You are on page 1of 31

Thailand Voluntary Emission Reduction Program หน้า1

เอกสารข้อเสนอโครงการ )Project Design Document)

รายละเอียดโครงการ
งื่อโครงการ Energy Efficiency Improvement in KK2 Power Plant
การลดการใช้พลังงานในโรงไฟฟ้าแก่งคอย 2
 การเพิ่มประสิทธิภาพพลังงาน การจัดการในภาคขนส่ง
ประเภทโครงการ
การพัฒนาพลังงานทางเลือก ป่าไม้และพื้นที่สีเขียว
การพัฒนาพลังงานหมุนเวียน การเกษตร
การจัดการขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล อื่นๆ.........................................
และวัสดุเหลือใช้
ที่ตั้งโครงการ 64 หมู่ 2 ถ. สนามทอง-บ้านปางโก ต.บ้านป่า อ.แก่งคอย จ.สระบุรี
พิกัดที่ตั้งโครงการ N 14 36 09, E101 01 15
เงินลงทุนทั้งหกดของ 104.26 ล้านบาท
โครงการ
ปริกาณก๊าซเรือนกระจก 32,210 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อปี
ที่คาดว่าจะลด/ดูดกลับได้
ระยะเวลาคิดคาร์บอน 7 ปี 0 เดือน
เครดิตของโครงการ ช่วงระยะเวลา 01/07/2558 – 30/06/2565

รายละเอียดการจัดทาเอกสาร
วันที่จัดทาเอกสารแล้วเสร็จ 20 กรกฎาคม 2559
เอกสารฉบับที่ ฉบับที่ 07.1

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก )องค์การกหางน(
Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)
Thailand Voluntary Emission Reduction Program หน้า2

รายละเอียดผู้พัฒนาโครงการ
ผู้พัฒนาโครงการ บริษัท กัลฟ์ เพาเวอร์ เจเนอเรชั่น จากัด
งื่อผู้ประสานงาน นายพิทักษ์ สังข์โชติ
ที่อยู่ 64 หมู่ 2 ถ.สนามทอง-บ้านปางโก ต. บ้านป่า อ. แก่งคอย จ. สระบุรี
โทรศัพท์ 036 262403-9 ต่อ 1002
โทรสาร 036 262402
E-mail pitak.gpg@gulfelectric.co.th

รายละเอียดเจ้าของโครงการ
เจ้าของโครงการ บริษัท กัลฟ์ เพาเวอร์ เจเนอเรชั่น จากัด
งื่อผู้ประสานงาน นายพิทักษ์ สังข์โชติ
ที่อยู่ 64 หมู่ 2 ถ.สนามทอง-บ้านปางโก ต. บ้านป่า อ. แก่งคอย จ. สระบุรี
โทรศัพท์ 036 262403-9 ต่อ 1002
โทรสาร 036 262402
E-mail pitak.gpg@gulfelectric.co.th

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก )องค์การกหางน(
Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)
Thailand Voluntary Emission Reduction Program หน้า3

สารบัญ
หน้า

ส่วนที่ 1 รายละเอียดโครงการ 4
ส่วนที่ 2 ระเบียบวิธีการลดก๊าซเรือนกระจก 10
ส่วนที่ 3 การคานวณการดูดกลับ/การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 13
ส่วนที่ 4 แผนการติดตามผลการดาเนินโครงการ 20
ภาคผนวกเอกสาร/หลักฐานประกอบ 26

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก )องค์การกหางน(
Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)
Thailand Voluntary Emission Reduction Program หน้า4

ส่วนที่ 1รายละเอียดโครงการ

1.1 รายละเอียดและกิจกรรกของโครงการ
โครงการการลดการใช้พลังงานในโรงไฟฟ้าแก่งคอย 2 ของบริษัท กัลฟ์ เพาเวอร์ เจเนอเรชั่น จากัด
ได้พัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วมและเชื่อมต่อกับระบบสายส่งของประเทศไทย ได้รับ
การก่อตั้ง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 มีกาลังการผลิตรวม 1,505.2 MW ใช้เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติเป็นหลักใน
การผลิตด้วยอัตรา 260 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน ดาเนินการผลิตประมาณ 8,400 ชั่วโมงต่อปี ที่ตั้ง
โครงการดังแสดงในแผนภาพที่ 1

การดาเนินงานก่อนที่จะมีการดาเนินโครงการ T-VER การปล่อยก๊าซเรือนกระจกเกิดขึ้นจาก


กิจกรรมการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลสาหรับการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากหน่วยระบบการผลิตต่างๆ ภายใน
โรงไฟฟ้ามีการใช้เทคโนโลยีแบบเดิมตั้งแต่การก่อตั้งโรงไฟฟ้า ซึ่งพิจารณาได้จากหน่วยผลิตต่อไปนี้คือ
การใช้ไส้กรองอากาศแบบเดิมในระบบกรองอากาศของส่วนการผลิตจากเครื่องผลิตไฟฟ้ากังหันก๊าซ
(Gas Turbine) และการใช้ใบพัดในระบบระบายอากาศของหอหล่อเย็น ปัจจุบันการดาเนินการดังกล่าวมี
ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานที่ต่าลง ส่งผลให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกก่อนที่จะมีการดาเนิน
โครงการ

วัตถุประสงค์การดาเนินโครงการคือเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในระบบการผลิตพลังงานไฟฟ้าของ
โรงไฟฟ้า โดยการพัฒนากิจกรรมการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกภายใต้โครงการ T-VER
ประกอบด้วยสองกิจกรรมคือ การเปลี่ยนไส้กรองอากาศ Hepa filter ในระบบกรองอากาศ และการ
เปลี่ยนใบพัดใหม่ในระบบระบายอากาศของหอหล่อเย็น ซึ่งจากการพัฒนาปรับปรุงกิจกรรมในระบบการ
ผลิตพลังงานไฟฟ้าดังที่กล่าวมาจะมีส่วนช่วยในการลดการใช้เชื้อเพลิงในหน่วยผลิตและเพิ่มสมรรถนะ
การผลิตให้สูงขึ้นได้ ทั้งนี้สถานภาพของโครงการเป็นการปรับปรุงประสิทธิภาพพลังงานของระบบที่มอี ยู่
เดิมในโรงไฟฟ้าให้สูงขึ้น

การพัฒนากิจกรรมโครงการดังที่กล่าวมาข้างต้น คาดว่าจะมีการลดการใช้พลังงานโดยรวม 43.82


GWh/ปี รวมถึงจะทาให้เกิดปริมาณการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่คาดว่าจะเกิดขึ้น 32,210 tCO2
ต่อปี และตลอดระยะเวลาคิดคาร์บอนเครดิตของโครงการที่ 7 ปี อยู่ที่ประมาณ 225,470 tCO2

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก )องค์การกหางน(
Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)
Thailand Voluntary Emission Reduction Program หน้า5

ภาพที่ 1 ที่ตั้งโครงการ

1.2 ขอบเขตการดาเนินโครงการ
ขอบเขตการดาเนินโครงการ
การดาเนินโครงการอยู่ภายใต้ขอบเขตพื้นที่โครงการ ซึ่งรวมถึงระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าของ
โครงการ โดยกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการลดการใช้พลังงานเชื้อเพลิงในหน่วยการผลิตจะถูกพิจารณา
ภายใต้ขอบเขตการดาเนินการโครงการด้วย ดังต่อไปนี้

ระบบผลิตพลังงงานไฟฟ้าของโครงการ
โรงไฟฟ้าแก่งคอย 2 ประกอบด้วยโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม จานวน 2 ชุด (หรือเรียกว่า
Block 1 และ Block 2) โดยแต่ละชุดประกอบด้วย

อุปกรณ์หลักของโรงไฟฟ้า จานวน กาลังการผลิต


เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากังหันก๊าซ 2 เครื่อง 233 MW ต่อเครื่อง
(Gas Turbine Generators)
เครื่องผลิตไอน้า 2 เครื่อง High Pressure Steam Condition
(Heat Recovery Steam Generators) HP = 136.5 bar (a), Temp = 567.6 °C,
Low Pressure Steam Condition
องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก )องค์การกหางน(
Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)
Thailand Voluntary Emission Reduction Program หน้า6

อุปกรณ์หลักของโรงไฟฟ้า จานวน กาลังการผลิต


LP = 5.604 bar (a), Temp = 285.5 °C,
เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากังหันไอน้า 1 เครื่อง 286.6 MW ต่อเครื่อง
(Steam Turbine Generator)

โรงไฟฟ้ามีกาลังการผลิตรวมทั้งสิ้น 1,505.2 MW โดยจาหน่ายกระแสไฟฟ้าให้กับการไฟฟ้าฝ่าย


