You are on page 1of 54

การเปลี่ยนปี ฐานสถิติรายได้ประชาชาติของประเทศไทย

สำนั กบัญชีประชาชาติ
สำนั กงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสั งคมแห่งชาติ
พฤศจิ กายน 2548
หัวข้ อการนำเสนอ
การจัดทำสถิตริ ายได้ ประชาชาติในราคาคงทีแ่ บบปี ฐาน
อ้างอิง
การจัดทำรายได้ ประชาชาติแบบ Chain Volume Measure
ดัชนีทางตรงและดัชนีลูกโซ่
จากระบบปี ฐานสู่ Chain Volume Measure (CVM)
การคัดเลือกปี ฐานในประเทศไทย
แผนการปรับปี ฐาน

2
รายได้ ประชาชาติวดั ได้ 2 ราคา
ใช้ วเิ คราะห์ ภาวะเศรษฐกิจในแต่ ละช่ วงเวลา
ราคาปัจจุบัน โดยแสดงมูลค่ าของสิ นค้ าและบริการทีเ่ กิด
(Current Prices) จากการเปลีย่ นแปลงทั้งในด้ านราคาและ
ปริมาณ
ใช้ แสดงศักยภาพทีแ่ ท้ จริงของการผลิตและ
ราคาคงที่ การใช้ จ่ายของระบบเศรษฐกิจ โดยแสดง
(Constant Prices) มูลค่ าของสิ นค้ าและบริการในรู ปของมูลค่ า
ทีแ่ ท้ จริง (Real term) หรือในเชิงปริมาณ
เนื่องจากได้ ขจัดผลของการเปลีย่ นแปลงทาง
ด้ านราคา
3
การจัดทำสถิตริ ายได้ ประชาชาติในราคาคงที่
โดยปกติจัดทำเพียง 2 ด้ านคือ
 ด้ านการผลิต
 ด้ านการใช้ จ่าย
วิธีคำนวณรายได้ ประชาชาติในราคาคงทีม่ ี 3 แนวทางหลักคือ
Base year valuation of quantities
Price deflation
Volume extrapolation

4
วิธีค ำนวณรายได้ประชาชาติในราคาคงที่
1. วิธีBase year valuation of quantities เป็ นการ
คำนวณมูลค่า ณ ราคาคงที่โดยใช้ปริมาณในปี ที่จะคำนวณ
คูณด้วยราคาปี ฐาน สามารถแสดงเป็ นสูตรได้ดงั นี้ คือ
มูลค่า ณ ราคาคงที่ =  P0*Qt

โดยที่ P0 = ราคา ของสินค้าและบริการปี ที่ o หรือปี ที่เป็ นฐาน


Qt = ปริมาณของสินค้าและบริการปี ที่ t
5
วิธีค ำนวณรายได้ประชาชาติในราคาคงที่ (ต่อ)
2. วิธี Price deflation วิธีนี้เป็ นการปรับค่าของมูลค่า ณ
ราคาประจำปี ด้วยดัชนี ราคาของสินค้าและบริการที่เกี่ยวข้องให้เป็ น
มูลค่า ณ ราคาคงที่ สามารถแสดงเป็ นสูตรได้ดงั นี้ คือ
มูลค่า ณ ราคาคงที่ = Vt ; It = PtQ0
It P0Q0
โดยที่ Vt = มูลค่าของสินค้าและบริการปี ที่ t
It = ดัชนี ราคาปี ที่ t (วิธี Laspeyres)
Q0 = ปริมาณของสินค้าและบริการปี ที่ 0 หรือปี ที่เป็ นฐาน
P0 = ราคาของสินค้าและบริการปี ที่ o หรือปี ที่เป็ นฐาน
Pt = ราคาของสินค้าและบริการปี ที่ t 6
วิธีค ำนวณรายได้ประชาชาติในราคาคงที่ (ต่อ)
ดัชนี ราคามีการคำนวณได้ 3 แบบ คือ
 Laspeyres price index เป็ นการคำนวณดัชนีราคาโดยการถ่ วงน้ำ
หนักด้ วยปริมาณปี ฐาน
Paasche price index เป็ นการคำนวณดัชนีราคาโดยการถ่ วงน้ำ
หนักด้ วยปริมาณปี ปัจจุบัน
Fisher price index เป็ นการคำนวณดัชนีราคาโดยใช้ ค่าเฉลีย่
เรขาคณิตระหว่ าง Laspeyres price index และ Paasche price index

