You are on page 1of 162

เศรษฐศาสตร์มหภาค

ผศ.ดร. อนิณ อรุณเรืองสวัสดิ์

1
เศรษฐศาสตร์จุลภาค และเศรษฐศาสตร์มหภาค

ก่อนเศรษฐกิจโลกตกต ่า ค.ศ. 1930


 ไม่มีการแบ่งเนื้อหาการศึกษาเศรษฐศาสตร์จล ุ ภาค และเศรษฐศาสตร์มหภาค
อย่างชัดเจน
 นักเศรษฐศาสตร์เชื่อว่า ระดับการจ้างงานเต็มที่เสมอ และอุปทานจะสร้าง
อุปสงค์โดยอัตโนมัติ ดังนั้น ผลิตสินค้าออกมาขายในตลาด ก็จะมีอปุ สงค์ตอ่
สินค้านั้นในปริมาณเดียวกัน
 จากแนวคิดนี้ จึงเชื่อว่าไม่มีปัญหาในทางเศรษฐกิจมหภาค ทั้งที่เกี่ยวกับภาวะ

สินค้าล้นตลาดและปั ญหาการว่างงาน

2
ค.ศ.1936: Keynesian School
 ภาวะเศรษฐกิจตกต ่าในช่วง ค.ศ.1929-1933 ทาให้ผลผลิตลดลง เกิดปั ญหา

การว่างงาน รายได้ตกต ่าอย่างหนัก


 ปรากฏการณ์น้ ีใช้ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ก่อนหน้านี้มาอธิบายไม่ได้

3
 ค.ศ.1936 John Maynard Keynes เขียนหนังสือ
ชื่อ The General Theory of Employment, Interest
and Money อธิบายสาเหตุของปั ญหาเศรษฐกิจ
ว่าเกิดจาก อุปสงค์ที่ไม่เพียงพอที่จะซื้อสินค้าที่
ผลิตออกสูร่ ะบบเศรษฐกิจ เมื่อสินค้าล้นตลาด
จึงทาให้การผลิตและการจ้างงานลดลง เกิด
ปั ญหาการว่างงาน
 ทางแก้ไข จะต้องอาศัยการแทรกแซงของ
รัฐบาล โดยการใช้จา่ ยเงินงบประมาณเพิ่มขึ้น
และ/หรือ ลดการเก็บภาษี เพื่อสร้างอุปสงค์ตอ่
สินค้าในระบบเศรษฐกิจให้สูงขึ้น

4
 แนวคิดและทฤษฎีของ Keynes ให้ความสนใจปั ญหาเศรษฐกิจในระดับมวล
รวม และอธิบายเกี่ยวกับบทบาทของรัฐบาลในการแทรกแซงระบบเศรษฐกิจ
 เนื้อหาของวิชาเศรษฐศาสตร์ จึงถูกแบ่งเป็ น 2 ส่วน คือ
 เศรษฐศาสตร์จล
ุ ภาค (Microeconomics) ศึกษาพฤติกรรมและ
ปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจในระดับหน่วยย่อย เช่นการกาหนดราคา
ของสินค้าแต่ละชนิด พฤติกรรมของผูบ้ ริโภค ผูผ้ ลิต เป็ นต้น

 เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics) ศึกษาพฤติกรรมและ


ปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจโดยส่วนรวม(Aggregate) เช่น ผลผลิต
มวลรวม รายได้ประชาชาติ การบริโภคมวลรวม การลงทุนมวลรวม
การใช้จา่ ยของรัฐบาล และการจ้างงาน เป็ นต้น
5
เศรษฐศาสตร์มหภาค: ขอบเขต เป้ าหมาย และนโยบาย

เป้ าหมายทางเศรษฐกิจ และ ตัวอย่างปั ญหาในทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้อง


 ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ…… ปั ญหาเศรษฐกิจตกต ่า
 การจ้างงานเต็มที่ ….. ปั ญหาการว่างงาน
 เสถียรภาพทางด้านราคา….ปั ญหาเงินเฟ้ อ เงินฝื ด
 การกระจายรายได้ที่เป็ นธรรม…..ปั ญหาความไม่เท่าเทียมกันในการกระจายรายได้
 เสถียรภาพภายนอก…..ปั ญหาการขาดดุลการชาระเงิน
 ความมั ่นคงทางเศรษฐกิจ….ปั ญหาสวัสดิการทางสังคม

