You are on page 1of 21

2105491 Chemical Engineering Project I 2022 (โครงงานทางวิศวกรรมเคมี 1 ปีการศึกษา 2565)

ข้อเสนอโครงงานทางวิศวกรรมเคมี
ชื่อโครงงาน การออกแบบเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานสาหรับกระบวนการทีส่ ภาวะไครโอเจนิกส์
Energy optimization in cryogenic process

นิสิตผู้ทาโครงงาน 1) นาย ศุภกานต์ สุนทรอภิชาต รหัสประจาตัว 6230518121


2) นาง สาวศุภสิ รา วงศ์กิตติศึกษา รหัสประจาตัว 6230531221
3) นาย สิรวิชญ์ จัดจ้าน รหัสประจาตัว 623054721

อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ดร. อภินันท์ สุทธิธารธวัช และ ดร. กริชชาติ ว่องไวลิขิต


บทคัดย่อ

แก๊สธรรมชาติเป็นแหล่งพลังงานที่ถูกนามาใช้อย่างหลากหลายในด้านต่าง ๆ แต่สาหรับกระบวนการแยกแก๊สธรรมชาติในส่วนของ
หน่วยแยกอีเทนที่ใช้เทคโนโลยีหอกลั่น Demethanizer และ Turbo-Expander มีข้อจากัดในด้านการใช้พลังงาน และต้นทุนดาเนินการที่สูง
เนื่องมาจากกระบวนการต้องดาเนินที่สภาวะไคโอเจนิกส์ (Cryogenic) เพื่อการดาเนินการตามสภาวะดังกล่าวจึงจาเป็นจะต้องมีหน่วยทา
ความเย็น และการแลกเปลี่ยนความร้อนระหว่างหลายสาย สาหรับรายงานฉบับนี้มีจุดประสงค์ได้แก่การออกแบบโรงงานแยกแก๊สธรรมชาติ
ในส่วนของหน่วยแยกอีเทน (Ethane Recovery Unit) โดยมีจุดประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานและลดต้นทุนของกระบวนการ
โดยใช้โปรแกรม Aspen Plus V11 เป็นโปรแกรมจ าลองในการออกแบบกระบวนการ โมเดลทางเทอร์โมไดนามิกส์ที่เลือกใช้คือ Peng-
Robinson โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับการออกแบบแผนผังการไหลของกระบวนการ การเลือกชนิดและการกาหนดขนาดของอุปกรณ์ และการ
ออกแบบแผนผังที่แสดงรายละเอียดของระบบท่อและอุปกรณ์ (Piping and Instrumentation Diagram) รวมทั้งได้มีการค านวณปัจจัย
ทางด้านเศรษฐศาสตร์ ความปลอดภัย และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยจากผลลัพธ์กระบวนการที่ออกแบบสามารถลดพลังงานลง เมื่อ
เทียบกับกระบวนการแบบ Gas Subcooled process (GSP) ซึ่งเป็นกระบวนการอย่างง่ายในระบบหน่วยแยกอีเทน

Abstract

Natural gas is a widely used as energy source in various fields, but there are limitations in terms of energy
consumption and high cost for natural gas separation processes using demethanizer tower and turbo-expander
technology. The process must be carried out in cryogenic condition. The purpose of this report is to design a natural
gas separation plant in part of the ethane recovery unit to increase energy efficiency and minimize utility cost by using
Aspen Plus V11 as a process design simulation program. The used thermodynamic model is Peng-Robinson. The report
contains the contents of the process flow diagram, the design of device sizing and Piping and Instrumentation Diagram
(P&ID), including the calculation of economic factors, safety and environmental impact. The result is the designed
process can reduce energy compared to the Gas Subcooled process (GSP), which is a simple process of the natural gas
separation.

1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในปัจจุบันแก๊สธรรมชาติมีบทบาทมากขึ้นในการนามาใช้ประโยชน์ในแต่ละภาคอุตสาหกรรม เช่น การใช้แก๊สมีเทนในโรงงานไฟฟ้า
ส าหรับผลิตพลังงานไฟฟ้า ใช้เป็นสารให้ความร้อนในโรงงานอุตสาหกรรม ใช้เป็นเชื้อเพลิงในยานพาหนะ และใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิต
ปุ๋ยเคมี การใช้อีเทนและโพรเพนในการผลิตเอทีลีนและโพรพีลีน ซึ่งเป็นสารตั้งต้นสาคัญสาหรับผลิตเม็ดพลาสติก มีการนาบิวเทนมาผสมกับ
โพรเพนเป็นแก๊สหุงต้ม นอกจากนี้การใช้แก๊สธรรมชาติสามารถช่วยลดการสร้างก๊าซเรือนกระจกซึ่งเป็นสาเหตุของภาวะโลกร้อน และแก๊ส
ธรรมชาติมีความปลอดภัยสูงเนื่องจากมีน้าหนักที่เบากว่าอากาศซึ่งจะลอยขึ้นเมื่อเกิดการรั่ว

แก๊สธรรมชาติเป็นสารไฮโดรคาร์บอนที่มีองค์ประกอบหลักได้แก่ มีเทน (Methane) อีเทน (Ethane) โพรเพน (Propane) แก๊ส