7
วิธีค ำนวณรายได้ประชาชาติในราคาคงที่ (ต่อ)
3. วิธี Volume Extrapolation เป็ นการประมาณมูลค่า
ณ ราคาคงที่ด้วยดัชนี ปริมาณที่เกี่ยวข้องสามารถทำได้ 2 วิธี
ในทางปฏิบตั ิ
 วิธีแรก ปรับมูลค่า ณ ราคาประจำปี ในปี ฐาน ด้วย ดัชนี

ปริมาณสินค้าและบริการที่เกี่ยวข้อง หรือเป็ นการปรับ


อัตราเพิ่มของปริมาณจากปี ฐานโดยตรง
 วิธีที่สอง ปรับจากมูลค่า ณ ราคาคงที่ ปีก่อนหน้ า เป็ นมูลค่า

ณ ราคาคงที่ปีปัจจุบนั ด้วยอัตราเพิ่มของดัชนี ปริมาณจาก 8


วิธีค ำนวณรายได้ประชาชาติในราคาคงที่ (ต่อ)
ดัชนี ปริมาณมีการคำนวณได้ 3 แบบ คือ
 Laspeyres volume index เป็ นการคำนวณดัชนีปริมาณโดยการถ่ วงน้ำ
หนักด้ วยราคาปี ฐาน
 Paasche volume index เป็ นการคำนวณดัชนีปริมาณโดยการถ่ วงน้ำ
หนักด้ วยราคาปี ปัจจุบัน
 Fisher volume index เป็ นการคำนวณดัชนีปริมาณโดยใช้ ค่าเฉลีย่
เรขาคณิตระหว่ าง Laspeyres price index และ Paasche price index

9
การคำนวณมูลค่ าเพิม่ ด้ านการผลิต
รายได้ประชาชาติด้านการผลิต (Gross Domestic Products: GDP)
เป็ นการหาผลรวมของมูลค่าสินค้าและบริการขัน้ สุดท้าย (Final
goods) ที่ผลิตขึน้ ภายในประเทศในรอบระยะเวลาหนึ่ ง แต่ในทาง
ปฏิบตั ิ ยากในการวัด จึงใช้วิธีค ำนวณจากมูลค่าเพิ่ม (Value Added:
VA) เพื่อป้ องกันการนับซ้ำ โดยมีสมการดังนี้
Value Added (VA) = Gross Output (GO) – Intermediate Cost
(IC)
โดยที่ VA = มูลค่าเพิ่ม
GO = มูลค่าผลผลิต
IC = ค่าใช้จ่ายขัน้ กลางในการผลิต
10
การคำนวณมูลค่ าเพิม่ ในราคาคงที่
สามารถทำได้ 2 วิธี คือ
Double Deflation
Single Deflation

11
วิธีปรับค่ าแบบ Double Deflation
ปรับทั้งมูลค่ าผลผลิตและสิ นค้ าขั้นกลางราคาประจำปี
ให้ เป็ นราคาปี ฐาน แล้ วหาผลต่ างเป็ นมูลค่ าเพิม่ ณ ราคาคงที่
 VA at current prices =  PtQt -  ptqt

 VA at constant prices =  P0Qt -  p0qt


โดยที่ Pt = ราคาผลผลิตปี ที่ t
Qt = ปริมาณผลผลิตปี ที่ t
pt = ราคาสินค้าขัน้ กลางปี ที่ t
qt = ปริมาณสินค้าขัน้ กลางปี ที่ t
P0 = ราคาผลผลิตปี ฐาน
p0 = ราคาสินค้าขัน้ กลางปี ฐาน 12
วิธีปรับค่ าแบบ Double Deflation (ต่ อ)
ข้อเสีย
อาจเกิดกรณีมูลค่ า ณ ราคาคงทีต่ ดิ ลบ ในขณะที่
มูลค่ าเพิม่ ณ ราคาประจำปี เป็ นบวก

13
ตัวอย่ างการคำนวณมูลค่ าเพิม่ ณ ราคาคงที่ แบบ Double Deflation

ปี ฐาน ปี ที่ t
ราคา ปริมาณ ราคา ราคา ปริมาณ ราคา ราคา
ประจำปี ประจำปี คงที่
ผลผลิต 100 100 10,000 110 100 11,000 10,000
สิ นค้ าขั้นกลาง A 10 500 5,000 20 300 6,000 3,000
สิ นค้ าขั้นกลาง B 30 100 3,000 10 300 3,000 9,000
รวมสิ นค้ าขั้นกลาง 8,000 9,000 12,000
มูลค่ าเพิม่ =ผลผลิต 2,000 2,000 -2,000
– สิ นค้ าขั้นกลาง
14
วิธีปรับค่ าแบบ Single Deflation
ปรับจากมูลค่ าเพิม่ ราคาประจำปี ให้ เป็ นมูลค่ าเพิม่ ณ
ราคาคงทีโ่ ดยตรง โดยไม่ ได้ มกี ารปรับมูลค่ าผลผลิตและ
สิ นค้ าขั้นกลางราคาประจำปี ให้ เป็ นราคาคงทีเ่ หมือนวิธีการ
แบบ Double Deflation
VA0 = VAt
It
โดยที่ VA0 = มูลค่าเพิ่มปี ฐาน
VAt = มูลค่าเพิ่มปี ที่ t
It = ดัชนี ราคาปี ที่ t
15
ปี ฐานอ้ างอิง