6
ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (Economic Growth)
 คือ เป้ าหมายที่จะทาให้ปริมาณผลผลิตของระบบเศรษฐกิจมีการขยายตัว เพื่อ

ทาให้ผลผลิตของระบบเศรษฐกิจเหล่านี้สามารถสนองตอบความต้องการของ
สังคมได้มากที่สุด ภายใต้เงื่อนไขที่ปัจจัยการผลิตมีอยูอ่ ย่างจากัด
>> ดู GDP Growth
การจ้างงานเต็มที่ (Full employment)
 คือ เป้ าหมายที่ตอ
้ งการให้มีงานสาหรับคนทุกคนที่มีความต้องการทางาน และ
สามารถทางานได้ ไม่มีการว่างงานโดยไม่สมัครใจเกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจ
เป้ าหมายนี้ต้องการทาให้ระบบเศรษฐกิจมีการใช้ปัจจัยการผลิตอย่างเต็มที่
คือ เกิดประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากรสูงที่สุด
>> ดู อัตราการว่างงาน

7
เสถียรภาพทางด้านราคา (Price stability)
 คือ เป้ าหมายที่ตอ้ งการให้ระดับราคาสินค้าและบริการต่างๆ ภายในประเทศ
ไม่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างผันผวน นั ่นคือ สามารถเปลี่ยนแปลงได้แต่ตอ้ ง
ไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงอย่างรวดเร็ว
>> ดูอตั ราเงินเฟ้ อ
การกระจายรายได้ที่เป็ นธรรม (An equitable Distribution of income)
 คือ รายได้หรือผลผลิตที่เกิดขึ้นมาในระบบเศรษฐกิจ ควรมีการสัดสรรไปสูม ่ ือ
ของประชาชนทุกๆ คนในระบบเศรษฐกิจอย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่ให้คนกลุ่ม
ใดกลุ่มหนึ่งเผชิญกับความยากจนในขณะที่กลุ่มคนอีกกลุ่มหนึ่งมีรายได้สูง
มาก
>> ดู สัดส่วนของรายได้ของคนรวยสุดต่อรายได้ของคนจนสุด ฯลฯ

8
เสถียรภาพภายนอก (External balance)
 คือ เนื่องจากระบบเศรษฐกิจของประเทศซึ่งมีความสัมพันธ์อยูก ่ บั ต่างประเทศ
เป้ าหมายนี้จึงมีข้ ึนมาเพื่อต้องการทาให้ระบบเศรษฐกิจของประเทศไม่ประสบ
กับปั ญหาดุลการค้า ดุลการชาระเงิน รวมทั้งเกิดเสถียรภาพในระดับอัตรา
แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
>> ดู ดุลการค้า ดุลการชาระเงิน อัตราแลกเปลี่ยน
ความมั ่นคงทางเศรษฐกิจ (Economic Security)
 เป็ นเป้ าหมายที่ตอ ้ งการทาให้ประชาชนทุกๆ คนในระบบเศรษฐกิจมีความ
มั ่นคงในดารดาเนินชีวิต ทั้งในด้านของการปราศจากปั ญหาการว่างงาน
ปั ญหาการศึกษา ปั ญหาไม่มีบานาญหรือค่าเลี้ยงดูเมื่ออยูใ่ นวัยชรา ปั ญหาการ
รักษาสิ่งแวดล้อม

9
ลักษณะเศรษฐกิจทีพ่ งึ ปรารถนา:
 อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องและมีเสถียรภาพ
 อัตราการว่างงานตา่
 อัตราเงินเฟ้ อตา่
 อัตราแลกเปลีย
่ นทีไ่ ม่ผนั ผวนมากและเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจ
 มีการกระจายรายได้ทเ่ี ป็ นธรรม

เราจะสามารถบรรลุเป้ าหมายทุกๆข้อพร้อมกันได้หรือไม่ ?!!!