ผลิต (กฟผ.) รวม 1,468 MW เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากังหันก๊าซใช้พลังงานความร้อนจากการเผาไหม้
เชื้อเพลิงจากก๊าซธรรมชาติเป็นหลักเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า พลังงานความร้อนที่เหลือจะส่งผ่าน Heat
Recovery Steam Generator (HRSG) เพื่อผลิตไอน้าส่งไปผลิตพลังงานไฟฟ้าที่เครื่องกาเนิดไฟฟ้า
กังหันไอน้าต่อไป น้าร้อนที่เกิดจากการควบแน่นของไอน้าจะถูกป้อนกลับไปหมุนเวียนใช้ใหม่ในเครื่อง
กาเนิดไอน้า ส่วนน้าหล่อเย็นซึ่งมีอุณหภูมิสูงขึ้นจะถูกทาให้เย็นโดยผ่านหอหล่อเย็น (Cooling tower)
ส่วนไอเสียที่เกิดจากการเผาไหม้จะระบายออกทางปล่องระบายของโรงไฟฟ้า นอกจากนี้โรงไฟฟ้ามีการ
ติดตั้งเครื่องยนต์ผลิตไฟฟ้าดีเซลซึ่งมีกาลังการผลิตที่ 565 kW จานวนสองชุด โดยมีการสารองน้ามัน
เชื้อเพลิงดีเซลเพื่อใช้ในกรณีเกิดเหตุขัดข้องที่ไม่สามารถใช้เชื้อเพลิงหลักในการผลิตไฟฟ้าได้เท่านั้น
ทั้งนี้โรงไฟฟ้ามีการทดสอบการใช้เชื้อเพลิงน้ามันดีเซลทุก 2-3 เดือน

ในภาพที่ 2 แสดงกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมโรงไฟฟ้าใน
หนึ่ง Block การผลิต ประกอบด้วยเครื่องจักรและอุปกรณ์หลักคือ เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากังหันก๊าซ (Gas
Turbine Generators) เครื่องผลิตไอน้า (Heat Recovery Steam Generators) เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากังหัน
ไอน้า (Steam Turbine Generator) เครื่องควบแน่น (Condenser) หอหล่อเย็น (Cooling tower) สาหรับ
ขอบเขตในการดาเนินโครงการได้แสดงไว้ในภาพที่ 3

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก )องค์การกหางน(
Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)
Thailand Voluntary Emission Reduction Program หน้า7

ภาพที่ 2 กระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม (ต่อ 1 Block การผลิตของโรงไฟฟ้า)

ระบบที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่ 1 การเปลี่ยนไส้กรองอากาศในระบบกรองอากาศเข้า
ระบบที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่ 2 การเปลี่ยนใบพัดในระบบระบายอากาศของหอหล่อเย็น

ภาพที่ 3 แสดงขอบเขตในการดาเนินโครงการ
องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก )องค์การกหางน(
Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)
Thailand Voluntary Emission Reduction Program หน้า8

เทคโนโลยีและอุปกรณ์หลักที่เกี่ยวข้อง
การพัฒนาโครงการประกอบไปด้วยเทคโนโลยีและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับหน่วยผลิตที่
ดาเนินการปรับปรุงประสิทธิภาพภายในโรงไฟฟ้ามี 2 กิจกรรมดังต่อไปนี้

กิจกรรมที่ 1: การเปลี่ยนไส้กรองอากาศใหม่เป็น Hepa Filter ในระบบกรองอากาศ


กิจกรรมนี้เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนอุปกรณ์ไส้กรองภายในระบบกรองอากาศเข้าของหน่วยผลิต
เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากังหันก๊าซ (Gas turbine) ทั้ง 4 เครื่อง (สาหรับ 2 Block การผลิต) โดยเป็นการ
เปลี่ยนไส้กรองอากาศรุ่นใหม่แบบ Hepa filter – Filter Class E12 มีทั้งหมด 2 รุ่น ซึ่งอุปกรณ์ดังกล่าว
จะช่วยในการกรองฝุ่นในอากาศก่อนเข้าสู่หน่วยการผลิต โดยส่งผลให้การทางานภายในระบบผลิตไฟฟ้า
ของ Gas Turbine มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ช่วยลดการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าได้ เมื่อพิจารณาทั้ง
ระบบการผลิตกิจกรรมการเปลี่ยนไส้กรองอากาศจะช่วยลดปริมาณการใช้เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติของแต่
ละ Block การผลิตได้ประมาณ 0.49%1 เมื่อเทียบกับการใช้ไส้กรองอากาศแบบเดิม

ตารางแสดงรายการอุปกรณ์เครื่องจักร – กิจกรรมที่ 1
ชุดไส้กรองอากาศที่ 1: HEPA Filter
Filter Type: Compact Cassette/V-Bank
Filter Class: E12
Average Efficiency: 99.93% (EN1822)
Initial Pressure drop @3,400 m3/h: 262 Pa
ชุดไส้กรองอากาศที่ 2: HEPA Filter
Filter Type: Compact filter V-Shape+ multi layer
Filter Class: E12
Average Efficiency: 99.5% @MPPS 0.1-0.2 micron
Initial Pressure drop @3,400 m3/h: 340 Pa+/- 15%

ตารางแสดงข้อมูลการลงทุน2สาหรับกิจกรรมที่ 1
ชุดไส้กรองในเครื่องกรองอากาศเข้าของระบบ Gas Turbine 1 unit 19.5 ล้านบาทต่อunit
มูลค่าการลงทุนทั้งหมด 78 ล้านบาท
(พิจารณาจากระบบ Gas Turbine ทั้งหมด 4 units)

กิจกรรมที่ 2: การเปลี่ยนใบพัดในระบบพัดลมระบายอากาศของหอหล่อเย็น
1
อ้างอิงจากการเก็บข้อมูลเปรียบเทียบ Heat Rate ของหน่วยการผลิตของ Gas turbine ที่ใช้ไส้กรองตัวเดิมและการใช้ใส้กรองตัวใหม่ (Hepa filter) ในรายงาน Joint Study and Supply
Agreement by Shinwa Corporation รายละเอียดเพิ่มเติมได้ชี้แจงในหัวข้อ 3 ของภาคผนวก
2
Joint Sturdy and Supply Agreement by Shinwa Corporation
องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก )องค์การกหางน(
Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)
Thailand Voluntary Emission Reduction Program หน้า9

กิจกรรมนี้เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนใบพัด (Fan blade) ในระบบพัดลมระบายอากาศของหอหล่อ


เย็น โดยในแต่ละ Block การผลิตไฟฟ้าประกอบด้วยระบบหอหล่อเย็นจานวน 1 ระบบ ดังแสดงในภาพ
ที่ 2 การดาเนินกิจกรรมนี้จะมีการเปลี่ยนใบพัดในระบบหอหล่อเย็นของทั้งสอง Block การผลิตไฟฟ้า
การเปลี่ยนใบพัดในระบบพัดลมระบายอากาศจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทางานในระบบหอ
หล่อเย็นของโรงไฟฟ้า การปรับปรุงจากกิจกรรมนี้ในแต่ละ Block การผลิตจะมีการเพิ่มจานวนใบพัดจาก
เดิมจานวน 5 Cells เป็น 9 Cells ทั้งนี้การปรับปรุงดังกล่าวจะทาให้ลดปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้า
โครงการอยู่ที่ประมาณ 20.3% (Energy Saving)3 ด้วยการประหยัดพลังงานไฟฟ้าจึงเป็นผลต่อเนื่องที่
ทาให้เกิดการลดการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าจากปริมาณไฟฟ้าที่จะนาไปใช้ในระบบระบายอากาศ
ของหอหล่อเย็นได้ ตารางแสดงรายการอุปกรณ์เครื่องจักรที่ได้ปรับปรุงภายใต้การดาเนินโครงการตาม
ข้อมูลด้านล่างนี้

ตารางแสดงรายการอุปกรณ์เครื่องจักร – กิจกรรมที่ 2 (ต่อ Block การผลิตไฟฟ้า)


Fan Blade: 9 Cells
Manufacturer: Hudson (เบื้องต้น)
Fan Speed (rpm): 95
Design air flow (m3/s): 638.65
Power consumption (kW) 138 (ต่อ Block)

ตารางแสดงข้อมูลการลงทุนสาหรับกิจกรรมที่ 2
1 Block การผลิตไฟฟ้า 1 Cell = 1.459 ล้านบาท
9 Cells = 13.13 ล้านบาท
มูลค่าการลงทุนทั้งหมด 26.26 ล้านบาท
(2 Blocks การผลิตไฟฟ้า)

1.3 การนับซ้า
โครงการยังไม่เคยได้รับการรับรองปริมาณก๊าซเรือนกระจกจากมาตรฐานอื่น กิจกรรมของโครงการจึงไม่
ซ้าซ้อนกับกิจกรรมการลดก๊าซเรือนกระจกจากมาตรฐานอื่นๆ

บริเวณพื้นที่เดียวกันมีโครงการลดก๊าซเรือนกระจกอื่นที่ดาเนินกิจกรรมลดก๊าซเรือนกระจกลักษณะ
เดียวกัน
 ไม่มี

3
Feasibility Study for opportunity from change new fan assembly by Turbo-mech (Thailand) co., Ltd.
องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก )องค์การกหางน(
Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)
Thailand Voluntary Emission Reduction Program หน้า10

 มี ชื่อโครงการ .
ชื่อกลไก/มาตรฐานที่ขึ้นทะเบียนโครงการ.
ช่วงระยะเวลาที่มีการขอรับรองปริมาณคาร์บอนเครดิต.