ในการจัดทำสถิตบิ ัญชีประชาชาติในราคาคงที่
เป็ นการคำนวณโดยใช้ ราคาอ้ างอิงปี เดียวกัน ดังนั้นปี
ฐานทีใ่ ช้ ในการอ้ างอิงจึงมีความสำคัญมาก เนื่องจากการ
วัดรายได้ ประชาชาติราคาคงทีเ่ ป็ นการวัดการขยายตัว
เชิงปริมาณ โดยให้ โครงสร้ างของความสั มพันธ์ ของ
ราคาสิ นค้ าและบริการไม่ เปลีย่ นแปลงไปจากปี ฐาน
16
ผลของการเลือกปี ฐานต่ างกัน
รายการ ปี ฐาน 2515 ปี ฐาน 2531
2542 2543 อ ัตรา 2542 2543 อ ัตรา
เพิม
่ เพิม

(%) (%)
สาข ปริมา 100 200 100 200
าA ณ 8 8 20 20
ราคา 800 1600 2000 4000
มูลค่า
สาข ปริมา 150 110 150 110
าB ณ 30 30 25 25
ราคา 4500 3300 3750 2750 17
สิ นค้ าทีก่ ระทบต่ อโครงสร้ างราคา

สิ นค้ าคุณภาพใหม่ (New qualities goods): สิ นค้ า


ทีผ่ ลิตอยู่เดิมแล้ วในระบบเศรษฐกิจ แต่ มกี าร
พัฒนาคุณภาพให้ เปลีย่ นแปลงไป
สิ นค้ าใหม่ (New products): สิ นค้ าทีเ่ กิดใหม่ ใน
ระบบเศรษฐกิจ
ทำให้ เกิดปัญหาการไม่ มีราคาอ้ างอิงในปี ฐาน
18
การจัดทำรายได้ ประชาชาติแบบ Chain Volume Measure

Chain Volume Measure เป็ นการวัดการเปลีย่ นแปลงเชิง


ปริมาณของการผลิตหรือการใช้ จ่าย ณ ราคาคงทีใ่ นปี ติดกันแทน
การวัดในราคาปี ฐานทีอ่ ยู่ห่างกัน แล้วเชื่อมอัตราการขยายตัวใน
อนุกรมระยะยาวสะสมจากการเคลือ่ นไหวรายปี (Chain linking)
โดยสู ตรทีใ่ ช้ คำนวณมี 3 แบบเหมือนดัชนีราคาหรือดัชนีปริมาณ
โดยทัว่ ไป

19
1. Chain Laspeyres Volume Measure
เป็ นการวัดมูลค่ าราคาคงทีป่ ี ปัจจุบันโดยใช้ ราคาปี ก่ อนหน้ า
เป็ น
น้ำหนักแทนการใช้ ราคา ณ ปี ฐานในแต่ ละปี แล้วเชื่อมเข้ าเป็ นอนุกรม
เดียวกัน โดยสามารถแสดงเป็ นสู ตรได้ ดงั นี้
Lcv0,t =  P0Q1   P1Q2  …   Pt-1Qt
 P0Q0  P1Q1  Pt-1Qt-1

20
2. Chain Paasche Volume Measure
เป็ นการวัดมูลค่ าราคาคงทีป่ ี ปัจจุบันโดยใช้ ราคาปี ปัจจุบัน
เป็ น
น้ำหนักแทนการใช้ ราคา ณ ปี ฐานในแต่ ละปี แล้วเชื่อมเข้ าเป็ นอนุกรม
เดียวกัน โดยสามารถแสดงเป็ นสู ตรได้ ดงั นี้
Pcv0,t =  P1Q1   P2Q2  …   PtQt
 P1Q0  P2Q1  PtQt-1