10
ปั จจัยที่มีผลต่อตัวแปรเศรษฐกิจมหภาค

 ตัวแปรนโยบาย
 เครื่องมือการดาเนินการต่างๆ ของรัฐบาล เพื่อให้เศรษฐกิจเป็ นไปตาม
เป้ าหมายที่ตอ้ งการ

 ตัวแปรภายนอกอื่นๆ
 เป็ นสิ่งที่ควบคุมไม่ได้ แต่มีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ

11
ตัวแปรนโยบาย
Fiscal Policy แผนการใช้จา่ ย การเก็บภาษี และการก่อหนี้ สาธารณะของ
รัฐบาล เพื่อปรับให้รายจ่ายมวลรวมเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งย่อม
กระทบต่อระดับรายได้ประชาชาติดว้ ย

Monetary Policy นโยบายที่ธนาคารกลางใช้ในการควบคุมปริมาณเงิน ฐานเงิน


ปริมาณสินเชื่อ และค่าของเงินให้อยูภ่ ายใต้ขอบเขตที่
เหมาะสม

Income policies นโยบายต่างๆ ของรัฐบาลที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงระดับ


รายได้ของประชาชนในระบบเศรษฐกิจ

นโยบายของรัฐบาลที่มีผลต่อรูปแบบ ทิศทาง ขนาด และ


Foreign Economic Policies
องค์ประกอบของการทากิจกรรมทางเศรษฐกิจระหว่าง
ประเทศ

12
ตัวแปรเศรษฐศาสตร์มหภาค
• ตัวแปรสต็อก - ตัวแปรกระแส
• ตัวแปรที่เป็ นตัวเงิน - ตัวแปรที่แท้จริง
• ตัวอย่างตัวแปรเศรษฐศาสตร์มหภาคที่สาคัญ

13
ตัวแปรสต็อก และตัวแปรกระแส:
ความหมายและความแตกต่าง
 ตัวแปรสต็อก (Stock variables) และตัวแปรกระแส (Flow variables) เป็ นตัว
แปรที่สามารถวัดขนาด และสามารถ เพิ่มขึ้น/ลดลง ได้เมื่อเวลาผ่านไป

 ตัวแปรสต็อก เป็ นจานวนหรือปริมาณที่สามารถวัดได้ ณ จุดหนึ่งของเวลา (at


a point of time)

 ตัวแปรกระแส เป็ นจานวนหรือปริมาณที่สามารถวัดได้ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง


(In a period of time)

14
ตัวอย่าง ตัวแปรสต็อก และตัวแปรกระแส
ตัวแปรกระแส (ช่วงเวลา) ตัวแปรสต็อก (จุดเวลา)
1. น้ าไหลเข้าอ่างเก็บน้ านาทีละ 200 ลบ.ม. ระดับน้ าในอ่างเก็บน้ าเมื่อ 08.00 น. ของวันที่
14 มิถุนายน 2553 วัดได้ 50 ล้าน ลบ.ม.
2. น.ส. แสนดี นาเงินไปฝากธนาคารเดือนละ เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2552 น.ส. แสนดีมีเงิน
5,000 บาท ฝากอยูใ่ นธนาคาร 50,000 บาท

3. ระหว่างวันที่ 31 ธันวาคม 2546 และ 31 เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2547 บริษทั เถ้าแก่ใหญ่


ธันวาคม 2547 บริษทั เถ้าแก่ใหญ่มีสินค้า มีสินค้าคงเหลือนับเป็ นมูลค่า 5,000,000 บาท
คงเหลือเพิ่มขึ้น 200,000 บาท

4. ปริมาณการลงทุน ทุน, ปริมาณเงิน


ตัวแปรสต๊ อกและตัวแปรกระแสมีความเกีย่ วข้ องซึ่งกันและกัน
เช่ น ถ้ านา้ ไหลเข้ าอ่ างมาก ในอ่ างก็จะมีนา้ อยู่มาก
15
ตัวแปรที่เป็ นตัวเงิน และ ตัวแปรที่แท้จริง (Nominal VS Real
variables) : ตัวอย่างรายได้ที่แท้จริง
 ในปี 2550 ส้ม 1 kg ราคา 20 บาท มีรายได้ 100 บาท ซื้อส้มได้ 5 kg
 ในปี 2560 ส้ม 1 kg ราคา 25 บาท มีรายได้ 100 บาท ซื้อส้มได้ 4 kg
 รายได้ที่เป็ นตัวเงินในปี 2550 และ 2550 เท่ากับ 100
 รายได้ที่แท้จริง (วัดในรูปของปริมาณส้มที่ซ้ ือได้) เท่ากับ ส้ม 5 kg ในปี 2550
และ เท่ากับสัม 4 kg ในปี 2560
 ตัวแปรไหนให้แสดงรายได้ ได้ดีกว่ากัน?