ปิโตรเลียมเหลว (Liquefied Natural Gas) สารไฮโดรคาร์บอนหนักและสารที่ไม่ใช่ไฮโดรคาร์บอน รวมทั้งส่วนผสมของสิ่งปนเปื้อนต่าง ๆ
ได้แก่ แก๊สไนโตรเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์ และน้า โดยการจัดสรรแก๊สธรรมชาติของประเทศไทยมาจากอ่าวไทย
มากกว่า 2600 MMSCFD ซึ่งค่าเฉลี่ยต่อวันของการอุปโภคแก๊สธรรมชาติในประเทศไทยมีค่าเท่ากับ 4200 MMSCFD คิดเป็น 70 เปอร์เซ็นต์

กระบวนการแยกแก๊สธรรมชาติประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ส่วนแรกได้แก่ กระบวนการแยกสารที่ไม่ใช่ไฮโดรคาร์บอน (Gas


Treatment Section) ประกอบไปด้วย หน่วยกาจัดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ หน่วยกาจัดความชื้น และหน่วยกาจัดสารปรอท ส่วนถัดมา
ได้แก่หน่วยแยกอีเทนจากมีเทน (Cryogenic Section) และส่วนสุดท้ายได้แก่ หน่วยแยกสารไฮโดรคาร์บอนหนัก (Fractionation Section)
ซึ่งทาการแยกสารตัวที่หนักกว่าออกเป็นสารผลิตภัณฑ์ต่อไป โดยหน่วยแยกแก๊สอีเทนดาเนินการที่สภาวะไคโอเจนิกส์ (Cryogenic) เนื่องจาก
สายป้อนมีสภาวะเป็นแก๊สซึ่งต้องใช้พลังงานสูงในการควบแน่น ส่งผลให้มีต้นทุนที่สูงตามมา

ดังนั้นจากปัญหาดังกล่าว รายงายฉบับนี้ได้มีรายละเอียดเกี่ยวกับการออกแบบกระบวนการแยกแก๊สธรรมชาติในส่วนของหน่วย
แยกแก๊สมีเทนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการใช้พลังงานและเพิ่มกาไรสุทธิของกระบวนการโดยยังคงตามสเปคที่ต้องการ

วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1. ออกแบบกระบวนการแยกแก๊สธรรมชาติ ในส่วนของหน่วยแยกอีเทนโดยใช้โปรแกรมจ าลองในการค านวณสมดุลมวลและ
สมดุลพลังงาน ออกแบบผังการไหลของกระบวนการ การพัฒนาประสิทธิภาพการใช้พลังงาน การเลือกวัสดุและการกาหนด
ขนาดของอุปกรณ์ การออกแบบขนาดของท่อ การออกแบบระบบควบคุม การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์ และการวิเคราะห์
ปัจจัยทางด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม
2. เพือ่ พัฒนาประสิทธิภาพการใช้พลังงานและเพิ่มผลกาไรของกระบวนการ โดยสารผลิตภัณฑ์ยังคงสแคตามทีต่ ้องการ โดยมีค่า
Recovery ของอีเทนที่ก้นหออย่างน้อย 97.5 เปอร์เซ็นต์ และอัตราส่วนโมลของมีเทนต่ออีเทนที่ก้นหอมีค่าไม่เกิน 0.015 และ
มีสภาวะอุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส ความดันมากกว่า 30 บาร์ และแก๊สมีเทนที่ออกจากยอดหอมีค่าดัชนี Wobbe อยู่
ในช่วง 1220-1340 BTU/SCF ที่สภาวะความดัน 44 บาร์เกจ อุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส

2
ขอบเขตของการทาโครงการ
ออกแบบกระบวนการแยกแก๊สธรรมชาติที่สภาวะไคโอเจนิกส์ซึ่งเป็นส่วนที่มีหน้าที่แยกสารอีเทนออกจากตัวที่เบากว่าได้แก่มีเทน โดย
รับสายป้อนมาจากสายขาออกจากกระบวนการกาจัดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์ และน้า ขนาด 390 MMSCFD ที่สภาวะ
อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส และความดัน 42 บาร์เกจ มีองค์ประกอบได้แก่ มีเทน 80.36 เปอร์เซ็นต์, อีเทน 9.23 เปอร์เซ็นต์, โพรเพน 5.06
เปอร์เซ็นต์ , ไอโซบิวเทน 1.27 เปอร์เซ็นต์ , นอร์มัลบิวเทน 1.09 เปอร์เซ็นต์ , ไอโซเพนเทน 0.35 เปอร์เซ็นต์ , นอร์มัล เพนเทน 0.22
เปอร์เซ็นต์, นอร์มัลเฮกเซน 0.23 เปอร์เซ็นต์ และแก๊สไนโตรเจน 2.19 เปอร์เซ็นต์

สาหรับผลลัพธ์ที่ต้องการจากการทาโครงการการออกแบบครั้งนี้คือการได้ค่า Recovery ของอีเทนในสายขาออกที่ก้นหอมีค่าอย่างน้อย


97.5 เปอร์เซ็นต์ และอัตราส่วนโมลของมีเทนต่ออีเทนที่ก้นหอมีค่าไม่เกิน 0.015 และมีสภาวะอุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส ความดัน
มากกว่า 30 บาร์ และแก๊สมีเทนที่ออกจากยอดหอมี ค่าดัชนี Wobbe อยู่ในช่วง 1220-1340 BTU/SCF ที่สภาวะความดัน 44 บาร์เกจ
อุณหภูมิไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส โดยจะใช้โปรแกรม Aspen Plus V11 เป็นโปรแกรมการออกแบบ