1.4 การพิสูจน์การดาเนินงานเพิ่กจากการดาเนินงานตากปกติ )Additionality)


 ไม่ต้องพิสูจน์การดาเนินงานเพิ่มจากการดาเนินงานตามปกติ
เนื่องจากโครงการนี้ถือเป็นโครงการขนาดเล็กมีเป้าหมายการลดการใช้พลังงานไม่เกิน 60 GWh
ต่อปี จากการดาเนินงานโครงการมีการลดการใช้พลังงานประมาณ 43.82 GWhต่อปี รายละเอียดการ
ประเมินการลดการใช้พลังงานได้ชี้แจงไว้ในหัวข้อ 3 ของภาคผนวก

1.5 สิทธิในการใง้ประโยงน์ที่ดินของโครงการ (เฉพาะโครงการประเภทป่าไม้และพื้นที่สีเขียว และ


ประเภทเกษตร)
หัวข้อนี้ไม่เกี่ยวข้องกับโครงการ

ส่วนที่ 2 ระเบียบวิธีการลดก๊าซเรือนกระจก

2.1 ระเบียบวิธีการลดก๊าซเรือนกระจกที่ใง้
ระเบียบวิธีการลดก๊าซเรือนกระจกที่ใช้สาหรับโครงการนี้คือ
T-VER-METH-EE-06 Version 02 การเพิ่มประสิทธิภาพพลังงานของโรงไฟฟ้า

2.2 เงื่อนไขของกิจกรรกโครงการ
การดาเนินโครงการเป็นไปตามข้อกาหนดและเงื่อนไขภายใต้ ระเบียบวิธีการลดก๊าซเรือนกระจก
T-VER-METH-EE-06 Version 02 การเพิ่มประสิทธิภาพพลังงานของโรงไฟฟ้า ดังนี้

เงื่อนไขของกิจกรรกโครงการ เหตุผลของโครงการ
1. เป็นโรงไฟฟ้ าที่ใ ช้เ ชื้ อ เพลิ งฟอสซิล (Fossil โรงไฟฟ้าแก่งคอย 2 เป็นโรงไฟฟ้าพลังความร้อน
Fuel Power Plants) ร่วม (Combined Cycle Power Plant) ใช้เชื้อเพลิง
ก๊าซธรรมชาติเป็นหลักในกระบวนการผลิตไฟฟ้า
2. เป็นโรงไฟฟ้าที่มีการเชื่อมต่อกับระบบสายส่ง ไฟฟ้าที่ผลิตได้จากโรงไฟฟ้าแก่งคอย 2 ได้
(On-grid) จาหน่ายให้กับระบบสายส่งภายใต้การกากับการ
ดูแลของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
3. กิจกรรมของโครงการเป็นการปรับปรุงระบบ  กิจกรรมที่เกิดขึ้นทั้งสองกิจกรรมภายใน
ผลิตพลังงานไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าที่ดาเนินการ โครงการได้ดาเนินการภายในโรงไฟฟ้า

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก )องค์การกหางน(
Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)
Thailand Voluntary Emission Reduction Program หน้า11

เงื่อนไขของกิจกรรกโครงการ เหตุผลของโครงการ
อยู่ (Existing Power Plant) พิจารณาเฉพาะ แก่งคอย 2 ซึ่งได้ก่อตั้งตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550
กิจกรรมการปรับปรุงประสิทธิภาพพลังงานที่ ดังนั้นจึงไม่ใช่การดาเนินงานในระบบผลิต
ต้องมีการลงทุน (ไม่พิจารณากิจกรรมการ ไฟฟ้าใหม่
บารุงรักษา หรือมาตรการจัดการดูแลทั่วไปที่  การดาเนินการปรับปรุงประสิทธิภาพ
เป็นการดาเนินงานปกติหรือดาเนินการเป็น โรงไฟฟ้าจากกิจกรรมการเปลี่ยนไส้กรอง
ประจา) อากาศในระบบระบายอากาศของหน่วย
ผลิต Gas Turbine และการเปลี่ยนใบพัด
ในระบบหอหล่อเย็นมีการใช้งบประมาณ
ในการลงทุนประมาณ 104.26 ล้านบาท
 ข้อมูลเชื้อเพลิงและพลังงานไฟฟ้าที่ผลิต
ได้จะอ้างอิงจากข้อมูลของโรงไฟฟ้า พ.ศ.
2553 เนื่องจากกิจกรรมการเปลี่ยน Hepa
filter ได้เริ่มดาเนินการตั้งแต่ กุมภาพันธ์
2554 สาหรับกิจกรรมการเปลี่ยนใบพัดใน
หอหล่อเย็นจะเริ่มดาเนินการภายในเดือน
ตุลาคม 2559

2.4 ข้อกูลกรณีฐาน
ลักษณะการดาเนินงานก่อนมีการดาเนินโครงการได้จาแนกตามกิจกรรมการปรับปรุง
ประสิทธิภาพหน่วยผลิตของทั้งสองกิจกรรมภายใต้โครงการนี้
กิจกรรมที่ 1: การเปลี่ยนไส้กรองอากาศใหม่เป็น Hepa Filter ในระบบกรองอากาศ
กิจกรรมก่อนการดาเนินโครงการ
ไส้กรองอากาศแบบเดิมที่ใช้ในระบบกรองอากาศเข้าของหน่วยผลิตเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
กังหันก๊าซ (Gas Turbine) มีประสิทธิภาพการทางานที่ต่าลง ไส้กรองอากาศแบบเดิม
คือ filter class type F8 ทั้งนี้ผลจากการศึกษาเบื้องต้นพบว่าการผลิตไฟฟ้าในหน่วย
ผลิตเครื่องจักรไฟฟ้ากังหันก๊าซ (Gas Turbine) ที่ใช้ไส้กรองอากาศรุ่นใหม่ (filter class
type E12) มีประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้าที่สูงกว่าหน่วยผลิตที่ใช้ไส้กรองอากาศรุ่น
เดิม โดยเปรียบเทียบค่า Heat Rate (kJ/kWh) ของหน่วยการผลิตไฟฟ้า Gas Turbine
สองหน่วย (GT21 และ GT22) ซึ่งมีค่าลดลงประมาณ 0.49%4 ด้วยค่า Heat Rate ที่

4
อ้างอิงจากการประเมินค่า %Heat Rate Reduction ของหน่วยผลิตไฟฟ้า Gas Turbine เนื่องจาการดาเนินกิจกรรมที่ 1 รายละเอียดได้ชี้แจงในหัวข้อ 3.1 ของ
ภาคผนวก
องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก )องค์การกหางน(
Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)
Thailand Voluntary Emission Reduction Program หน้า12

ลดลงจึงส่งผลให้มีการใช้ก๊าซธรรมชาติในหน่วยผลิตลดลงเช่นเดียวกัน ดังนั้นการ
เปลี่ยนอุปกรณ์ไส้กรองอากาศรุ่นใหม่ที่มีประสิทธิภาพดีกว่าจะมีส่วนช่วยในการลดการ
ใช้เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติในหน่วยผลิตเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากังหันก๊าซ (Gas Turbine)
ได้
กิจกรรมที่ 2: การเปลี่ยนใบพัดในระบบพัดลมระบายอากาศของหอหล่อเย็น
กิจกรรมก่อนการดาเนินโครงการ
ชนิดใบพัดรุ่นเดิมในระบบระบายอากาศของหอหล่อเย็นได้ดาเนินการใช้งานมาตั้งแต่
ก่อตั้งโรงไฟฟ้าซึ่งประสิทธิภาพการทางานเมื่อเทียบกับค่าออกแบบพบว่าลดลง จานวน
ใบพัดที่ติดตั้งเดิมมีทั้งหมด 5 Cells ต่อ Block การผลิตไฟฟ้า นอกจากนี้ปริมาณการใช้
ไฟฟ้าของระบบที่ใช้ใบพัดชุดเดิมคือ 173.14 kW

ตามระเบียบวิธีฯ การคานวณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในกรณีฐาน จะพิจารณาจากดัชนีชี้วัด