16
ตัวแปรที่เป็ นตัวเงิน และ ตัวแปรที่แท้จริง (Nominal VS Real
variables) : ตัวอย่างอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง
 ในปี 2555 อัตราดอกเบี้ยเท่ากับ 10% หมายความว่า ฝากเงินตอนต้นปี 100
บาทได้เงิน 110 บาทตอนปลายปี
 ในปี 2555 อัตรเงินเฟ้ อเท่ากับ 10% หมายความว่า ราคาสินค้าเพิ่มขึ้น 10%
เช่น ของราคา 100 บาทในต้นปี จะมีราคา 110 บาทในปลายปี
 อัตราดอกเบี้ยที่เป็ นตัวเงิน (nominal interest rate) คือ 10% เงิน 100
กลายเป็ น 110 บาท
 อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (real interest rate) คือ 0% (อัตราดอกเบี้ยทีเ่ ป็ นตัว
เงิน – อัตราเงินเฟ้ อ) เพราะว่า หากคิดในรูปของสิ่งของที่สามารถซื้อได้ จะ
ได้ปริมาณเท่าเดิม
 อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงสะท้อน อัตราดอกเบี้ยได้ดีกว่า
17
ตัวแปรที่สาคัญทางเศรษฐกิจมหภาค ได้แก่

GDP รายได้เฉลี่ยต่อหัว

อัตราเงินเฟ้ อ อัตราการว่างงาน

การกระจายรายได้ สวัสดิการสังคม

18
เป้ าหมายของนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
1. การเติบโตทางเศรษฐกิจ 3. เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
(Economic Growth) (Economic Stability)

2. การจ้างงานหรือการใช้ 4. การกระจายรายได้
ทรัพยากรเต็มที่ (Income Distribution)
(Full Employment)
เป้ าหมายที่หนึ่ ง: การเติบโตทางเศรษฐกิจ
 GDP มีอตั ราการเจริญเติบโตสูง
 เทียบ GDP ปี น้ ี กบั ปี กอ่ น ดูว่า GDP ปี น้ ี เปลี่ยนแปลงจากปี กอ่ น กี่ %

GDP Growth =
GDPt - GDPt-1
______________ X 100
GDPt-1

 เติบโตอย่างมี เสถียรภาพ
 GDP ไม่เพิ่มขึ้น และลดลงเร็วเกินไป (ผันผวนเกินไป)
 การที่เศรษฐกิจมีความผันผวนมากเกินไป เป็ นผลเสียต่อทัง้ ธุรกิจและประชาชน ที่ตอ้ ง
ประสบกับความไม่มนั ่ คง
20
อัตราการเจริญเติบโตของ GDP ของไทย

https://www.sanook.com/money/463805/

21
เป้ าหมายที่สอง: การจ้างงานหรือการใช้ทรัพยากรเต็มที่
 ภาวะการจ้างงานเต็มที่ ใช้ทรัพยากรเต็มที่
 อัตราการว่างงานตา่

 กาลังแรงงาน (Labor force) คือ คนที่ถงึ วัยทางาน สามารถทางานและ


ต้องการทางานทัง้ หมดในระบบเศรษฐกิจ
 ผูไ้ ม่มีงานทา (Unemployment Labor) คือ แรงงานที่อยู่ใน
ตลาดแรงงาน แต่ไม่มีงานทา

Unemployment Rate = Unemployment


100
LaborForce
22
การสารวจภาวะการทางานของประชากร

ที่มา : สานักงานสถิติแห่งชาติ

23
 ผูม้ ีงานทา หมายถึง บุคคลที่มีอายุ 15 ปี ขึ้นไป และในระหว่าง 7 วันก่อนวันสัมภาษณ์มี
ลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ

1) ได้ทางานตั้งแต่ 1 ชั ่วโมงขึ้นไป โดยได้รบั ค่าจ้าง เงินเดือน ผลกาไร เงินปั นผล