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงงาน
สามารถนากระบวนการที่ออกแบบไปพัฒนาต่อยอดเพื่อการพัฒนาประสิทธิภาพการใช้พลังงานที่มีคณ
ุ ภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งสามารถ
ช่วยเพิ่มผลกาไร และลดต้นทุนของกระบวนการได้ และสามารถนากระบวนการไปพัฒนาต่อยอดเพื่อเพิ่มความแม่นยาจากการใช้โปรแกรม
จาลองสภาวะกระบวนการ

3
ทฤษฎีและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
1. กระบวนการแยกแก๊สธรรมชาติ

รายละเอียดของกระบวนการ

หน่ ว ยแยกแก๊ ส ธรรมชาติ ร วม (Ethane Recovery Unit) เริ ่ ม ต้ น จากการรั บ สายป้ อ นที ่ ม าจากกระบวนการก าจั ด แก๊ ส
คาร์ บ อนไดออกไซด์ แก๊ ส ไฮโดรเจนซัล ไฟด์ และน ้ า ซึ ่ง ก าจั ด องค์ ป ระกอบเจื อ ปนในแก๊ ส ธรรมชาติ เพื ่ อป้ อ งกั นการแข็งตั ว ของแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ในขณะอยู่ในระบบ และป้องกันไม่ให้ปรอทและน้ากัดกร่อนอุปกรณ์ ซึ่งนิยมใช้วิธี Adsorption หรือ Absorption แก๊ส
ธรรมชาติที่กาจัดแก๊สกรดแล้วจะผ่านเข้าไปสู่ส่วน Cryogenic section ซึ่งใช้ Turbo-expander เพื่อปรับความดันและอุณหภูมิ จากนั้นจึง
ป้อนเข้าสู่หอแยกมีเทน (de-Methanizer) แก๊สมีเทนและองค์ประกอบที่เบากว่ามีเทนจะถูกกลั่นแยกออกไปทางยอดหอ และองค์ประกอบที่
เป็นไฮโดรคาร์บอนที่มีคาร์บอนตั้งแต่ 2 อะตอมขึ้นไปที่ (Ethane plus stream) ซึ่งอยู่ในเฟสของเหลว และจะออกทางส่วนล่างของหอแยก
มีเทน ผลิตภัณฑ์ที่เป็นของเหลวจากหอแยกมีเทนผ่านเข้าสู่หอแยกอีเทน (de-Ethanizer) และหอแยกโพรเพน (de-Propanizer) เพื่อแยกอี
เทนและโพรเพนออ และสารตัวหนักอื่นต่อไปตามลาดับ

รูปที่ 1 ภาพรวมกระบวนการแยกแก๊สธรรมชาติในส่วนหน่วยแยกอีเทน [4]

ตารางที่ 1 องค์ประกอบสารตัวเบาที่พบมากในแก๊สธรรมชาติในขอบเขตที่พิจารณา

องค์ประกอบ
1 ไฮโดรเจน
2 มีเทน
3 เอทิลีน
4 อีเทน
5 โพพิลีน
6 โพเพน
7 ไอโซบิวเทน
8 นอร์มัลบิวเทน

4
ในการออกแบบกระบวนการจาเป็นต้องเลือกใช้โมเดลทางเทอร์โมไดนามิกส์ให้เหมาะสมกับประเภทของสารในระบบ สาหรับแก๊ส
ธรรมชาติทมี่ อี งค์ประกอบดังแสดงในตารางที่ 1 และมีแก๊สชนิดอื่นเจือปน เช่น ไนโตรเจน และคาร์บอนไดออกไซด์ พิจารณาโมเดลทางเทอร์
โมไดนามิกส์โดยใช้ Eric Carlson's Recommendations โดยหน่วย Ethane recovery มีสายป้อนที่มีองค์ประกอบเป็นสารไฮโดรคาร์บอน
ที่เป็นสารไม่มีขั้วทั้งหมด จึงเหมาะกับการใช้ EOS model ดังแสดงในรูปที่ 2

รูปที่ 2 แผนผังแสดงแนวทางการเลือกโมเดลทางเทอร์โมไดนามิกส์โดย Eric Carlson's Recommendations

เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง

GSP (Gas Subcooled Process) เป็นเทคโนโลยีที่ถูกพัฒนาขึ้นเหมาะกับกรณีที่มีแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในระบบ โดยสายป้อน


จะผ่านการลดอุณหภูมิและควบแน่นกลายเป็นของเหลวบางส่วน หลังจากนั้นจะแยกเฟสของสายป้อน สายของเหลวถูกป้อนเข้าสู่หอแยก
มีเทน ส่วนสายไอจะแยกเป็นสองส่วนซึ่งทั้งสองส่วนจะถูกลดอุณหภูมิและความดัน สายไอสายหนึ่งถูกลดความดันซึ่งอุปกรณ์ที่นิยมใช้คือ
Turbo-expander แล้วจึงป้อนเข้าสู่หอแยกมีเทน สายไออีกสายหนึ่งจะถูกลดอุณหภูมิจนควบแน่นเป็นของเหลวและปรับความดันก่อน
ป้อนเข้าสู่หอแยกมีเทนทางด้านบน ดังแสดงในรูปที่ 3 ซึ่งสายป้อนเข้าหอแยกมีเทนมีมากกว่าหนึ่งสาย และมีสายที่เป็น Reflux ซึ่งเป็นสาย
ของเหลวที่ป้อนเข้ามาที่หอแยกมีเทนจะสัมผัสกับสายไอทาให้เกิดการดูดซึมอีเทนและสารที่หนักกว่าอีเทนในสายไอให้มาอยู่ในสายของเหลว
และลงไปทางก้นหอ ถ้ามีอีเทนและสารที่หนักกว่าอีเทนในสายของเหลวมากแล้วจะพบคาร์บอนไดออกไซด์ในส่วนยอดหอน้อยลง จึงถือเป็น
การลดโอกาสที่จะเกิดการแข็งตัวของคาร์บอนไดออกไซด์ในหอแยกมีเทน เนื่องจากบริเวณยอดหอเป็นพื้นที่ที่มีอุณหภูมิต่าที่สุดในหอ ข้อเสีย
ของเทคโนโลยีนี้คือ ค่า Recovery ที่ทาได้จะถูกจากัดด้วยองค์ประกอบในสายไอที่กลายเป็นสาย Reflux ที่ป้อนเข้าด้านบนหอแยกมีเทน