ประสิทธิภาพพลังงาน หรือ Energy Efficiency Indicator (EEI) ได้แก่ ค่าความสิ้นเปลืองเชื้อเพลิง
จาเพาะ )Specific Fuel Consumption: SFC) และค่าการใช้พลังงานจาเพาะ )Specific Energy
Consumption: SEC) ของระบบเดิม รายละเอียดการคานวณที่เกี่ยวข้องกับ Baseline ได้ชี้แจงในหัวข้อ
3.1 กิจกรรมในกรณีฐานได้แสดงไว้ในภาพที่ 4

ภาพที่ 4 กิจกรรมโครงการในกรณีฐาน

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก )องค์การกหางน(
Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)
Thailand Voluntary Emission Reduction Program หน้า13

2.5 กิจกรรกการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่นากาใง้คานวณ

งนิดของก๊าซ
แหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจก รายละเอียดของกิจกรรกโครงการ
เรือนกระจก
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกรณีฐาน (Baseline Emission)
1. การผลิตพลังงานไฟฟ้าจาก CO2 การผลิตพลังงานไฟฟ้าจากก๊าซธรรมชาติ และ
เชื้อเพลิงฟอสซิล การใช้เชื้อเพลิงดีเซลในโครงการ
2. การใช้พลังงานไฟฟ้าจากระบบ CO2 การใช้พลังงานไฟฟ้าจากระบบสายส่ง
สายส่ง
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการดาเนินโครงการ (Project Emission)
1. การผลิตพลังงานไฟฟ้าจาก CO2 การผลิตพลังงานไฟฟ้าจากก๊าซธรรมชาติ และ
เชื้อเพลิงฟอสซิล การใช้เชื้อเพลิงดีเซลในโครงการ
2. การใช้พลังงานไฟฟ้าจากระบบ CO2 การใช้พลังงานไฟฟ้าจากระบบสายส่ง
สายส่ง
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกนอกขอบเขตโครงการ (Leakage Emission)
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกนอก ไม่เกี่ยวข้อง -
ขอบเขตโครงการ

ส่วนที่ 3การคานวณการดูดกลับ/การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

3.1 การคานวณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกรณีฐาน )Baseline Emission)


การคานวณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกรณีฐานภายใต้ระเบียบวิธีการฯ T-VER-METH-EE-06
สามารถพิจารณาดังสมการต่อไปนี้

BEy = BEEG,FC,y + BEEG,EC,y (Eq.1)


= 3,391,089 (tCO2/year)
โดยที่
BEy = ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกรณีฐาน ในปี y (tCO2/year)
BEEG,FC,y = ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการผลิตพลังงานไฟฟ้าด้วยเชื้อเพลิงฟอสซิล
ในปี y (tCO2/year)
BEEG,EC,y = ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานไฟฟ้า ในปี y (tCO2/year)

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก )องค์การกหางน(
Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)
Thailand Voluntary Emission Reduction Program หน้า14

I – การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการผลิตพลังงานไฟฟ้าด้วยเชื้อเพลิงฟอสซิล

การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการผลิตพลังงานไฟฟ้าของโครงการมีการพิจารณาการใช้เพลิงฟอสซิลใน
โครงการคือก๊าซธรรมชาติ (เชื้อเพลิงหลัก) และดีเซล (เชื้อเพลิงสารอง)

BEEG,FC,y = EGPJ,y x (SFCBL,i,y x (NCVi,y x 10-6) x EFCO2,i, ) x 10-3 (Eq.2)


= 3,389,761 (tCO2/year)
พารามิเตอร์ ความหมาย ค่าที่ใช้
EGPJ,y = ปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้ 4,351,863,600 4,604,541,600
สุทธิจากการดาเนินโครงการในปี y (สาหรับ block1) (สาหรับ block2)
(kWh/year)
พารามิเตอร์สาหรับคานวณในการใช้เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติ Block-1 Block-2
SFCBL,NG,y = ค่าความสิ้นเปลืองเชื้อเพลิง 0.00000712 0.00000716
จาเพาะ (Specific Fuel
Consumption: SFC) ของ
เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติ
สาหรับกรณีฐาน ในปี y
(MSCF/kWh)
NCVNG,y = ค่าความร้อนสุทธิ (Net Calorific 944 944
Value) ของเชื้อเพลิงก๊าซ
ธรรมชาติในปี y (MJ/MSCF)
EFCO2,NG = ค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจาก 56,100 56,100
การเผาไหม้เชื้อเพลิงก๊าซ
ธรรมชาติในปี y ตามที่ อบก.
กาหนด (kgCO2/TJ)
พารามิเตอร์สาหรับคานวณในการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล
SFCBL,die,y = ค่าความสิ้นเปลืองเชื้อเพลิง 0.000049
จาเพาะ (Specific Fuel
Consumption: SFC) ของ
เชื้อเพลิงดีเซล
สาหรับกรณีฐาน ในปี y

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก )องค์การกหางน(
Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)
Thailand Voluntary Emission Reduction Program หน้า15

(Liter/kWh)
NCVdie,y = ค่าความร้อนสุทธิ (Net Calorific 36.44
Value) ของเชื้อเพลิงดีเซลในปี y
(MJ/Liter)
EFCO2,die = ค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจาก 74,100
การเผาไหม้เชื้อเพลิงดีเซลในปี y
ตามที่ อบก. กาหนด (kgCO2/TJ)

การกาหนดค่าค่าความสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงจาเพาะ (Specific Fuel Consumption: SFCBL,i,y)


1. SFC สาหรับเชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติ
การกาหนดค่า SFCBL,NG,y ได้เลือกแนวทางที่ 2 ตาม T-VER-METH-EE-06 เวอร์ชั่น 2 โดย
การอ้างอิงข้อมูลในอดีต (Historical data) สาหรับการผลิตไฟฟ้าก่อนเริ่มโครงการคือปี พ.ศ. 2553 เพื่อ
สร้างแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ (Mathematical model) แสดงความสัมพันธ์ระหว่างค่า SFC และค่า
%Loadการผลิตไฟฟ้า ในการกาหนดค่า SFC จะพิจารณาจากค่า Heat Rate (kJ/kWh) ของแต่ละ
Block การผลิตไฟฟ้าในโครงการซึ่งแสดงถึงปริมาณการใช้ก๊าซธรรมชาติต่อการผลิตไฟฟ้าในแต่ละวัน
ทัง้ นี้สมการทางคณิตศาสตร์ที่เป็นผลจากการสร้างแบบจาลองจะถูกนาไปใช้อ้างอิงการกาหนดค่า
SFCBL,NG,y ในหน่วย MSCF/kWh เพื่อนาไปคานวณหาค่า BEEG,NG,y ในช่วงการติดตามตรวจสอบข้อมูล
โครงการต่อไป ทั้งนี้ข้อมูลอดีตและกราฟแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลได้แสดงไว้ในหัวข้อ 1 ของ
ภาคผนวก โดยได้นามาพิจารณาในการกาหนดค่าดังต่อไปนี้

พารามิเตอร์ ความหมาย ค่าที่ใช้


Block – 1 Block – 2
SFCBL,NG,y =ค่าความสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงจาเพาะของก๊าซ 0.00000712 0.00000716
ธรรมชาติสาหรับกรณีฐาน ในปี y
(MSCF/kWh)
FCBL,NG,y = ปริมาณการใช้เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติ 30,695,570 32,862,542
สาหรับกรณีฐาน ในปี y (MSCF/year)
EGBL,y = ปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้สุทธิในช่วง 4,351,863,600 4,604,541,600
กรณีฐาน ในปี y (kWh/year)
หมายเหตุ: การกาหนดค่า SFCBL,NG,y แสดงไว้ในหัวข้อ 1 ภาคผนวกของรายงาน

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก )องค์การกหางน(
Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)
Thailand Voluntary Emission Reduction Program หน้า16

2. SFC สาหรับเชื้อเพลิงดีเซล
สาหรับค่า SFCBL,die, y ได้เลือกแนวทางที่ 1 ตาม T-VER-METH-EE-06 เวอร์ชั่น 2 มีการใช้ข้อมูลที่
มีการใช้เชื้อเพลิงในอดีตคือปี 2553 รายละเอียดข้อมูลอดีตได้แสดงไว้ในหัวข้อ 2 ของภาคผนวก โดย
กาหนดค่าดังต่อไปนี้

SFCBL,die, y = FCBL,die,y / EGBL,y (Eq.3)


พารามิเตอร์ ความหมาย ค่าที่ใช้
SFCBL,die,y = ค่าความสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงจาเพาะของดีเซลสาหรับ 0.000049
กรณีฐาน ในปี y (liter/kWh)
FCBL,die,y = ปริมาณการใช้เชื้อเพลิงดีเซลสาหรับกรณีฐาน ในปี y 440,746
(liter/year)
EGBL,y = ปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้สุทธิในช่วงกรณีฐาน 8,956,405,200
ในปี y (kWh/year)
หมายเหตุ: FCBL,die,y พิจารณาจากปริมาณการใช้เชื้อเพลิงดีเซลในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับปริมาณไฟฟ้า
ที่ผลิตได้สุทธิ คือ การทดสอบระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเชื้อเพลิงดีเซลโดยการสั่งการจากการไฟฟ้าฝ่ายผลิต
(FSWO)

II – การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานไฟฟ้า

พิจารณาจากสมการต่อไปนี้
BEEG,EC, y = EGPJ,y x (SECBL,aux,y x EFelec x 10-3) (Eq.4)
= 1,329 (tCO2/year)
พารามิเตอร์ ความหมาย ค่าที่ใช้
EGPJ,y = ปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้สุทธิจากการดาเนิน 8,956,405,200
โครงการ ในปี y (kWh/year)
SECBL,aux,y = ค่าการใช้พลังงานจาเพาะของกรณีฐาน ในปี y 0.0002
(kWh/kWh)
EFelec = ค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการผลิตพลังงาน 0.5897
ไฟฟ้า (tCO2/MWh)

การกาหนดค่าค่าการใช้พลังงานจาเพาะ (Specific Energy Consumption: SECBL,aux,y)


SECBL,aux,y = ECBL,y / EGBL,y (Eq.5)

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก )องค์การกหางน(
Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)
Thailand Voluntary Emission Reduction Program หน้า17

พารามิเตอร์ ความหมาย ค่าที่ใช้


ECBL,y = ปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าในช่วงกรณีฐานในปี y 2,254,300
(kWh/year)
EGBL,y = ปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้สุทธิในช่วงกรณีฐาน 8,956,405,200
ในปี y (kWh/year)

3.2 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการดาเนินโครงการ )Project Emission)


การคานวณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการดาเนินโครงการภายใต้ระเบียบวิธีการฯ T-VER-
METH-EE-06 สามารถพิจารณาดังสมการต่อไปนี้
PEy = PEFF,y + PEEL,y (Eq.6)
= 3,358,879 (tCO2/year)
โดยที่
PEy = ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกรวมจากการดาเนินโครงการ ในปี y (tCO2/year)
PEFF,y = ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลในการดาเนินโครงการ
ในปี y (tCO2/year)
PEEL,y = ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานไฟฟ้าในการดาเนินโครงการ
ในปี y (tCO2/year)

I – การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลในการดาเนินโครงการ
พิจารณาการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลในระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าประกอบไปด้วยเชื้อเพลิงหลัก (ก๊าซ
ธรรมชาติ) และเชื้อเพลิงสารอง (ดีเซล)
PEFF,y = (FCPJ,i,y x NCVi,y x EFCO2,i) x 10-3 (Eq.7)
= 3,357,550 (tCO2/year)
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกเนื่องจากเชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติ
พารามิเตอร์ ความหมาย ค่าที่ใช้
Block 1 Block 2
FCPJ,NG,y = ปริมาณการใช้เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติสาหรับ 30,544,048 32,701,143
การดาเนินโครงการ ในปี y (MSCF/year)
NCVNG,y = ค่าความร้อนสุทธิ (Net Calorific Value) ของ 944 944
เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติในปี y (MJ/MSCF)
EFCO2,NG = ค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการเผาไหม้ 56,100 56,100
เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติในปี y ตามที่ อบก.
กาหนด (kgCO2/TJ)
องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก )องค์การกหางน(
Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)
Thailand Voluntary Emission Reduction Program หน้า18

การปล่อยก๊าซเรือนกระจกเนื่องจากเชื้อเพลิงดีเซล
พารามิเตอร์ ความหมาย ค่าที่ใช้
FCPJ,,die,y = ปริมาณการใช้เชื้อเพลิงดีเซลสาหรับการดาเนิน 2,491,472
โครงการ ในปี y (Liter/year)
NCVdie,,y = ค่าความร้อนสุทธิ (Net Calorific Value) ของเชื้อเพลิง 36.44
ดีเซลในปี y (MJ/Liter)
EFCO2,die = ค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการเผาไหม้เชื้อเพลิง 74,100
ดีเซลในปี y ตามที่ อบก. กาหนด (kgCO2/TJ)
หมายเหตุ: FCPJ,,die,y พิจารณาจากกิจกรรมการใช้เชื้อเพลิงดีเซลดังนี้ 1.Commissioning/maintenance,
2. การเดินเครื่องยนต์ปั่นไฟฟ้าสารอง SDG 3. การทดสอบหัวจ่ายปั้มดับเพลิง (Fire Pump Test)

II – การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานไฟฟ้า
PEEL,y = (ECPJ,y x 10-3) x EFelec (Eq.8)
= 1,329 (tCO2/year)
พารามิเตอร์ ความหมาย ค่าที่ใช้ หน่วย
ECPJ,y = ปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าในการดาเนิน 2,254,300 (kWh/year)
โครงการ ในปี y
EFElec = ค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการผลิต 0.5897 (kgCO2/MJ)
พลังงานไฟฟ้า (tCO2/MWh)

3.3 การคานวณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกนอกขอบเขตโครงการ (Leakage Emission)

ไม่มีการดาเนินงานที่เกี่ยวข้องภายใต้ระเบียบวิธีการฯ T-VER-METH-EE-06

3.4 การคานวณการลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ได้จากโครงการ (Emission Reduction)


การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ได้จากโครงการสามารถคานวณได้ดังนี้
ERy = BEy – PEy – LEy
= 3,391,089 (tCO2/year) - 3,358,879 (tCO2/year) – 0
= 32,210 (tCO2/year)
โดยที่
องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก )องค์การกหางน(
Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)
Thailand Voluntary Emission Reduction Program หน้า19

ERy = การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในปี y (tCO2/year)


BEy = การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกรณีฐานในปี y (tCO2/year)
PEy = การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการดาเนินโครงการในปี y (tCO2/year

ดังนั้นโครงการสามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ 32,210 (tCO2/year)

3.5 สรุปปริกาณก๊าซเรือนกระจกที่คาดว่าจะลดได้
3.5.1 วันที่เริ่มเดินระบบหรือดาเนินกิจกรรมของโครงการที่ก่อให้เกิดการลดก๊าซเรือนกระจก
วันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

3.5.2 วันที่เริ่มคิดเครดิต
วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

3.5.3 ระยะเวลาการคิดเครดิต
7 ปี

ปริมาณ การปล่อย ปริมาณการปล่อย


ปริมาณ การปล่อย ปริมาณการลดการ
ก๊าซเรือนกระจก ก๊าซเรือนกระจก
ปี ก๊าซเรือนกระจก ปล่อยก๊าซเรือน
จากการดาเนิน นอกขอบเขต
จากกรณีฐาน กระจก
โครงการ โครงการ
2558 1,695,545 1,679,440 0 16,105
2559 3,391,089 3,358,879 0 32,210
2560 3,391,089 3,358,879 0 32,210
2561 3,391,089 3,358,879 0 32,210
2562 3,391,089 3,358,879 0 32,210
2563 3,391,089 3,358,879 0 32,210
2564 3,391,089 3,358,879 0 32,210
2565 1,695,545 1,679,440 0 16,105
รวม
23,737,623 23,512,153 0 225,470
(tCO2)
จานวนปี 7 ปี
เฉลี่ยปีละ
2,967,203 2,939,019 0 32,210
(tCO2/y)
องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก )องค์การกหางน(
Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)
Thailand Voluntary Emission Reduction Program หน้า20

ส่วนที่ 4 แผนการติดตากผลการดาเนินโครงการ

4.1 สรุปแนวทางการติดตากผล
(1). การจัดการการติดตากผล
โครงการจะมีการดาเนินงานภายใต้หน้าที่ความรับผิดชอบของทีมงานบริษัท กัลฟ์ เพาเวอร์ เจเนอเรชั่น
จากัด ทีมงานที่ได้รับมอบหมายจะมีการดาเนินงานเพื่อให้เป็นไปตามแผนงานการติดตามผลการดาเนิน
โครงการ T-VER ที่มีการติดตามข้อมูลพารามิเตอร์ที่แจ้งไว้ในหัวข้อ 4.2 ผังองค์กรผู้รับผิดชอบได้แสดง
ไว้ในภาพที่ 5 ด้านล่างนี้

การติดตั้งเครื่องมืออุปกรณ์ตรวจวัดต่างๆ จะมีการดาเนินการโดยเป็นไปตามคาแนะนาของผู้ผลิต การ


บันทึกข้อมูลจะมีการดาเนินงานผ่านระบบจัดเก็บข้อมูล (Data logger) รวมถึง เอกสารบันทึกข้อมูล (log
sheet) เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลสารอง ข้อมูลการส่งไฟฟ้าและใช้ไฟฟ้าจากการไฟฟ้าจะมีการอ้างอิงจาก
มิเตอร์ไฟฟ้าซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค อุปกรณ์เครื่องมือตรวจวัดที่เกี่ยวข้องจะ
มีการบารุงรักษาตามแผนการดาเนินงานของโครงการ