21
3. Chain Fisher Volume Measure
เป็ นการวัดมูลค่ าราคาคงทีป่ ี ปัจจุบันโดยหาค่ าเฉลีย่ แบบ
เรขาคณิตจาก Chain Lasperyres Volume Index และ Chain
Passche Volume Index โดยสามารถแสดงเป็ นสู ตรได้ ดงั นี้

Fcv0,t = Lcv0,t  Pcv0,t

22
ดัชนีทางตรง ดัชนีทางอ้ อม และดัชนีลูกโซ่
การเปรียบเทียบข้ อมูลในลักษณะทีเ่ ป็ นอนุกรมเวลาตั้งแต่ 3 ปี หรือ
3 ช่ วงเวลาขึน้ ไป จะได้ ผลลัพธ์ ทแี่ ตกต่ างกัน ถ้ าใช้ ดชั นีความสั มพันธ์ ที่
แตกต่ างกัน
 ดัชนีทางตรง คือ ดัชนีทใี่ ช้ เปรียบเทียบระหว่ าง 2 ช่ วงเวลาโดยตรง
 ดัชนีทางอ้ อม คือ ดัชนีทไี่ ด้ จัดทำขึน้ จากดัชนีทางตรงอย่ างน้ อย 2 ดัชนี
ขึน้ ไปทีเ่ กีย่ วข้ องกันอย่ างน้ อยระหว่ าง 1 ช่ วงเวลา จัดทำขึน้ เพือ่ ให้
ข้ อมูล 2 ช่ วงเวลาทีต่ ้ องการสามารถเปรียบเทียบกันได้
 ดัชนีลูกโซ่ คือ ดัชนีทางอ้อมทีเ่ ชื่อมกันมากกว่ า 2 ช่ วงเวลาขึน้ ไป

23
ตัวอย่ าง ดัชนีทางตรง

ิ ค้า
สน ปี ที่ 1 ปี ที่ 2 ปี ที่ 3
Q1 P1 P1*Q1 Q2 P1*Q2 Q3 P1*Q3

A 10 8 80 15 120 18 144
B 15 12 180 15 180 16 192
C 20 5 100 25 125 25 125
มูลค่า 360 425 461
รวม
ด ัชนีทางตรง (ปี ที่ 100 118.1 128.1
24
ตัวอย่ าง ดัชนีทางอ้ อม และดัชนีลูกโซ่
ิ ค้า ปี ที่ 1 ปี ที่ 2 ในราคาปี ปี ที่ 2 ในราคา
สน ปี ที3่
ที่ 1 ปี ที่ 2
Q1 P1 P1*Q1 Q2 P1*Q2 Q2 P2 P2*Q2 Q3 P2*Q3

A 10 8 80 15 120 15 6 90 18 108
B 15 12 180 15 180 15 14 210 16 224
C 20 5 100 25 125 25 6 150 25 150

มูลค่า 360 425 450 482


25
ดัชนีทางตรง ดัชนีทางอ้ อม และดัชนีลูกโซ่ (ต่ อ)
ทางทฤษฎี: การเปรียบเทียบทางตรงดีกว่ า
ทางปฏิบัติ: ข้ อมูลทีเ่ ป็ นอนุกรมเวลายากในการเปรียบเทียบทางตรง
ทั้งหมด
ดังนั้นในทางปฏิบัติจึงทำการเปรียบเทียบข้ อมูลทางตรงเพียง
n-1 ค่ ู (ในกรณีทมี่ ีข้อมูล n ปี ) ส่ วนดัชนีอื่นๆ เป็ นดัชนีทางอ้ อมทัง้ สิ้น

26
สถิตริ ายได้ ประชาชาติเปรียบเทียบโดยใช้ ดชั นีทางอ้ อม

Base Year เปรี ยบเทียบอัตราการขยายตัวผ่ านปี ฐาน


Chain Volume Measure เปรี ยบเทียบอัตราการขยายตัว
ของค่ ปู ี ติดกันโดยตรง

27
การเปลีย่ นจากระบบปี ฐานสู่ Chain Volume Measure
 ปัญหาของการประมวลผลแบบ fixed-weighted volume measures
 ในปัจจุบันรายได้ ประชาชาติ ณ ราคาคงทีใ่ ช้ ดชั นีปริมาณทีม่ ตี วั ถ่ วงน้ำ
หนักคงที่ (fixed-weighted volume index) แบบ Laspeyres index โดย
ใช้ ราคาในปี พ.ศ.2531 ซึ่งเป็ นปี ฐานทีเ่ ก่ ามาก
 อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ (GDP growth rate) ทีค่ ำนวณได้ จากการ
ใช้ ราคาปี ฐานที่ “เก่ า” เกินไปมักจะมีค่าทีส่ ู งกว่ าทีค่ วรจะเป็ น เพราะจะ
ให้ น้ำหนักมากเกินไป (น้ อยเกินไป) แก่ สินค้ าทีม่ รี าคาถูกลง (แพงขึน้ )
และทีม่ ปี ริมาณมากขึน้ (ลดลง) [“substitution bias”]