5
รูปที่ 3 เทคโนโลยี Gas Subcooled Process อย่างง่าย

RSV (Recycle Split-Vapor) เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาภายหลังจาก GSP โดยแบ่งสายไอในลักษณะเดียวกัน และเพิ่มสาย Reflux


ป้อนเข้าหอแยกมีเทน โดยสาย Reflux นี้มีปริมาณมีเทนอยู่สูงเนื่องจากถูกแบ่งมาจากสายผลิตภัณฑ์ยอดหอซึ่งผ่านการลดอุณหภูมิและปรับ
ความดันก่อนป้อนเข้าหอแยกมีเทนที่บริเวณยอดหอ เมื่อมีสาย Reflux ซึ่งประกอบด้วยมีเทนมากเพิ่มเข้ามาทาให้ ดึงอีเทนลงมากับสาย
ของเหลวลงด้านล่างของหอแยกมีเทนมากขึ้น ประสิทธิภาพจึงดีขึ้นและให้เปอร์เซ็นต์ Ethane recovery ที่สูงกว่าและใช้พลังงานในระบบ
น้อยลงเมื่อเปรียบเทียบกับ GSP

รูปที่ 4 เทคโนโลยี Recycle Split-Vapor อย่างง่าย

6
จากสิ ท ธิ บ ั ต ร Multiple Reflux Stream Hydrocarbon Recovery Process [2] น าเสนอ Ethane recovery process ใน
รูปแบบที่มีสายของเหลวของ Reflux เข้าหอแยกมีเทนหลายสายดังแสดงในรูปที่ 5 เริ่มต้นแก๊สสายป้อนที่อุณหภูมิ 90 องศาฟาเรนไฮต์ ความ
ดัน 800 psia ถูกแบ่งออกเป็นสองสายในสัดส่วนที่ต่างกันและถูกลดอุณหภูมิ ส่งผลให้เกิดเฟสของเหลวขึ้นจึงผ่านดรัมเพื่อแยกเฟสที่อุณหภูมิ
-31 องศาฟาเรนไฮต์ ความดัน 795 psia ซึ่งของเหลวที่ออกจากดรัมจะถูกป้อนเข้าหอแยกมีเทนที่ -70 องศาฟาเรนไฮต์ 257 psia โดยปรับ
ความดันโดยใช้วาล์ว ส่วนไอจากดรัม ถูกแบ่งสัดส่วนออกเป็นสองสายและลดอุณหภูมิรวมถึงปรับความดัน โดยสายไอสายหนึ่งใช้ Turbo-
expander ในการลดอุณหภูมิของไอก่อนจะป้อนเข้าหอแยกมีเทนที่อุณหภูมิ -115 องศาฟาเรนไฮต์และความดัน 252 psia สายไออีกสาย
หนึ่งลดอุณหภูมิโดยใช้สายผลิตภัณฑ์จากยอดหอซึ่งมีอุณหภูมิต่าที่สุดในหอที่ -164 องศาฟาเรนไฮต์ และปรับความดันโดยใช้วาล์วก่อน
ป้อนเข้าหอแยกมีเทนที่ความดัน 252 psia โดยรวมในระบบมีสายที่ถูกป้อนเข้าหอแยกมีเทนทั้งหมด 4 สาย และผลิตภัณฑ์ก้นหอจะเป็น
ไฮโดรคาร์บอนตั้งแต่ คาร์บอนสองอะตอมขึ้นไป ส่วนผลิตภัณฑ์ยอดหอมีมีเทนเป็นองค์ประกอบหลัก จากข้อมูลการออกแบบนี้แสดงค่า
Ethane recovery อยู่ที่ 95.79 เปอร์เซ็นต์ และกาลังที่ใช้ในระบบอยู่ที่ 56720 แรงม้า

รูปที่ 5 Ethane recovery process แบบมีสายเข้าหอแยกมีเทนสีส่ าย

นอกจากนี้ยังนาเสนอ Ethane recovery process อีกรูปแบบหนึ่งดังแสดงในรูปที่ 6 ซึ่งแตกต่างจากรูปที่ 5 คือเริ่มต้นแก๊สสาย