ค่าตอบแทนที่เป็ นเงินสดหรือสิ่งของ
2) ทางานอย่างน้อย 1 ชั ่วโมง โดยไม่ได้รบั ค่าจ้างในวิสาหกิจหรือไร่นาของหัวหน้าครัวเรือน
หรือสมาชิกในครัวเรือน
3) ไม่ได้ทางานหรือทางานน้อยกว่า 1 ชั ่วโมง (เป็ นผูป้ กติมีงานประจา) แต่
3.1) ยังคงได้รบั ค่าตอบแทน ค่าจ้าง ผลประโยชน์อื่นๆ ผลกาไรจากงานหรือธุรกิจใน
ระหว่างที่ไม่ได้ทางาน
3.2) ไม่ได้รบั ค่าตอบแทน ค่าจ้างผลประโยชน์อื่นๆ ผลกาไรจากงานหรือธุรกิจใน
ระหว่างที่ไม่ได้ทางาน แต่ยงั มีงาน
หรือธุรกิจที่จะกลับไปทา
24
เป้ าหมายที่สาม เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
เสถียรภาพทางด้านราคา (ภายในประเทศ) :ระดับราคาของสินค้าและบริการ
– การที่ระดับราคาสินค้าโดยทัว่ ไปของระบบเศรษฐกิจปรับตัวสูงขึ้น
 เงินเฟ้ อ
 อานาจในการซื้อ (Purchasing Power) ลดลง

เสถียรภาพทางด้าน อัตราแลกเปลี่ยน (ภายนอกประเทศ) : อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา


ระหว่างประเทศ
 อัตราแลกเปลี่ยนที่ไม่ผน
ั ผวนมากและเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจ ช่วยทาให้สถานะ
ทางการเงินและเศรษฐกิจของประเทศมีเสถียรภาพ
 Example: การซื้อสินค้าจากต่างประเทศ (Purchasing Power), การค้าและ
ลงทุน, ค่าเงิน
25
อัตราเงินเฟ้ อ (การเปลี่ยนแปลงของระดับราคาสินค้า)

Source : www.bot.or.th
อัตราแลกเปลี่ยน
เป้ าหมายที่ส่ี การกระจายรายได้

มีการกระจายรายได้ท่เี ป็ นธรรม
 การกระจายรายได้ คือ สภาพความแตกต่างทางรายได้และความเป็ นอยู่ของประชากรที่
มีฐานะต่างกันในประเทศ
 เศรษฐกิจมีอตั ราเจริญเติบโตที่สูง แต่รายได้กระจุกตัวอยู่ท่ค
ี นบางกลุม่
ประชาชนได้รบั สวัสดิการพื้นฐานที่ดี
 ระบบเศรษฐกิจที่ดี ควรจัดให้ประชาชนมีโอกาสได้รบั สวัสดิการพื้นฐาน เช่น สวัสดิการ
ทางการศึกษา สวัสดิการทางการสาธารณสุข และสวัสดิการเพื่อความมัน่ คงของชีวิต ที่
มีคุณภาพและเพียงพอต่อความต้องการ
 สวัสดิการพื้นฐานต่างๆ เป็ นปัจจัยสาคัญที่ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตและสร้างโอกาส
ให้กบั ประชาชน
28
ลักษณะเศรษฐกิจที่พงึ ปราถนา:
 อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่ องและมีเสถียรภาพ
 อัตราการว่างงานตา่
 อัตราเงินเฟ้ อตา่
 อัตราแลกเปลี่ยนที่ไม่ผน
ั ผวนมากและเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจ
 มีการกระจายรายได้ท่เี ป็ นธรรม

เราจะสามารถบรรลุเป้ าหมายทุกๆข้อพร้อมกันได้หรือไม่ !!!

29
เครื่องมือ: ชนิ ดของนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
 นโยบายการเงิน (Monetary Policy) – ธ. แห่งประเทศไทย
อัตราดอกเบี้ย, ปริมาณเงินในระบบ, อัตราแลกเปลี่ยน
 นโยบายการคลัง (Fiscal Policy) – ภาครัฐ
ภาษี และการใช้จา่ ยของรัฐ

 นโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ (Intl. Trade Policy)


ภาษี นาเข้าและส่งออก, การให้การสนับสนุ นผูส้ ง่ ออก, การกีดกันทาง
การค้า, FTA

30
กลไกการทางานของมาตรการต่างๆ ด้านนโยบายเพือ่ การบรรลุ
เป้ าหมายทางเศรษฐกิจมหภาค
ภาษี
นโยบายการคลัง ระดับราคา
การใช้จา่ ยของรัฐ
อัตราดอกเบี้ย ผลผลิต
นโยบายการเงิน ระบบเศรษฐกิจ
ปริมาณเงิน
โควต้า ภาษีการค้า
นโยบายการค้า การจ้างงาน
อัตราแลกเปลี่ยน

31
จุลภาค: รายได้ของบุคคลแต่ละบุคคล (Individual)
ดูจาก..... คนที่มีรายได้มาก
มหภาค: รายได้ของประเทศ (Country)
ดูจาก..... ประเทศที่มีฐานะเศรษฐกิจดี