28
การเปลีย่ นจากระบบปี ฐานสู่ Chain Volume Measure

 ปัญหาของการประมวลผลแบบ fixed-weighted volume measures


 การใช้ ปีฐานทีย่ ้ อนหลังไปมากๆ การปรับเปลีย่ นปี ฐานใหม่ แต่ ละครั้งจะ
ทำให้ ต้องปรับลดผลการคำนวณอัตราการเติบโตในอดีตลงจากเดิมใน
สั ดส่ วนทีม่ ากจนอาจไม่ เป็ นทีย่ อมรับได้
 ผลการคำนวณอัตราการเติบโตแบบ Laspeyres index มักจะให้ ค่าทีส่ ู ง
กว่ าผลการคำนวณแบบ Paasche index ความแตกต่ างระหว่ างผลการ
คำนวณ 2 แบบนี้ เรียกว่ า “Laspeyres–Paasche gap”

29
Laspeyres - Passche Volume Index Gap
ปี ฐาน 1988 ปี ฐาน 2005
Laspeyres

เส้นที่ควรจะเป็ น
Gap

Passche

30
การเปลีย่ นจากระบบปี ฐานสู่ Chain Volume Measure

 ปัญหาของการประมวลผลแบบ fixed-weighted volume measures


 ผลการคำนวณอัตราการเติบโตแบบ Laspeyres index มักให้ ค่าทีส่ ู งกว่ า
อัตราการเติบโตทีแ่ ท้ จริง (true growth) ในทางตรงกันข้ ามผลการ
คำนวณแบบ Paasche index มักให้ ค่าทีต่ ่ำกว่ าอัตราการเติบโตทีแ่ ท้ จริง
และการคำนวณแบบ Fisher จะให้ ค่าทีใ่ กล้ เคียงกับอัตราการ
เปลีย่ นแปลงทีแ่ ท้ จริงมากทีส่ ุ ด

31
 chained volume measures ดีกว่ า fixed-weighted volume measures
 ดัชนีแบบ chained (หรือดัชนีลูกโซ่ ) ใช้ ชุดราคาทีเ่ ปลีย่ นไปในทุกช่ วง
เวลาของการคำนวณ โดยการเชื่อมโยงดัชนีสำหรับช่ วงเวลาต่ างๆ ทีอ่ ยู่ตดิ
กัน
เช่ น CI5,1 = DI5,4 x DI4,3 x DI3,2 x DI2,1
โดย CIj,i คือ ดัชนีลูกโซ่ สำหรับปี ที่ j เทียบกับปี ที่ i
DIj,i คือ ดัชนีโดยตรง (direct index) สำหรับปี ที่ j
เทียบ
กับปี ที่ i

32
แนวคิดเกีย่ วกับปี ฐาน
 chained volume measures ดีกว่ า fixed-weighted volume measures
 ดัชนีแบบ chained มีคุณสมบัตทิ ดี่ กี ว่ าดัชนีแบบ fixed–weighted โดย
คำนวณอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจได้ แม่ นยำกว่ า เพราะมีการเพิม่
ข้ อมูลราคาทีท่ นั สมัยเพือ่ ใช้ เป็ นน้ำหนักในการคำนวณทุกๆ ปี ทำให้ ลด
L-P gap ลง
 ดัชนีแบบ chained สามารถเพิม่ ข้ อมูลเกีย่ วกับกิจกรรม/สิ นค้ าชนิดใหม่ ๆ
เข้ าไปได้ ตลอดช่ วงอนุกรม
 แต่ ดชั นีแบบ chained ก็มขี ้ อบกพร่ องหนึ่ง คือ ค่ าของส่ วนประกอบ
(components) รวมกันจะไม่ จำเป็ นต้ องเท่ ากับค่ าของยอดรวม
(aggregates) เรียกว่ า non–additivity

33
พิสูจน์ Substitution Bias ระหว่ าง Fixed-Weight Index และ Chain Index ทั้งแบบ
Laspeyres Paasche และ Fisher

คำนวณรายได้ ประชาชาติ ณ ราคาคงที่ชดุ ใหม่ ปรับค่าด้ วยดัชนีปริ มาณต่อไปนี ้


 Fixed-weight Index ซึง่ ใช้ ราคาของปี ต่างๆ เป็ นตัวถ่วงน้ำหนัก
 Annual Chain Index แบบ Laspeyres
 Annual Chain Index แบบ Paasche
 Annual Chain Index แบบ Fisher