ป้อนถูกแยกออกเป็นสามสาย เพิ่มจากเดิมหนึ่งสายโดยสายนี้จะถูกลดอุณหภูมิโดยแลกเปลี่ยนความร้อนกับสายผลิตภัณฑ์ยอดหอ และปรับ
ความดันก่อนป้อนเข้าหอแยกมีเทน อีกสิ่งหนึ่งที่ต่างจากกระบวนการในรูปที่ 5 คือมีสาย Reflux ซึ่งแยกจากผลิตภัณฑ์ Residue gas และ
ผ่านการลดอุณหภูมิโดยใช้สายผลิตภัณฑ์ จากยอดหอ และปรับความดันก่อนป้อนเข้าหอแยกมีเทน โดยหอแยกมีเทนดาเนินการที่ความดัน
475 psia ซึ่งสูงกว่าสภาวะการดาเนินการในกระบวนการแบบรูปที่ 5 รวมถึงอุณหภูมิดาเนินการสูงกว่า รูปแบบกระบวนการนี้ให้ค่า Ethane
recovery ที่ 96.04 เปอร์เซ็นต์ และค่าก าลังที่ใช้อยู่ที่ 49766 แรงม้า แสดงให้เห็นว่าได้ค่า Ethane recovery มากขึ้น และใช้พลังงาน
น้อยลงจากรูปแบบก่อน

7
รูปที่ 6 Ethane recovery process แบบมีสายเข้าหอแยกมีเทนห้าสาย

จากการศึกษาสิทธิบัตร Synthesis and Design of Demethanizer Flowsheets for Low Temperature Separation Process
[3] นาเสนอกระบวนการ NGL Recovery ผ่านโปรแกรมจาลอง HYSYS โดยมีพื้นฐานมาจากเทคโนโลยี GSP ดังแสดงในรูปที่ 7 คือนาสาย
ผลิตภัณฑ์จากยอดหอแลกเปลี่ยนความร้อนกับแก๊สที่เป็นสายป้อนเพื่อลดอุณหภูมิของสายป้อน จากนั้นจะผ่าน Refrigeration cycle เพื่อให้
อุณหภูมิสายป้อนต่าลงโดยมีการใช้โพรเพนเป็นสารให้ความเย็น หลั งจากผ่านการลดอุณหภูมิส่งผลให้มีบางส่วนควบแน่นเป็นของเหลว จึงมี
การแยกสถานะของไอและของเหลว จากนั้นจึงปรับความดันของไอและของเหลวโดนใช้วาล์วและ Turbo-expander ก่อนป้อนเข้าสู่หอแยก
มีเทนซึ่งมีสายป้อนเข้าหอทั้งหมด 3 สาย หอแยกมีเทนเป็น Absorption column แบบมี Reboiler ประกอบด้วยจานวนชั้นทั้งหมด 30 ชั้น
สายป้อนเข้าหอทั้ง 3 สายถูกป้อนที่ชั้นต่างกันคือชั้นที่ 1 ชั้นที่ 12 และชั้นที่ 23

ในสิทธิบัตรทาการทดลองเปลี่ยนค่าความดันดาเนินการในหอแยกมีเทนในช่วง 10 ถึง 35 บาร์เพื่อดูประสิทธิภาพของการแยกสาร


ได้ผลสรุปคือเมื่อค่าความดันเพิ่มขึ้นทาให้ใช้กาลังรวมในระบบลดลง เนื่องจากกาลังที่ใช้ในการบีบอัด Sales gas ลดลง แม้ว่าค่ากาลังในส่วน
Refrigeration มีค่าคงเดิม อีกทั้งพบว่าค่า Ethane recovery ลดลงเมื่อความดันเพิ่มขึ้น

รูปที่ 7 กระบวนการ NGL Recovery จากเทคโนโลยี GSP

8
2. หลักการของอุปกรณ์ในกระบวนการ

De-methanizer
ในกระบวนการแยกแก๊สธรรมชาติ หอแยกมีเทนมักเป็นหอกลั่น (Distillation column) ที่ดาเนินการที่สภาวะอุณหภูมิต่าและที่
ความดันสูง ซึ่งหอกลั่นถูกให้อย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมปิโตรเลียม หลักการขอหอกลั่นคืออาศัยความแตกต่างของการกลายเป็นไอของ
สารที่แตกต่างกันในการแยกสารออกจากกัน ภายในหอมีการไหลสวนกันของสายไอและสายของเหลว โดยสายไอไหลจากด้านล่างสู่ด้านบน
ของหอกลั่นและสัมผัสกับสายของเหลวซึ่งไหลลงจากด้านบนของหอกลั่น การสัมผัสกันของสายไอและสายของเหลวทาให้สารตัวเบาที่มีจุด
เดือดต่ากว่าที่อยู่ในสายของเหลวกลายเป็นไอเมื่อเจอกับสายไอที่อุณหภูมิสูงกว่า ส่วนสารตัวหนักที่มีจุดเดือดสูงกว่าในสายไอจะควบแน่นเมื่อ
สัมผัสกับสายของเหลวที่อุณหภูมิต่ากว่า จึงทาให้เ กิดการแยกกันโดยที่ยอดหอพบว่ามีสารตัวเบาที่จุดเดือดต่าอยู่มาก และที่ก้นหอมีสารตัว
หนักที่จุดเดือดสูงอยู่มาก ในการออกแบบหอกลั่นมีแนวทางดังแสดงในรูปที่ 8