Q: วัดฐานะทางเศรษฐกิจของประเทศ???
A: ฐานะทางเศรษฐกิจของประเทศไม่ได้ข้ ึนอยู่กบั ว่ามีเงินมากเท่าใด แต่ข้ ึนอยู่
กับปริมาณของสินค้าและบริการทัง้ หมดที่ถกู ผลิตออกมาและจานวน
ประชากร
รายได้ประชาชาติ: ความหมาย

 มูลค่าของสินค้าและบริการขัน้ สุดท้ายที่ประเทศผลิตได้ใน
ช่วงเวลาหนึ่ งปี

33
รายได้ประชาชาติ ไม่นบั รวมอะไรบ้าง
 สินค้าและบริการที่ไม่ผ่านตลาด
 กิจกรรมที่ไม่มีรายงาน/จดบันทึก เช่ น อาชีพอิสระต่างๆ

 กิจกรรมที่ผิดกฎหมาย เช่ น การค้ายาเสพติด หวยใต้ดิน

 เงินโอนของรัฐและเอกชน

 การซื้อของใช้แล้ว

 เงินที่ได้จากการชาระหนี้ เงินกูเ้ พือ


่ การบริโภค
 เงินที่ได้จากการขายทรัพย์สน ิ ที่มีอยู่แล้ว
 การซื้อขายหุน ้ การพนัน

34
ระบบเศรษฐกิจแบบเปิ ด (ทุกภาคเศรษฐกิจ)

มูลค่าการส่งออก มูลค่าการส่งออก
ภาคต่างประเทศ
มูลค่าการนาเข้า มูลค่าการนาเข้า
รายจ่ายในการซื้อสินค้าและบริการ
สินค้าและบริการ

ครัวเรือน เงินออม สถาบันการเงิน การลงทุน ภาคธุรกิจ

ปัจจัยการผลิต (แรงงาน ที่ดิน ทุน ผูป้ ระกอบการ)


รายได้ (ค่าจ้าง ค่าเช่า ดอกเบี้ย กาไร)
ภาษี ภาษี
ภาครัฐบาล
รายจ่ายของรัฐบาล รายจ่ายของรัฐบาล
35
มูลค่าผลผลิตรวม = รายได้รวม = รายจ่ายรวม
วิธีการคานวณแบ่งได้เป็ น:
1. การคานวณทางผลผลิต (Product Approach)
2. การคานวณทางรายจ่าย (Expenditure Approach)
3. การคานวณทางรายได้ (Income Approach)
ดูรายละเอียดที่ National Account Manual จาก www.nesdb.go.th

36
1. การคานวณทางผลผลิต (Product Approach)
1.1 คานวณจากผลรวมของมูลค่าสินค้าและบริการขัน้ สุดท้าย
ทัง้ หมด
รายได้ประชาชาติ = p1q1 +p2q2 + p3q3 +….+pnqn
n
GDP   Pi Qi
i 1

*** วัดด้วยมูลค่า (บาท) เพือ่ แก้ปญั หาเรื่องหน่ วยนับ ***


1.2 คานวณจากผลรวมของมูลค่าเพิม่ (VALUE ADDED)

มูลค่าเพิม่ = มูลค่าสินค้าที่ผลิต – มูลค่าวัตถุดบิ และสินค้าขัน้ กลาง


Q: ทาไมเราจึงใช้มูลค่าเพิม่ แทนมูลค่าสินค้าขัน้ สุดท้าย?
 เป็ นการยากที่จะแยกแยะได้ว่า สินค้าตัวใดในตลาดเป็ นหรือไม่เป็ นสินค้าขัน

สุดท้าย
 หากเราพลาดไปนับสินค้าที่ไม่ใช้สน ิ ค้าขัน้ สุดท้าย มูลค่าของสินค้านั้นๆ ก็จะไป
ปรากฏซ้า อีกทีเมื่อสินค้านั้นๆ ถูกนาไปใช้ในการผลิตสินค้าอีกชนิ ด

38
3
9 ตัวอย่างการคานวณมูลค่าเพิ่ม
มูลค่าเพิม่
ขัน้ ตอนการผลิต มูลค่าสินค้า มูลค่าข้าวขัน้ กลาง
ของการผลิต
ชาวนาปลูกข้าว 60 0 60
โรงสี 350 60 290
พ่อค้าขายส่ง 500 350 150
พ่อค้าขายปลีก 700 500 200
1,610 910 700