คำนวณอัตราการเติบโตของ GDP และส่วนประกอบสำคัญ ทัง้ Production


Approach (สาขาการผลิต 16 สาขา) และ Expenditure Approach ( Private
consumption expenditure, Government consumption expenditure
และGross fixed capital formation)

34
พิสูจน์ Substitution Bias ระหว่ าง Fixed-Weight Index และ Chain Index ทั้งแบบ
Laspeyres Paasche และ Fisher

เพื่อหาคำตอบว่า
 การเปลี่ยนปี ฐาน ทำให้ Growth rate ในการคำนวณด้ วย Fixed-weighted Index
เปลี่ยนไปอย่างไร
 Annual chain index ลด L-P gap ได้ หรื อไม่ เมื่อเทียบกับ Fixed-weighted
Index
 Fixed-weighted index แตกต่างจาก Annual chain index แบบ Fisher หรื อไม่
 Annual chain index แบบ Laspeyres แตกต่างจาก Annual chain index แบบ
Fisher หรื อไม่

35
พิสูจน์ Substitution Bias ระหว่ าง Fixed-Weight Index และ Chain Index ทั้งแบบ
Laspeyres Paasche และ Fisher

 การเปลี่ยนปี ฐาน ทำให้ Growth rate ในการคำนวณด้ วย Fixed-weighted Index


เปลี่ยนไปอย่างไร
การใช้ ปีฐานที่ทนั สมัยขึ ้น มีแนวโน้ มที่จะทำให้ ผลการคำนวณ Growth rate มีคา่
ลดลง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง GDP รวมและสาขาการผลิตสำคัญ
ปี ฐาน Growth rate(%)
พ.ศ. 2531 3.58
พ.ศ. 2536 - 38 ~3.1
พ.ศ. 2539 - 46 ~2.8
36
พิสูจน์ Substitution Bias ระหว่ าง Fixed-Weight Index และ Chain Index ทั้งแบบ
Laspeyres Paasche และ Fisher

 Annual chain index ลด L-P gap ได้ หรื อไม่ เมื่อเทียบกับ Fixed-weighted Index
การใช้ Annual chain index สามารถลด L-P gap ได้ เมื่อเทียบกับ Fixed-
weighted Index สำหรับ GDP และ สาขาการผลิตส่วนใหญ่ ยกเว้ น สาขา
เกษตรกรรม สาขาขนส่ง และ สาขาการเงิน

Expenditure Approach
ผลการคำนวณไม่สามารถสรุปได้ ชดั เจน ซึง่ เป็ นเพราะข้ อมูล Inventory
Change มีคา่ เป็ นลบค่อนข้ างมากในปี 2540-2542 บิดเบือนการคำนวณดัชนีปริ มาณ
แต่เมื่อตัดออกก็ให้ ผลการคำนวณในทิศทางเดียวกันกับ Production Approach

37
พิสูจน์ Substitution Bias ระหว่ าง Fixed-Weight Index และ Chain Index ทั้งแบบ
Laspeyres Paasche และ Fisher

 Fixed-weighted index และ Annual chain index แบบ Laspeyres แตกต่างจาก


Annual chain index แบบ Fisher หรื อไม่
ค่าความคลาดเคลื่อนของอัตราการขยายตัวทาง
กรณีศกึ ษา
เศรษฐกิจ ในการคำนวณแบบ Fixed-weighted
ประเทศไทย
0.56 percentage point
พ.ศ. 2536-2546 (2531)
สหรัฐอเมริ กา
0.5 percentage point
ค.ศ. 1991-1995 (1987)
ออสเตรเลีย
0.1 percentage point
ค.ศ.1990-1997 (1989-90)
38
พิสูจน์ Substitution Bias ระหว่ าง Fixed-Weight Index และ Chain Index ทั้งแบบ
Laspeyres Paasche และ Fisher

 Fixed-weighted index และ Annual chain index แบบ Laspeyres แตกต่างจาก


Annual chain index แบบ Fisher หรื อไม่
ประเทศไทย ค่าความคลาดเคลื่อนของ ค่าความแตกต่างของ GDP ในปี 2546
พ.ศ. 2536-2546 อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ เมื่อเทียบกับ Chain Fisher
Fixed-weighted
0.56 percentage point 5.39%
(2531)

Chain Laspeyres 0.07 percentage point 0.64%

39
พิสูจน์ Substitution Bias ระหว่ าง Fixed-Weight Index และ Chain Index ทั้งแบบ
Laspeyres Paasche และ Fisher