รูปที่ 8 แนวทางการออกแบบหอกลั่นโดย FUG Method

9
Joule-Thomson Expansions
ในกระบวนการแยกแก๊สธรรมชาติจาเป็นต้องมีการลดอุณหภูมิของแก๊สด้วยวิธีการต่าง ๆ หนึ่งในวิธีการลดอุณหภูมิคือการลดความ
ดันโดยใช้วาล์วภายใต้กระบวนการแบบ Adiabatic ปรากฏการณ์การลดอุณหภูมิโดยการลดความดันนี้เป็นกระบวนการที่เอนทัลปีคงที่เมื่อ
ความดันปลายน้อยกว่าความดันเริ่มต้น ซึ่งเกิดจากมีตัวกักการไหลของแก๊สหรือจากการเปลี่ยนแปลงของหน้าตัดท่อ ค่าอุณหภูมิของแก๊สจะ
เปลี่ยนแปลงเท่าไหร่ขึ้นกับอุณหภูมิ เริ่มต้น ความดันเริ่มต้น ความดันที่เปลี่ยนไปและขึ้นกับองค์ประกอบของแก๊สด้วย แก๊ส บางตัวเช่น
ไฮโดรเจนและฮีเลียมเมื่อขยายตัวแล้วจะทาให้อุณหภูมิเพิ่มขึ้นแทน

Turbo-expander
Turbo-expander ถู ก น ามาใช้ ใ นหน่ ว ย Ethane Recovery เพื ่ อ เพิ ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพแทนการใช้ Joule-Thomson valve ซึ่ ง
สามารถลดอุณหภูมิได้มากกว่าใช้ Joule-Thomson valve เมื่อแก๊สผ่านเข้ามาและเกิดการขยายตัวหรือเป็นการลดความดันจะเป็นการให้
งานจากการลดลงของเอนทัลปีของแก๊สที่เอนโทรปีคงที่ ซึ่งการลดลงของเอนทัลปีนี้ทาให้อุณหภูมิของแก๊สลดลง งานที่ได้จากการขยายตัวของ
แก๊สถูกนาไปใช้ขับ Compressor ที่ใช้เพิ่มความดันให้กับแก๊สได้

Compressor
Compressor เป็นหนึ่งอุปกรณ์ที่นิยมใช้ในกระบวนการลดอุณหภูมิ เป็นเครื่องมือในการเพิ่มความดันให้กับ ของไหลในเฟสไอ การ
เปลี่ยนแปลงไปของความดันให้มีค่าเพิ่มขึ้นส่งผลให้อุณหภูมิของสารที่เฟสไอเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นเช่นกัน แบ่งออกเป็นสองประเภทหลัก คือ
Positive displacement ซึ่งเป็นระบบที่บีบอัดของไหลโดยอาศัยหลักการการลดปริมาตรของไอหรือเพิ่มความหนาแน่นเพื่อเพิ่มความดัน
ให้กับไอ ตัวอย่างเช่น Reciprocating compressor และ Rotary compressors ประเภทที่สองคือแบบ Dynamic ตัวอย่างเช่น Centrifugal
compressor ซึ่งพบได้มากในการใช้งานในอุตสาหกรรมปิโตรเลียมและการแยกแก๊สธรรมชาติ ใช้หลักการเปลี่ยนพลังงานจากความเร็วของ
ของไหลให้เป็นความดันที่เพิ่มขึ้น

3. แนวทางการออกแบบหอกลั่น

สาหรับกระบวนการแยกแก๊สธรรมชาติ เนื่องมาจากจุดประสงค์การออกแบบคือเพื่อแยกอีเทนออกจากมีเทนซึ่งเป็นสารในสายป้อน
ที่มีเฟสเป็นแก๊ส ซึ่งการควบแน่นแก๊สให้กลายเป็นของเหลวนั้นต้องใช้หอกลั่นที่มีสภาวะการดาเนินการแบบไคโอเจนิกส์ จากเหตุผลดังกล่าว
ทาให้การใช้น้าหล่อเย็นเพื่อการควบแน่นของไหลในสายที่ออกจากยอดหอนั้นไม่สามารถดาเนินการได้ เนื่องมาจากที่ยอดหอมีอุณหภูมิติดลบ
ประมาณ -90 ถึง -160 องศาเซลเซียส เนื่องจากเป็นอุณหภูมิในช่วงที่แก๊สมีเทนมีสถานะเป็นไอและอีเทนเป็นของเหลว แต่น้าหล่อเย็น มี
อุณหภูมิเพียง 35 องศาเซลเซียส ดังนั้นตามข้อแนะนาของหลักการออกแบบจะใช้มีเทนเป็นสารให้ความเย็นแทนการใช้น ้าหล่อเย็น แต่
เนื่องมาจากการใช้มีเทนเป็นสารให้ความเย็นส่งผลให้ต้องใช้พลังงานรวมถึงต้นทุนในการดาเนินการที่สูงขึ้นมาก จึงมีแนวทางการออกแบบ
การลดอุณหภูมิของสายป้อนโดยการใช้สายที่ออกจากยอดหอมารับความร้อนเพื่อลดอุณหภูมิสายป้อนลงบางส่วน และใช้โพรเพนลดอุณหภูมิ
เป็น -22 องศาเซลเซียส

การก าหนดความดั น ของหอกลั ่ น อ้ า งอิ งจากสภาวะของสายขาออกที ่ Turbine ซึ ่ งเป็ น หนึ ่ งในสายป้ อ นเข้ า สู่ ห อกลั ่ น De-
methanizer ซึ่งมีข้อจากัดคือสภาวะขาออกที่ Turbine ต้องคงความเป็นไอเพื่อป้องกันการเกิดการควบแน่นขึ้นภายในอุปกรณ์