ภาพที่ 5 แสดงผังองค์กรโรงไฟฟ้าแก่งคอย 2

(2). ขั้นตอนการจัดเก็บข้อกูล
การเก็บข้อมูลโครงการจะมีการดาเนินงานโดยอยู่ภายใต้หน้าที่รับผิดชอบของหน่วยผลิตไฟฟ้า
(Operation) โดยภายในหน่วยนี้ประกอบด้วยการจัดสรรการผลิตแบ่งเป็นจานวนทั้งหมด 5 กะ มี
พนักงานเดินระบบ (Operators) 6 คนต่อกะ โดยพนักงานที่รับผิดชอบในแต่ละกะจะมีการเดินระบบ
องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก )องค์การกหางน(
Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)
Thailand Voluntary Emission Reduction Program หน้า21

ตรวจสอบและเก็บบันทึกข้อมูลโครงการตามแผนงานที่กาหนดไว้ภายใต้การควบคุมของหัวหน้ากะ
(Shift leader) จากนั้นจะมีการรายงานผลการดาเนินงานรวมถึงการบันทึกข้อมูลให้กับผู้จัดการหน่วย
ผลิต (Operation manager) โดยผู้จัดการโรงไฟฟ้า (Plant Manager) จะเป็นผู้ควบคุมดูแลตรวจสอบผล
การดาเนินงานจากผู้จัดการหน่วยผลิต การบันทึกจัดเก็บข้อมูลจะมีการเก็บรวบรวมหลักฐานต่างๆ ที่
เกี่ยวข้องกับโครงการทั้งในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ และเอกสาร โดยการจัดเก็บเอกสารหลักฐานจะเก็บไว้
เป็นระยะเวลาเพิ่มเติมสองปีจากระยะเวลาการคิดเครดิตโครงการ

(3). การรับประกันคุณภาพ/การควบคุกคุณภาพ )QA/QC)


การดาเนินงานของทีมงานโครงการจะมีการติดตามตรวจสอบ รวมถึงขั้นตอนบันทึกข้อมูลโครงการ
เพื่อให้เป็นไปตามแผนงานที่วางไว้ หน้าที่หลักสาหรับผู้รับผิดชอบในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ (QA/QC) จะ
ดาเนินการผ่านผู้จัดการหน่วยผลิตเพื่อให้ข้อมูลตรวจวัดสอดคล้อง แม่นยา และเป็นที่น่าเชื่อถือตามแผน
เป้าหมายที่ได้กาหนดไว้

(4). ผังจุดตรวจวัด พร้อกข้อกูล/ตัวแปรที่จัดเก็บ

ภาพที่ 6 แสดงผังจุดตรวจวัดของโครงการ

หมายเลข พารามิเตอร์
1 FCPJ,i,y
2 ECPJ,y

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก )องค์การกหางน(
Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)
Thailand Voluntary Emission Reduction Program หน้า22

3 EGPJ,y

4.2 พารากิเตอร์ที่ไก่ต้องตรวจวัด

พารากิเตอร์ EFelec
ค่าที่ใง้ 0.5897
หน่วย tCO2/MWh
ควากหกาย ค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการผลิตพลังงานไฟฟ้า
แหล่งข้อกูล รายงานผลการศึกษาค่าสัมประสิทธิ์การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการผลิต
พลังงานไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2557 โดย อบก.

พารากิเตอร์ NCVNG,y
ค่าที่ใง้ 944
หน่วย MJ/MSCF
ควากหกาย ค่าความร้อนสุทธิ (Net Calorific Value) ของก๊าซธรรมชาติในปี y
แหล่งข้อกูล ค่าความร้อนสุทธิของเชื้อเพลิงฟอสซิลจากการตรวจวัดของโครงการ

พารากิเตอร์ EFCO2,NG
ค่าที่ใง้ 56,100
หน่วย kgCO2/TJ
ค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลประเภท
ควากหกาย
ก๊าซธรรมชาติ ในปี y
แหล่งข้อกูล ตารางที่ 1.4 2006 IPCC Guideline for National GHG Inventories

พารากิเตอร์ NCVdie,y
ค่าที่ใง้ 36.44
หน่วย MJ/Liter
ควากหกาย ค่าความร้อนสุทธิ (Net Calorific Value) ของดีเซลในปี y
องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก )องค์การกหางน(
Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)
Thailand Voluntary Emission Reduction Program หน้า23

ค่าความร้อนสุทธิของเชื้อเพลิงฟอสซิลจากใบรับรองการวิเคราะห์
แหล่งข้อกูล
(Certificate of analysis) ออกโดยผู้ผลิตเชื้อเพลิง (PTT PCL.)

พารากิเตอร์ EFCO2,die
ค่าที่ใง้ 74,100
หน่วย kgCO2/TJ
ค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลประเภท
ควากหกาย
น้ามันดีเซลในปี y
แหล่งข้อกูล ตารางที่ 1.4 2006 IPCC Guideline for National GHG Inventories

พารากิเตอร์ EGBL,y
Block 1 = 4,351,863,600
ค่าที่ใง้
Block 2 = 4,604,541,600
หน่วย kWh/year
ควากหกาย ปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้สุทธิในช่วงกรณีฐาน ในปี y
แหล่งข้อกูล รายงานการตรวจวัดข้อมูลในอดีตปี 2553

พารากิเตอร์ FCBL,NG, y
Block 1 = 30,659,570
ค่าที่ใง้
Block 2 = 32,862,542
หน่วย MSCF/year
ควากหกาย ปริมาณการใช้เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติ สาหรับกรณีฐาน ในปี y
แหล่งข้อกูล รายงานปริมาณการใช้เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติในอดีต ข้อมูลปี 2553

พารากิเตอร์ FCBL,die, y
ค่าที่ใง้ 440,746
หน่วย Liter/year
ควากหกาย ปริมาณการใช้เชื้อเพลิงดีเซล สาหรับกรณีฐาน ในปี y
องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก )องค์การกหางน(
Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)
Thailand Voluntary Emission Reduction Program หน้า24

แหล่งข้อกูล รายงานปริมาณการใช้เชื้อเพลิงดีเซลในอดีต ข้อมูลปี 2553

พารากิเตอร์ ECBL,y
ค่าที่ใง้ 2,254,300
หน่วย kWh/year
ควากหกาย ปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าในช่วงกรณีฐาน ในปี y
อ้างอิงจากปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าในใบแจ้งหนี้จากการไฟฟ้า ข้อมูลปี
แหล่งข้อกูล
2553

4.3 พารากิเตอร์ที่ต้องตรวจวัด

พารากิเตอร์ EGPJ,y
หน่วย kWh/year
ควากหกาย ปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้สุทธิจากการดาเนินโครงการ ในปี y
แหล่งข้อกูล รายงานการตรวจวัด
ตรวจวัดโดย kWh Meter และตรวจวัดต่อเนื่องตลอดช่วงของการติดตาม
วิธีการตรวจวัด
ผล โดยรายงานข้อมูลที่มีความละเอียดเป็นรายเดือน

พารากิเตอร์ ECPJ,y
หน่วย kWh/year
ควากหกาย ปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าในการดาเนินโครงการ ในปี y
แหล่งข้อกูล รายงานการตรวจวัด
ตรวจวัดโดย kWh Meter และตรวจวัดต่อเนื่องตลอดช่วงของการติดตาม
วิธีการตรวจวัด
ผล โดยรายงานข้อมูลที่มีความละเอียดเป็นรายเดือน

พารากิเตอร์ FCPJ,NG,y
หน่วย MSCF/year

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก )องค์การกหางน(
Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)
Thailand Voluntary Emission Reduction Program หน้า25

ควากหกาย ปริมาณการใช้เชื้อก๊าซธรรมชาติสาหรับการดาเนินโครงการ ในปี y


แหล่งข้อกูล รายงานปริมาณการใช้เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติ
วิธีการตรวจวัด บันทึกการใช้เชื้อเพลิง โดยรายงานข้อมูลที่มีความละเอียดเป็นรายเดือน
หกายเหตุ การกาหนดค่า FCPJ,NG,y พิจารณาตามหลักเกณฑ์การผลิตไฟฟ้าสุทธิจาก
โครงการเพื่อส่งเข้าสู่ระบบสายส่งตามโหลดการผลิตขั้นต่าที่ 200 MW ทั้งนี้
เพื่อให้สอดคล้องกับชุดข้อมูลจากแบบจาลองทางคณิตศาสตร์
(Mathematical model) ในการกาหนดค่า SFCBL,NG,y ในระหว่างขั้นตอน
การติดตามข้อมูลโครงการ