 ค่าความแตกต่างระหว่างผลรวมของส่วนประกอบของ GDP และ GDP ที่คำนวณได้


โดยตรงโดยใช้ Annual Chained Index

ค่าความแตกต่าง
Production Approach 1 – 2%
Expenditure Approach ~ 7%
Expenditure Approach excluded
~ 3.36%
inventory change

40
การปรับปี ฐานสถิติรายได้ประชาชาติของประเทศไทย
ปี ฐาน พ.ศ. 2499: ชุดอนุกรม พ.ศ. 2494-2506 เป็ นปี ฐานแรกของ
ประเทศไทยที่ใช้ในการคำนวณรายได้ประชาชาติ ณ ราคาคงที่
ปี ฐาน พ.ศ. 2505: ชุดอนุกรม พ.ศ. 2503-2518 เป็ นชุดแรกที่มีการนำเสนอ
ค่าสถิติตามระบบมาตรฐาน (1953 SNA)
ปี ฐาน พ.ศ. 2515: ชุดอนุกรม พ.ศ. 2513-2533 เป็ นชุดแรกที่มีการประมวล
ผลทางด้านรายได้ ทำให้มีการคำนวณครบถ้วนทัง้ 3 ด้าน
ปี ฐาน พ.ศ. 2531: เป็ นปี ฐานที่ใช้อยู่ในปัจจุบนั ซี่งมีการเพิ่มรายการ
คำนวณใหม่ ปรับปรุงวิธีการคำนวณ และเปลี่ยนแปลงแหล่งข้อมูลที่ใช้ใน
การคำนวณ รวมทัง้ ปี ฐานที่ห่างจากเดิมมาก ทำให้รายได้ประชาชาติ ณ
ราคาคงที่สงู ขึน้ ถึงปี ละ 864,300 ล้านบาท แต่ไม่ได้ทำให้ทิศทางและ
โครงสร้างของระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงไปอย่างมีนัยสำคัญ
41
แนวทางการคัดเลือกปี ฐาน
ปี ทีเ่ ป็ นปัจจุบันหรือใกล้เคียงปี ปัจจุบัน
ปี ทีภ่ าวะเศรษฐกิจปกติ
ปี เริ่มต้ นของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ
ปี ทีม่ ขี ้ อมูลการสำมะโน สำรวจหรือการใช้ ระบบข้ อมูลใหม่
ปี ทีเ่ ป็ นปี ฐานของดัชนีราคาผู้ผลิตหรือดัชนีราคาผู้บริโภค
ปี ทีม่ กี ารจัดทำตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต

42
การศึกษาและคัดเลือกปี ฐาน (base year) ทีเ่ หมาะสม

ปี ที่เป็ นปั จจุบันมากที่สุด



น่าจะพิจารณาเฉพาะ 5 ปี ล่าสุด คือ ปี พ.ศ. 2544

 ปี ที่เศรษฐกิจอยู่ในภาวะปกติ
อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
 ค่อนข้ างต่ำในปี 2544 (2.2%)
 อยูใ่ นเกณฑ์ปกติในปี 2545-2547 (ระหว่าง 4%-7
 ยังไม่แน่นอนสำหรับปี 2548 (คาดว่า 3%-4%

43
การศึกษาและคัดเลือกปี ฐาน (base year) ทีเ่ หมาะสม

 ปี ที่เศรษฐกิจอยู่ในภาวะปกติ
อัตราเงินเฟ้อ (ทัง้ headline และ core)
- ต่ำตามปกติในปี 2544-2546 (ไม่เกิน 2%)
- เริ่ มสูงขึ ้นบ้ างในปี 2547 (headline inflation =2.7
- สูงเกินปกติในปี 2548 (headline inflation ประมาณ

44
การศึกษาและคัดเลือกปี ฐาน (base year) ทีเ่ หมาะสม
 ปี ที่เศรษฐกิจอยู่ในภาวะปกติ
ฐานะทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
- เกินดุลการค้ าและดุลบัญชีเดินสะพัดทุกปี
ยกเว้ นปี 2548
- มูลค่าการนำเข้ าและส่งออกลดลงในปี 2544
- เงินทุนสุทธิไหลออกทุกปี ยกเว้ นปี 2547 และ
2548
- บัญชีชำระเงินระหว่างประเทศ (Balance of
Payment) เกินดุลทุกปี (ต่ำสุดในปี 2546 และ
สูงสุดในปี 2547)
- ทุนสำรองระหว่างประเทศเพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่อง 45