10
วิธีการดาเนินการ
การดาเนินโครงการแบ่งขั้นตอนโดยภาพรวมออกเป็น 2 ส่วนหลัก ได้แก่ การเข้าใจภาพรวมของกระบวนการและศึกษาสภาวะการ
ดาเนินงานจากเทคโนโลยีในปัจจุบันและส่วนที่สองคือ การออกแบบกระบวนการโดยใช้สภาวะตามโจทย์ที่ได้รับมอบหมายจริง

1. เข้าใจภาพรวมของกระบวนการและศึกษาสภาวะการดาเนินงานจากเทคโนโลยีในปัจจุบัน

ทาการค้นคว้าและศึกษางานวิจัยและสิทธิบตั รที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการแยกแก๊สธรรมชาติในส่วนของหน่วยแยกอีเทน หลังจาก


นั้นทาการลองจาลองสภาวะต่าง ๆ ตามแผนผังการไหล และข้อมูลสภาวะทีไ่ ด้ทาการสืบค้นมา เพื่อเป็นการทาความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับ
ความสัมพันธ์กันของอุปกรณ์ภายในกระบวนการ โดยมีขั้นตอนตามผังดังรูปที่ 9

เริ่ม วิเคราะห์ผล

เข้าใจภาพรวมของ
Matching
กระบวนการ

เลือกโมเดลทางเทอโมไดนามิกส์ ใช่

ไม่ สรุปผล
ใส่/ปรับ
พารามิเตอร์

จบ
Simulation

รูปที่ 9 ขั้นตอนการดาเนินการสร้างแบบจาลองและตรวจสอบความแม่นยาของการจาลอง

ขั้นตอนที่ 1 : เข้าใจภาพรวมกระบวนการ

การเข้าใจภาพรวมของกระบวนการ นิยามของแก๊สธรรมชาติ องค์ประกอบของแก๊สธรรมชาติ และค้นคว้าหาข้อมูล เกี่ย วกับ


เทคโนโลยีทมี่ ีอยู่ในปัจจุบัน รวมทั้งอุปกรณ์ที่ใช้ภายในกระบวนการ ศึกษาผังการไหลของกระบวนการ รวมทั้งสภาวะที่ใช้ในแต่อุปกรณ์ของ
แต่ละเทคโนโลยี เพื่อที่จะนามาใช้เป็นหลักอ้างอิงในการจาลองการออกแบบ

ขั้นตอนที่ 2 : การเลือกโมเดลทางเทอร์โมไดนามิกส์

ในการเลือกโมเดลทางเทอร์โมไดนามิกส์จะต้องพิจารณาหลายปัจจัย เช่น ความมีขั้วของสาร สภาวะการดาเนินการ โดยแนวการ


การเลือกโมเดลทางเทอร์โมไดนามิกส์แสดงดังรูปที่ 2
11
ขั้นตอนที่ 3 : การจาลองกระบวนการและตรวจสอบผลลัพธ์เทียบกับเทคโนโลยีในปัจจุบัน

สาหรับกระบวนการแยกแก๊สธรรมชาติในส่วนหน่วยแยกอีเทนตามสิทธิบัตรส่วนใหญ่จะประกอบไปด้วย 4 ส่วนหลัก ๆ ได้แก่ส่วน


ควบแน่น ทาหน้าที่ลดอุณหภูมิทาให้สารตัวหนักควบแน่น ส่วนที่สองได้แก่ ส่วนเพิ่มความดัน ส่วนที่สามได้แก่ส่วนลดความดัน และส่วน
สุดท้ายได้แก่ส่วนของการแยกไฮโดรคาร์บอน C1 กับ C2 โดยใช้หอกลั่น demethanizer ซึ่งจะใช้โปรแกรมจาลอง Aspen Plus V11 ในการ
การจาลองกระบวนการโดยใช้สภาวะการดาเนินการต่าง ๆ อ้างอิงจากสิทธิบัตร

2. การออกแบบกระบวนการโดยใช้สภาวะตามโจทย์

ส าหรับแนวทางการออกแบบกระบวนการ เมื่อทาการศึกษาความสัมพันธ์ของอุปกรณ์ภายในกระบวนการจากการลองจ าลอง


สภาวะตาเทคโนโลยีที่มีอยู่ในปัจจุบัน การออกแบบกระบวนการตามโจทย์ที่ได้รับมอบหมายมีขั้นตอนเบื้องต้นแสดงดังรูปที่ 9

ขั้นตอนที่ 1 : ศึก ษาทาความเข้าใจโจทย์และสิ่งที่ต ้องทา


- องค์ประกอบของสายป้อน
- เทคโนโลยีที่เลือกใช้
- สเปกที่ต้อ งการ
- โมเดลทางเทอโมไดนามิก ส์
- อื่น ๆ

ขั้นตอนที่ 2 : ใช้โปรแกรม simulation ออกแบบกระบวนการ


- โครงสร้างของสายป้อนและสายขาออกของกระบวนการ
- โครงสร้างของสายรีไซเคิล
- โครงสร้างของส่วนการแยก
- การเพิ่มประสิท ธิภาพการใช้พลังงาน

ขั้นตอนที่ 3 : การเลือกวัสดุและกาหนดขนาดของอุปกรณ์

ขั้นตอนที่ 4 : ออกแบบ Piping and Instrument diagram (P&ID)

