประสิทธิภาพที่ต่างกัน


จากความแตกต่างขององค์ประกอบของหลังคา คือ ิทธ
ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
ิทธ
ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
ิทธ
ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
ิทธ
ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
ิทธ
ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
ิทธ
ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
ิทธ
ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
ิทธ
ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า



BE

BE

BE

BE
BE

BE
BE

BE
ประ

ประ

ประ
ประ

ประ

ประ

ประ

ประ
C

C
C

C
C

C
41.7% 41.7%
20.3% 20.3% 25.8% 25.8%
0.6% 46.1%
0.6% 46.1%
28.2% 28.2%
1. สีของหลังคา

/mm22

/mm22
/mm22

/m 2
m2

m2
m2

m2
คอนกรีต ฉนวน และช‹องว‹างอากาศ
คอนกรีต ฉนวน และช‹องว‹TาTงอากาศ / TTTVV / TV TTV / TTTVV / TTTVV / TTV / TTV /

RRT

RT

RRT

RRT
R
R

R
• คอนกรีต หนา 10 cm • คอนกรีต หนา 10 cm V = 8.8 W == 182..80 WW = 1 2.0 W = 8.9 W == 182. .90 WW == 152..40 WW = 57. 42 W = 7.2 W
2. คุณสมบัติของวัสดุหลังคาทึบ • ฉนวนใยแกŒวความหนาแน‹น 16 kg./m3 หนา
• ฉนวนใยแกŒ
• ช‹องว‹างอากาศมากกว‹า 20 •cm
• แผ‹นยิปซั่มหนา 0.9 cm U =• 0.478
5 cm น 16 kg./m3 หนา 5 cm
วความหนาแน‹
ช‹องว‹างอากาศมากกว‹า 20 cm
แผ‹นยิปW/m 2 K0.9 cm U = 0.478 W/m2 K
ซั่มหนา

โดยในที่นี้มิได้พิจารณาองค์ประกอบ อัตราส่วนของพื้นที่กระจก
ต่อพืน้ ทีห่ ลังคาทึบ คุณสมบัตขิ องวัสดุโปร่งแสง และมุมเอียงของ
หลังคา (พิจารณาเฉพาะหลังคาแนวราบ) ค่า RTTV ที่คำ�นวณได้ ระดับประสิทธิภาพที่สูงกว่า การเปรียบเทียบจากการเลือกใช้สี
ค่า RTTV ที่คำ� นวณได้ เกณฑ์ BEC สีหลังคามีผลต่อค่า RTTV แม้ว่า
เปรียบเทียบกับ แสดงในรูปแบบค่าร้อยละของผล จะใช้วัสดุหลังคาเหมือนกันก็ตาม
ค่าตามเกณฑ์ BEC ต่าง RTTV ที่มีประสิทธิภาพสูง
กว่าค่า
ตามเกณฑ์ BEC
ตามประเภทของอาคาร

แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม
47
DEPARTMENTSTORE

สีหลังคา กลุ‹มที่ 1 อาคารสำนักงาน กลุ‹มที่ 2 ศูนยการคŒา กลุ‹มที่ 3 อาคารชุด


เกณฑ BEC ค‹า RTTV < 15 W/m2 เกณฑ BEC ค‹า RTTV < 12 W/m2 เกณฑ BEC ค‹า RTTV < 10 W/m2
คุณสมบัติวัสดุหลังคาทึบ
สีอ‹อน สีค‹อนขŒางเขŒม สีอ‹อน สีค‹อนขŒางเขŒม สีอ‹อน สีค‹อนขŒางเขŒม

ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า ิ ภ า พ ตํ่ า ก ว‹ า ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า ิ ภ า พ ตํ่ า ก ว‹ ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
ิทธ ิทธ ิทธ ิทธ า ิทธ ิทธ




BE

BE
BE

BE

BE
BE
ประ

ประ

ประ

ประ
ประ
ประ
C

C
C

C
C
25.3% 2.1% 5.0% 27.2% 31.0% 8.1%

/m 2
/m 2

/m 2

m2
TTV

m2
TTV

m2
TV TV TV / TV / /

RT

RT
RT
RT

R
คอนกรีตและฉนวน = 11.2 W = 15.4 W = 1 1.4 W = 1 5.3 W = 6.9 W = 9.2 W
• คอนกรีตหนา 10 cm
• ฉนวนใยแกŒวความหนาแน‹น 16 kg./m3 หนา 5 cm
• แผ‹นยิปซั่มหนา 0.9 cm U = 0.612 W/m2 K

ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า ิ ภ า พ ตํ่ า ก ว‹ า ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
ิทธ ิทธ ิทธ ิทธ ิทธ ิทธ





BE

BE
BE
BE

BE
BE
ประ

ประ
ประ
ประ

ประ
ประ
C

C
C
C

C
C
32.5% 7.8% 14.2% 15.0% 37.6% 17.0%

/m 2

/m 2
/m 2

/m 2

m2

m2
คอนกรีต ฉนวน และช‹องว‹างอากาศ TV TV TV TV TTV / TTV /
RT

RT

RT
RT

R
• คอนกรีตหนา 10 cm = 1 0.2 W = 1 3.9 W = 1 0.3 W = 1 3.8 W = 6.3 W = 8.3 W
• ฉนวนใยแกŒวความหนาแน‹น 16 kg./m3 หนา 5 cm
• ช‹องว‹างอากาศ 10-20 cm
• แผ‹นยิปซั่มหนา 0.9 cm U = 0.553 W/m2 K

ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
ิทธ ิทธ ิทธ ิทธ ิทธ ิทธ




BE
BE

BE
BE

BE

BE
ประ
ประ

ประ
ประ

ประ

ประ
C
C

C
C

C
41.7% 20.3% 25.8% 0.6% 46.1% 28.2%

/m 2
/m 2

m2
m2

m2
m2
คอนกรีต ฉนวน และช‹องว‹างอากาศ TTV / TV TTV / TV TTV / TTV /
RT

RT
R
R

R
R
• คอนกรีต หนา 10 cm = 8.8 W = 1 2.0 W = 8.9 W = 1 2.0 W = 5.4 W = 7.2 W
• ฉนวนใยแกŒวความหนาแน‹น 16 kg./m3 หนา 5 cm
• ช‹องว‹างอากาศมากกว‹า 20 cm
• แผ‹นยิปซั่มหนา 0.9 cm U = 0.478 W/m2 K

แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม
48 49
DEPARTMENTSTORE

สีหลังคา กลุ‹มที่ 1 อาคารสำนักงาน กลุ‹มที่ 2 ศูนยการคŒา กลุ‹มที่ 3 อาคารชุด


เกณฑ BEC ค‹า RTTV < 15 W/m2 เกณฑ BEC ค‹า RTTV < 12 W/m2 เกณฑ BEC ค‹า RTTV < 10 W/m2
คุณสมบัติวัสดุหลังคาทึบ
สีอ‹อน สีค‹อนขŒางเขŒม สีอ‹อน สีค‹อนขŒางเขŒม สีอ‹อน สีค‹อนขŒางเขŒม

ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
ิทธ ิทธ ิทธ ิทธ ิทธ ิทธ



BE

BE
BE

BE

BE

BE
ประ

ประ

ประ

ประ
ประ

ประ
C

C
C

C
50.5% 32.3% 37.0% 15.6% 54.2% 39.0%

/m 2

m2

m2
TTV TTV

m2
TTV

m2
TTV

m2
/ TV / TV / / /

RT
RT

R
R

R
คอนกรีต ฉนวน และช‹องว‹างอากาศ = 7.5 W = 1 0.2 W = 7.6 W = 1 0.2 W = 4.6 W = 6.1 W
• คอนกรีต หนา 10 cm
• ฉนวนใยแกŒวความหนาแน‹น 16 kg./m3 หนา 7.5 cm
• ช‹องว‹างอากาศ 10-20 cm
• แผ‹นยิปซั่ม หนา 0.9 cm. U = 0.406 W/m2 K

ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า ิ ภ า พ สู ง ก ว‹ า
ิทธ ิทธ ิทธ ิทธ ิทธ ิทธ




BE

BE

BE
BE

BE
BE
ประ

ประ
ประ
ประ

ประ
ประ

C
C

C
C
55.6% 39.3% 43.5% 24.3% 58.9% 45.3%
TTV TTV

m2
TTV m2 TTV TTV TTV

m2

m2
m2

m2
/ / / / / /
R

R
R

R
R

R
คอนกรีต ฉนวน และช‹องว‹างอากาศ = 6.7 W = 9.1 W = 6.8 W = 9.1 W = 4.2 W = 5.5 W
• คอนกรีตหนา 10 cm
• ฉนวนใยแกŒวความหนาแน‹น 16 kg./m3 หนา 7.5 cm
• ช‹องว‹างอากาศมากกว‹า 20 cm
• แผ‹นยิปซั่มหนา 0.9 cm U = 0.364 W/m2 K

แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม
50 51
ส่วนที่ 4:
Next Steps ส�ำหรับการออกแบบอาคารอนุรักษ์
พลังงานประสิทธิภาพสูง
เราหวังว่าเอกสารเล่มนี้จะสามารถสร้างแรงบันดาลใจให้กับท่านในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงาน
ประสิทธิภาพสูง และพร้อมที่จะศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับมาตรฐานการอนุรักษ์พลังงานต่อไป
ทั้งนี้ท่านสามารถเข้าถึงข้อมูลเพิ่มเติมต่างๆ จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ดังนี้

แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม
52 53
ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับเกณฑ์ BEC ของไทย สพบ. ได้พัฒนาเครื่องมือที่สร้างแรงบันดาลใจบนโลกออนไลน์เพื่อช่วยให้เข้าใจว่าองค์ประกอบต่างๆ
ของกรอบอาคารมีผลต่อการค�ำนวณค่า OTTV และ RTTV อย่างไร
http://www2.dede.go.th/bhrd/old/web_display/websemple/swf_com7/07.swf
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน

• ศูนย์ประสานงานการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน (2E Building Centre)


เป็นศูนย์รวมข้อมูลทางวิชาการ ให้ค�ำปรึกษาด้านการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
ส่งเสริมและสนับสนุนให้อาคารที่ก่อสร้างหรือดัดแปลง มีการออกแบบให้เป็นไปตามข้อก�ำหนดของ
กฎหมาย และเผยแพร่ให้ความรู้แก่ผู้ออกแบบอาคาร
http://www.2e-building.com

• ส�ำนักพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านพลังงาน (สพบ.)
สพบ. เป็ น ส� ำ นั ก งานพั ฒ นาบุ ค ลากรและให้ บ ริ ก ารในการบริ ห ารจั ด การฝึ ก อบรมทุ ก รู ป แบบ
เพื่อพัฒนาและถ่ายทอดความรู้ด้านการจัดการและเทคโนโลยีด้านพลังงานให้เป็นไปตามกฎหมาย
อย่างมีประสิทธิภาพ
http://www2.dede.go.th/bhrd/

แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม
54 55
อภิธานศัพท์ (Glossary)
OTTV Overall Thermal Transfer Value คือ ค่าการถ่ายเทความร้อนรวมผ่าน
ผนังอาคาร (W/m2)
RTTV Roof Thermal Transfer Value คือ ค่าการถ่ายเทความร้อนรวมผ่านหลังคา (W/m2)
U คือ สัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนรวมของวัสดุ (W/m2 K)
WWR Window-to-Wall-Ratio คือ อัตราส่วนพื้นที่ของหน้าต่างโปร่งแสงต่อ
พื้นที่ทั้งหมดของผนัง
TDeq Temperature Difference Equivalent คือ ค่าความแตกต่างอุณหภูมเิ ทียบเท่า (K)
ΔT คือ ค่าความแตกต่างอุณหภูมิระหว่างภายในและภายนอกอาคาร (K)
SHGC Solar Heat Gain Coefficient คือ ค่าสัมประสิทธิ์ความร้อนจากรังสีอาทิตย์
ที่ส่งผ่านผนังโปร่งแสงหรือกระจก
SC Shading Coefficient คือ สัมประสิทธิ์การบังแดดของอุปกรณ์บังแดด
ESR Effective Solar Radiation คือ ปริมาณรังสีอาทิตย์ตกกระทบที่มีผลต่อ
การถ่ายเทความร้อนผ่านผนังโปร่งแสง (W/m2)
Tvis Visible Transmittance คือ ค่าส่งผ่านรังสีที่ตามองเห็น
LSG Light to Solar Gain คือ อัตราส่งผ่านของแสงต่อความร้อนมีคา่ เท่ากับ Tvis/SHGC
SCeff Effective Shading Coefficient คือ ค่าประสิทธิผลของสัมประสิทธิ์การบังแดด
มีค่าเท่ากับ SCxTvis

แนวทางเบื้องต้นในการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานประสิทธิภาพสูงเชิงสถาปัตยกรรม
56

You might also like