- หนี ้ต่างประเทศคงค้ างลดลงอย่างต่อเนื่อง


การศึกษาและคัดเลือกปี ฐาน (base year) ทีเ่ หมาะสม

 ปี ที่เศรษฐกิจอยู่ในภาวะปกติ
นโยบายการคลัง
- งบประมาณขาดดุลในปี 2544-2545
- งบประมาณเกินดุลเล็กน้ อยในปี 2546-2547
- งบประมาณขาดดุลเล็กน้ อยในปี 2548
- หนี ้สาธารณะมีแนวโน้ มเพิ่มขึ ้นบ้ าง แต่ลดลงเมื่อเทียบ
กับ GDP

46
การศึกษาและคัดเลือกปี ฐาน (base year) ทีเ่ หมาะสม

 ปี ที่เศรษฐกิจอยู่ในภาวะปกติ
การเงิน
- ปริ มาณเงินขยายตัวไม่มาก
- สภาพคล่องสูง
- อัตราดอกเบี ้ยค่อนข้ างต่ำ มีแนวโน้ มลดลง แต่
เพิ่มขึ ้นในปี 2548
- เงินบาทมีแนวโน้ มแข็งขึ ้น เทียบกับเงินดอลลาร์
สหรัฐ

47
การศึกษาและคัดเลือกปี ฐาน (base year) ทีเ่ หมาะสม

 ปี เริ่มต้ นของแผนพัฒนาฯ
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 : 2545-2549
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 : 2550-2554

48
การศึกษาและคัดเลือกปี ฐาน (base year) ทีเ่ หมาะสม

 ปี ที่มีข้อมูลสำมะโน/สำรวจ หรื อการใช้ ข้อมูลระบบใหม่

สำมะโน การสำรวจ
ภาคเกษตร 2536, 2546
ภาคอุตสาหกรรม 2540 2533, 2534, 2535,
อนาคต 2537, 2538, 2540,
(2549-50) 2542, 2543, 2544,
2546
ภาคการค้ าและ 2545 2535, 2537, 2538,
บริการ 2542, 2543, 2545,
2546 49
การศึกษาและคัดเลือกปี ฐาน (base year) ทีเ่ หมาะสม

 ปี ที่เป็ นปี ฐานของดัชนีราคาฯ


ปี ฐานของดัชนีราคาผู้บริ โภค : 2541 และ 2545
ปี ฐานของดัชนีราคาผู้ผลิต : 2543

50
การศึกษาและคัดเลือกปี ฐาน (base year) ทีเ่ หมาะสม

 ปี ที่มีการจัดทำข้ อมูลตารางปั จจัยการผลิตและผลผลิต


ปี ล่าสุด คือ 2543

 ปี ที่ลงท้ ายด้ ยเลขศูนย์ หรื อเลขห้ า (นับตาม ค.ศ.)


ค.ศ. 2005 (พ.ศ.2548)

51
การศึกษาและคัดเลือกปี ฐาน (base year) ทีเ่ หมาะสม

 สรุ ป
ปี พ.ศ. 2545 สอดคล้ องกับหลักเกณฑ์มากที่สดุ
- ปี ที่เศรษฐกิจอยูใ่ นภาวะค่อนข้ างปกติ
- ปี เริ่ มต้ นของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9
- ปี ที่มีข้อมูลสำมะโน/สำรวจ เกือบทุกสาขา
(เกษตร อุตสาหกรรมการผลิต การค้ าและ
บริ การ)
- ปี ฐานของดัชนีราคาผู้บริ โภค

52
แผนงานการปรับเปลี่ยนปี ฐาน
ระยะที่ 1: ในปี 2548 ศึกษาแนวทางการประมวลผล คัดเลือก
ปี ฐานทีเ่ หมาะสม ศึกษาและรวบรวมข้ อมูลกิจกรรมใหม่
ศึกษาและปรับปรุงวิธีการคำนวณรายกาต่ างๆ วางแนวทาง
ระบบประมวลผลให้ มปี ระสิ ทธิภาพ
ระยะที่ 2: ในปี 2549 ประมวลผลรายได้ ประชาชาติปีฐานให้
เสร็จสมบูรณ์ เป็ นเบือ้ งต้ น
ระยะที่ 3: ในปี 2550 จัดทำสมดุลระหว่ างรายได้ ประชาชาติ
ปี ฐานใหม่ ท้งั 3 ด้ าน คือ ด้ านการผลิต ด้ านรายจ่ าย และด้ าน
รายได้ และจัดสั มมนาเพือ่ รับฟังข้ อเสนอแนะ

53
ขอบคุณ

54

You might also like