ขั้นตอนที่ 5 : วิเคราะห์ปัจจัยทางด้านเศรษฐศาสตร์

ขั้นตอนที่ 6 : วิเคราะห์ปัจจัยทางด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม

รูปที่ 10 แนวทางการออกแบบกระบวนการ

12
ตารางที่ 2 ตารางแผนการทางานในแต่ละขั้นตอนตลอดระยะเวลาโครงการ

13
ผลการดาเนินการเบื้องต้น
การใช้โปรแกรมจาลองการออกแบบ

เนื่องจากจาลองกระบวนการแบบ GSP ไม่สามารถได้ค่า recovery สูงตามที่ต้องการซึ่งเป็นผลมาจากปริ มาณของ Ethane ที่มี


สัดส่วนในปริมาณน้อยในสายป้อน ดังนั้นเมื่อลองจาลองกระบวนการแบบ RSV โดยการใช้โปรแกรมจาลองสร้างกระบวนการ โมเดลทางเทอร์
โมไดนามิกส์ที่เลือกได้แก่ Peng-Robinson เนื่องมาจากแก๊สธรรมชาติมีองค์ประกอบหลักเป็นสารไฮโดรคาร์บอน และได้ผลการจาลองแสดง
ดังรูปที่ 11

รูปที่ 11 แผนผังการไหลของกระบวนการจากโปรแกรมจาลองการออกแบบ

14
ตารางที่ 3 ผลลัพธ์จากการจาลองกระบวนการ

Component Unit Feed Sales gas NGL


Nitrogen kmol/hr 425.4 425.4 0.0
Methane kmol/hr 15608.7 15606.6 2.0
Ethane kmol/hr 1792.8 41.1 1751.7
Propane kmol/hr 982.8 0 982.8
i-Butane kmol/hr 246.7 0 246.7
n-Butane kmol/hr 211.7 0 211.7
i-Pentane kmol/hr 68.0 0 68.0
n-pentane kmol/hr 42.7 0 42.7
n-Hexane kmol/hr 44.7 0 44.7
Temperature C° 20 50 -17.3
Pressure bar 43 45 30
%C2 Recovery 97.71
Mole fraction C1/C2 0.00115
Reboiler duty (kW) 5442.84

15
11PSV
101A
P-292 P-292
TO SAFE LOCATION

FIC FIC
01 01

11PSV
101B
FI
01
P-236 FI
TI

FT
FCV FT
01 FCV TT
01 P-299 P-266

V-120
PC TI
P-239 101 PCV
V-133
P-282 V-133
NOTE
TT
PT V-132
V-134
V-132 P-265
101
V-124 V-125 V-126 V-133 V-133
V-119

HH V-108

V-100 P-276
MH LG LT LI AHH ESD LG LT
102 102 100 101
xxx 101 101

V-101 LL

E-19 V-107 LC
P-211 101
V-108

V-127

TI

TT
P-272 P-273 P-275
V-121 V-121

V-123
V-122 V-122

V-121 V-121

16
PS V
101
TT
TI 02
PS V
101
TT
TT 02
SLOPE
NO POCKET

VE NT
SLOPE
NO POCKET
TO SAFE LOCATION

FIC
02

FI
02

FT
FIC FCV DRAI N
02 Note
01 02

FI PI
TI SLOPE TT TI
01
01 01
NO POCKET
FT TT PT
FCV
01 01 01
01
PS V
102
Note
TI TT
03
PSV
102 TT
TI
03

VE NT

SLOPE

NO POCKET

DRAI N

TT TI

17
RELIFE

PIC
401
PI
401

FL
PT
401
TIC TI TT
401 401 401

FL #1

TT
#18 501
TI
501

#20
Level LIC
flash 401

TT TI
FL
#33 601 601

#40

LI LT #58
301 301
TT TI
401 401

LIC
301 TIC
401

FL

UTILITY
FLASH FL

18
PIC
301
PI
301
FL

PT
301

TIC TI TT
101 101 101

FL #1

#7

#27

#37
LT LI
301 301

LIC
301

FL

19
ปัญหาที่พบ

1. จากการคานวณไฮดรอลิคเบื้องต้นพบว่าขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของท่อบางส่วนมีขนาดมาก
2. เมื่อทาการกาหนดขนาดของอุปกรณ์พบว่าขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของหอกลั่นมีขนาดมาก
3. บริเวณคอมเพลสเซอส์ MC-201 ใช้กาลังมาก

20
เอกสารอ้างอิง
[1] Sanjiv N. Patel, Jorge H. Foglietta. US 7793517 B2, United States Patent, 14 September 2010. Google
Patents, https://patents.google.com/patent/US7793517?oq=US+7793517+B2
[2] David M. Thom, Jeffrey R. Garrison, David Farr. US 2020/0072546 A1, United States Patent Application
Publication, 5 March 2020. Google Patents,
https://patents.google.com/patent/US20200072546A1/en?oq=US+2020%2f0072546+A1
[3] Dr. Megan Jobson. (2011). Synthesis and Design of Demethaniser Flowsheets for Low Temperature
Separation Processes. Faculty of Engineering and Physical Sciences.The University of Manchester.
[4] Natural Gas Liquids from the Associated Flare Gas Stream: Monetized in Real-Time via Various Qualitative
Products - Scientific Figure on ResearchGate. Available from:
https://www.researchgate.net/figure/Solid-adsorption-dehydration-component-in-ethane-recovery-plant-
Source-Adapted-from_fig5_321649427 [accessed 3 Nov, 2022]

21

You might also like