พารากิเตอร์ FCPJ,die,y
หน่วย Liter/year
ควากหกาย ปริมาณการใช้เชื้อดีเซลสาหรับการดาเนินโครงการ ในปี y
แหล่งข้อกูล รายงานปริมาณการใช้เชื้อเพลิงดีเซล
วิธีการตรวจวัด บันทึกการใช้เชื้อเพลิงโดยรายงานข้อมูลที่มีความละเอียดเป็นรายเดือน

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก )องค์การกหางน(
Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)
Thailand Voluntary Emission Reduction Program หน้า26

ภาคผนวก

1. ข้อกูลอดีตสาหรับการกาหนดค่า SFCBL,NG,y ของเงื้อเพลิงก๊าซธรรกงาติ


ตารางแสดงข้อมูลสาหรับการกาหนดค่า SFCBL,NG,y
One Year Historical data - 2010 BLOCK - 1 BLOCK - 2
Parameters: Unit
Net Power Output MWh/year 4,351,863.60 4,604,541.60
%Load % 84.03% 86.55%
Natural gas (NG) MSCF 30,695,570 32,862,542
HR-Math (NG) (kJ/kWh) 6720.78 6766.02
btu/scf 895.13 895.13
LHV (NG) MJ/scf 0.94 0.94
MJ/MSCF 944.41 944.41
Conversion unit kJ/btu 1.055 1.055

scf/kWh 7.12 7.16


SFC - Baseline
MSCF/kWh 0.00000712 0.00000716

Mathematical Models
Block1 HR = 71.924x(%Loadˆ2)+(636.11x (%Load))+7204.5
Block2 HR = 184.48x(%Loadˆ2)-(858.31x%Load)+7370.7

รูปแสดงความสัมพันธ์ของ ข้อมูลอดีตของ Heat Rate (kJ/kWh) กับ %Load การผลิตไฟฟ้า Block 1


ของโรงไฟฟ้าแก่งคอย 2 ในปี พ.ศ. 2553

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก )องค์การกหางน(
Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)
Thailand Voluntary Emission Reduction Program หน้า27

รูปแสดงความสัมพันธ์ของ ข้อมูลอดีตของ Heat Rate (kJ/kWh) กับ %Load การผลิตไฟฟ้า Block 2


ของโรงไฟฟ้าแก่งคอย 2 ในปี พ.ศ. 2553

หกายเหตุ: ในการดาเนินการสร้างแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ (Mathematical model) แสดง


ความสัมพันธ์ระหว่าง Heat Rate (kJ/kWh) กับ % Load การผลิตไฟฟ้า มีการพิจารณาจากชุดข้อมูล
รายวันการผลิตของโรงไฟฟ้าซึ่งประกอบด้วย
o ค่า %Load พิจารณาจากปริมาณไฟฟ้าที่ผลิตได้สุทธิ (MWh) ในแต่ละวันหารด้วย
ชั่วโมงการผลิตต่อวัน โดยประมาณค่าที่ 24 ชั่วโมงต่อวัน และกาลังการผลิตสูงสุดของ
โรงไฟฟ้าที่ 734 MW (ต่อ Block การผลิต)
o ค่า Heat Rate (kJ/kWh) ที่ส่งผลให้เกิดการผลิตไฟฟ้าของแต่ละระบบการผลิต (Block
การผลิต) ช่วงนั้นๆ พิจารณาจากปริมาณก๊าซธรรมชาติที่ใช้ (MSCF ต่อวัน) แปลงเป็น
หน่วยความร้อนซึ่งพิจารณาร่วมกับค่า LHV (btu/scf) หารด้วยปริมาณไฟฟ้าที่ผลิตได้
สุทธิในวันเดียวกัน
เนื่องจากโครงการได้ดาเนินการผลิตภายใต้เงื่อนไขสัญญาการซื้อขายไฟฟ้าที่มีการกาหนดกาลังโหลด
การผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อจ่ายเข้าสู่ระบบสายส่งของการไฟฟ้า (EGAT) ขั้นต่าที่ 200 MW หรือ
เทียบเท่า %Load การผลิตที่ 27.25% ดังนั้นชุดข้อมูลที่สัมพันธ์กับค่าโหลดการผลิตไฟฟ้าที่ต่ากว่า 200
MW จึงไม่นามาใช้ในการสร้างแบบจาลอง ถือว่าปริมาณไฟฟ้าที่ผลิตได้สุทธิเหล่านั้นไม่ได้ถูกส่งเข้าสู่
ระบบสายส่ง รวมถึงปริมาณก๊าซธรรมชาติในช่วงดังกล่าวจึงไม่นามาพิจารณาเพื่อหาค่า Heat Rate

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก )องค์การกหางน(
Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)
Thailand Voluntary Emission Reduction Program หน้า28

2. ข้อกูลอดีตสาหรับการกาหนดค่า SFCBL,die,y ของเงื้อเพลิงดีเซล


ตารางแสดงข้อมูลอดีตการใช้เชื้อเพลิงดีเซล
Commissioning/
2010 **FC_PJ,die,y Maintenance FSWO* SDG Fire pump test
system
Jan 142,947 N/A 142,947 N/A N/A
Feb - N/A N/A N/A N/A
Mar 2,488,516 2,488,516 N/A N/A N/A
Apr 535 N/A N/A 456 79
May 612 N/A N/A 486 126
Jun 75,825 N/A 75,826 N/A N/A
Jul - N/A N/A N/A N/A
Aug 74,037 N/A 74,037 N/A N/A
Sep 861 N/A N/A 681 N/A
Oct - N/A N/A N/A N/A
Nov 148,885 N/A 147,937 948 N/A
Dec - N/A N/A - N/A
Total 2,491,472 2,488,516 440,746 2,571 385
หมายเหตุ:
*การกาหนดค่า FCBL,die,y พิจารณาจากกิจกรรม FSWO ซึ่งปรากฎค่าปริมาณไฟฟ้าที่จ่ายเข้าสู่ระบบ
สายส่งของการไฟฟ้าที่มีกาลังโหลดการผลิตมากกว่า 200 MW ซึ่งเป็นไปตามสัญญาซื้อขายไฟฟ้า
สาหรับการผลิตไฟฟ้าจากกิจกรรม Commissioning/Maintenance System ที่เกิดขึ้นในช่วง มีนาคม
2553 พบว่ามีการจ่ายไฟฟ้าเข้าสู่ระบบสายส่งด้วยกาลังโหลดการผลิตน้อยกว่า 200 MW จึงไม่นามา
พิจารณาร่วมในการกาหนดค่า FCBL,die,y ทั้งนี้เพื่อให้สอดคล้องกับหลักการการกาหนดค่า Net Power
Output ที่เกี่ยวข้องกับ Heat Rate ของแต่ละหน่วยผลิต (Block 1 และ Block 2) ในโครงการดังที่ได้
อธิบายไว้ในหัวข้อ 1 ของภาคผนวก
**การกาหนดค่า FC_PJ,die,y พิจารณาจากกิจกรรม Commissioning/Maintenance System, SDG
และ Fire Pump Test

3. การประเกินการลดการใง้พลังงานของโครงการ
การคานวณเป้าหมายการลดการใช้พลังงานพิจารณาจากทั้งสองกิจกรรมที่ดาเนินการภายใต้
โครงการ T-VER โดยพิจารณาจากการลดการใช้เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติซึ่งเป็นผลเนื่องจากกิจกรรมที่ 1
การเปลี่ยนไส้กรองอากาศใหม่ในระบบกรองอากาศเข้าของหน่วยผลิตไฟฟ้า Gas Turbine และกิจกรรม
ที่ 2 การเปลี่ยนใบพัดใหม่ในระบบระบายอากาศของหอหล่อเย็น ทั้งนีก้ ารประเมินการลดการใช้พลังงาน
จากทั้งสองกิจกรรมนั้นได้มีอ้างอิงข้อมูลจากรายงานการศึกษาเบื้องต้นที่ดาเนินการบริษัทฯ ผู้จัดหา
เทคโนโลยีซึ่งได้เสนอต่อผู้พัฒนาโครงการ โดยมีรายละเอียด ดังนี้

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก )องค์การกหางน(
Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)
Thailand Voluntary Emission Reduction Program หน้า29

3.1 การลดการใช้ก๊าซธรรมชาติเนื่องจากกิจกรรมที่ 1 (การเปลี่ยนไส้กรองอากาศ)


ขั้นตอนที่ 1 การประเมิน Heat Rate Reduction
โครงการได้มีการศึกษาการลดการใช้พลังงานเนื่องจากกิจกรรมที่ 1 การเปลี่ยนไส้กรองอากาศ
รุ่นใหม่ Hepa filter (Class E12) ได้ดาเนินการเปรียบเทียบการผลิตไฟฟ้าของระบบการผลิต Gas
Turbine (GT22) ที่มีการใช้ไส้กรองชุดเดิมในระบบกรองอากาศของระบบผลิตไฟฟ้า Gas Turbine กับ
การผลิตไฟฟ้าของระบบการผลิต Gas Turbine (GT21) ที่มีการใช้ไส้กรองอากาศชุดใหม่ในระบบเดียว
เดียวกัน โดยระบบการผลิตทั้ง GT21 และ GT22 ติดตั้งอยู่ภายในหน่วยผลิตไฟฟ้า Block การผลิต
เดียวกัน ทั้งนี้โครงการได้มีการศึกษาเก็บข้อมูลภายใต้เงื่อนไขการผลิตไฟฟ้าเดียวกันของหน่วยผลิต
GT21 และ GT22 อีกทั้งการเก็บข้อมูลดาเนินการในช่วงระยะเวลาการผลิตเดียวกัน ใช้เวลาศึกษา
ภายใน 3 ปี การศึกษาได้มีการเปรียบเทียบข้อมูล Heat Rate (btu/kWh) ของแต่ละหน่วยผลิต GT เป็น
หลัก เนื่องจากการผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วมจะประเมินประสิทธิภาพการผลิต
ไฟฟ้าโดยการคานึงถึงข้อมูล Heat Rate ของหน่วยผลิต ซึ่งพารามิเตอร์ดังกล่าวจะสามารถสะท้อนการ
ลดการใช้พลังงานเชื้อเพลิงของแต่ละ Block การผลิตของโรงไฟฟ้าได้ ตารางต่อไปนี้ได้แสดงข้อมูล
เปรียบเทียบ Heat Rate ของแต่ละหน่วยผลิต GT ภายใต้ Block การผลิตไฟฟ้าเดียวกัน

ตารางสรุปค่าเฉลี่ยรายปีจากการเปรียบเทียบ Heat Rate ของหน่วยการผลิต GT21 และ GT22 ภายใต้


การผลิตไฟฟ้าสภาวะเดียวกัน
ปีทีศึกษา ปริมาณไฟฟ้า Avg. Heat Rate - HR Avg. Different %Reduction** of HR
ที่ผลิตได้ (btu/kwh)
(MWh) GT21 GT22 HR* Natural Gas
Consumption
(MMBTU)
1st Year 37044 10813.7653 10843.6547 52.9056 1922.19 0.49%
2nd Year 37044 10816.7078 10867.3350 73.6075 2690.40 0.68%
3rd Year 37044 10819.6513 10889.1853 92.5164 3390.79 0.85%
Minimum value of % Reduction – Heat Rate 0.49%
GT21: มีการติดตั้งไส้กรองอากาศ Hepa filter
GT22: มีการติดตั้งไส้กรองอากาศชุดเดิม
Offset (btu/kwh) = 22 (ค่าความต่างเริ่มต้นก่อนการเปรียบเทียบ HR ของแต่ละหน่วยจากการการ
ดาเนินโครงการ Offset = HR เริ่มต้นของ GT21 ลบ HR เริ่มต้นของ GT22)
หกายเหตุ:
* ค่า HR พิจารณาจาก Different of HR = ค่า HR_GT21 ลบ ค่า HR_G22 ลบ ค่าOffset
**%Reduction พิจารณาจากข้อมูลเฉลี่ยรายปี รายละเอียดของการคานวณและชุดข้อมูลดิบได้แสดงไว้
ในรายงานการคานวณ Ex-ante ER Calculation
องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก )องค์การกหางน(
Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)
Thailand Voluntary Emission Reduction Program หน้า30

สรุปขั้นตอนที่ 1: % Reduction of HR ทีใ่ ช้ จะพิจารณาค่าต่าที่สุดเพื่อใช้ในการประเมิน Project


emission reduction ของโครงการ โดยเป็นไปตามหลักความอนุรักษ์ (Conservative) ค่าที่ได้จึงเท่ากับ
0.49% ซึ่งถือเป็นค่าตัวแทนจากกิจกรรมที่1 สามารถนาไปประเมินในการลดการใช้ก๊าซธรรมชาติของ
โครงการได้ทั้งระบบการผลิต Block 1 และ Block 2

ขั้นตอนที่ 2 Energy Saving


ค่า % HR Reduction ในขั้นตอนที่ 1 สามารถนาไปหาค่าปริมาณการลดการใช้ก๊าซธรรมชาติได้
ดังตารางต่อไปนี้
Parameters การผลิตของโรงไฟฟ้าแก่งคอย 2
Block 1 Block 2
HR-(Baseline) (kJ/kwh) 6,720.78 6,766.02
% HR Reduction 0.49% 0.49%
(ภายใต้กิจกรรมที่ 1)
HR Reduction (kJ/kwh) 32.88 33.10
NCVNG,y (MJ/MSCF) 944 944
ก๊าซธรรมชาติที่ลดได้จากโครงการ 151,520 161,396
(NG Saving – MSCF/yr)
FC_BL,NG,y (MSCF/yr) 30,659,570 32,862,542
%NG Reduction 0.49% 0.49%

สรุปขั้นตอนที่ 2 จากการประเมินค่าการลดการใช้ก๊าซธรรมชาติจากค่า Heat Rate ของระบบการผลิต


ไฟฟ้า Block 1 และ Block 2 พบว่าผลจากการดาเนินการกิจกรรมที่ 1 จะช่วยลดก๊าซธรรมชาติในการ
ผลิต สาหรับ Block 1 ได้ประมาณ 151,520 MSCF ต่อปี และสาหรับ Block 2 ได้ประมาณ 161,396
MSCF ต่อปี โดยทั้งสอง Blocks สามารถลดการใช้ก๊าซธรรมชาติในการผลิตไฟฟ้าได้ประมาณ 0.49%

3.2 การลดการใช้ก๊าซธรรมชาติเนื่องจากกิจกรรมที่ 2 (การเปลี่ยนใบพัดในระบบพัดลมระบายอากาศ


ของหอหล่อเย็น)
โครงการได้มีการเปรียบเทียบการเปลี่ยนใบพัดในระบบพัดลมระบายอากาศของหอหล่อเย็นการ
ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงรวมไปถึงการเพิ่มจานวนใบพัดจากเดิม 5 Cells เป็น 9 Cells ต่อ Block การผลิต
ผลจากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะช่วยให้ระบบ Cooling ลดการใช้ไฟฟ้าจากโครงการได้ซึ่งส่งผลให้เกิด
การลดการใช้ก๊าซธรรมชาติในการผลิตไฟฟ้าจากปริมาณไฟฟ้าที่ใช้ในระบบดังกล่าวได้ โดยรายการ
คานวณการลดปริมาณการใช้พลังงานจากกิจกรรมที่ 2 มีดังนี้

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก )องค์การกหางน(
Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)
Thailand Voluntary Emission Reduction Program หน้า31

ตารางแสดงข้อมูลในการประเมินปริมาณการลดการใช้ก๊าซธรรมชาติเนื่องจากกิจกรรมที่ 2
การเปลี่ยนใบพัดในระบบพัด หน่วย การผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าแก่งคอย 2
ระบายอากาศของหอหล่อเย็น Block 1 Block 2
การใช้ไฟฟ้าในระบบเดิม kWh 173.14 173.14
(ใบพัด 5 Cells)
การใช้ไฟฟ้าในระบบใหม่ kWh 138.00 138.00
(ใบพัดใหม่ 9 Cells)*
Energy saving % 20.30% 20.30%
จานวนชั่วโมงการผลิตต่อปี hours/year 8,760 8,760
ปริมาณไฟฟ้าที่ลดได้ kWh 307,826.40 307,826.40
SFCBL,NG,y scf/kWh 7.12 7.16
ปริมาณก๊าซธรรมชาติที่ลดลงได้ MSCF 2.19 2.21
เนื่องจากกิจกรรมที่ 2
*หมายเหตุ: ข้อมูลการใช้ไฟฟ้าในระบบใหม่คือเปลี่ยนใบพัดจานวน 9 Cells อ้างอิงจากการรายงาน
การศึกษาเบื้องต้นโดยผู้จัดหาเทคโนโลยี

3.3 ตารางแสดงการประเมินการลดการใช้พลังงานจากโครงการ
พารากิเตอร์ หน่วย หน่วยผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าแก่งคอย 2
Block 1 Block 2
การลดการใช้ก๊าซธรรมจากกิจกรรมที่ 1 MSCF/yr 151,520 161,396
การลดการใช้ก๊าซธรรมจากกิจกรรมที่ 2 MSCF/yr 2.19 2.21
SFCBL,NG,y scf/kWh 7.12 7.16
การลดการใช้พลังงานจากการดาเนิน 21.29 22.53
GWh/yr
โครงการ 43.82

จากการพิจารณาการประเมินข้อมูลโครงการข้างต้นสรุปได้ว่า การดาเนินกิจกรรมทั้งสอง
กิจกรรมส่งผลให้เกิดการลดการใช้พลังงานจากโครงการ 43.82 GWh ต่อปี

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก )องค์การกหางน(
Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)

You might also like