39
1. การคานวณทางผลผลิต (Product Approach)
(โดยสภาพัฒน์)
 ใช้วธิ ีการหามูลค่าเพิม่ โดยการรวบรวมข้อมูลมูลค่าผลผลิต (Gross Output)
และต้นทุนค่าใช้จา่ ยขัน้ กลาง (Intermediate Consumption) ของสถาน
ประกอบการในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องทัง้ หมดแล้วนามาคานวณหามูลค่าเพิม่
(Value Added) ซึ่งก็คอื ส่วนต่างระหว่างค่าทัง้ สองดังกล่าว
่ (Value Added) ของทุกสาขาการผลิตมารวมกันก็จะได้
 เมื่อนามูลค่าเพิม
Aggregate Supply หรือผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Gross
Domestic Products) หรือ GDP ของระบบเศรษฐกิจ

40
2. การคานวณทางรายจ่าย (Expenditure Approach)
เป็ นวิธกี ารคานวณหามูลค่าการใช้จา่ ยขัน้ สุดท้าย (Final Consumption) หรือ
Aggregate Demand ของระบบเศรษฐกิจ

รายได้ประชาชาติ = C + I + G + (X-M)
C = รายจ่ายในการบริโภคของเอกชน
I = รายจ่ายในการลงทุนในประเทศของเอกชน
G = รายจ่ายในการซื้อสินค้าและบริการของรัฐ
X = มูลค่าสินค้าและบริการส่งออก
M = มูลค่าสินค้าและบริการนาเข้า

41
C = รายจ่ายในการบริโภคของเอกชน

คือ รายจ่ายของผูบ้ ริโภคเพือ่ ซื้อสินค้าหรือบริการ


สินค้าคงทน/ถาวร (Durable goods)
เช่น รถยนต์ Computer และ เครื่องเรือนภายในครัวเรือน
สินค้าไม่คงทน (Non-durable goods)
เช่น อาหาร และ เครื่องนุ่ งห่ม
บริการ (Services)
 เช่น บริการทางสาธารณสุข และ บริการทางการศึกษา ค่าน้ าค่าไฟ ค่ามือ
ถือ... รวมถึง ท่องเที่ยว
*** ยกเว้น ค่าใช้จา่ ยเพื่อที่อยู่อาศัย, ของที่ใช้แล้ว และเงินโอน (Transfer payment) ***
42
I = รายจ่ายในการลงทุนในประเทศของเอกชน
คือ รายจ่ายการลงทุนในสินทรัพย์ถาวรที่จา่ ยโดยภาคธุรกิจ
ค่าใช้จา่ ยในการก่อสร้างอาคารใหม่
การก่อสร้างโรงงาน โกดังเก็บสินค้า และการสร้างที่อยู่อาศัย
ค่าใช้จา่ ยในการซื้อเครื่องจักร
การเปลี่ยนแปลงในสินค้าคงคลัง
สินค้าคงคลังถือว่าเป็ นสินค้าและบริการขัน
้ สุดท้าย
*** ยกเว้น การซื้อที่ดิน/บ้านเก็งกาไร, การซื้อหุน้ ในตลาดหลักทรัพย์, การซื้อเครื่องจักรที่ใช้
แล้ว (ในประเทศ) ***

43
G = รายจ่ายในการซื้อสินค้าและบริการของรัฐ
คือ รายจ่ายของภาครัฐทัง้ ในระดับ ประเทศและส่วนภูมิภาคที่มตี ่อการซื้อ
สินค้าและบริการขัน้ สุดท้าย
รายจ่ายเพือ่ การบริโภค
รายจ่ายเพือ่ การลงทุน

*** ยกเว้น รายจ่ายเงินโอน, เงินอุดหนุ น, ดอกเบี้ยชาระหนี้ ***


เงินโอน (Transfer Payment) & ดอกเบี้ย:
 ไม่นบั เพราะว่ารัฐจ่ายให้โดยไม่ได้รบั สินค้าและบริการอะไรเป็ นการแลกเปลี่ยนกลับมา

44
X = มูลค่าสินค้าและบริการส่งออก
M = มูลค่าสินค้าและบริการนาเข้า

 การส่งออกสุทธิ (Export – Import, X-M)


ส่วนต่างระหว่างมูลค่าการส่งออก (ยอดขายของสินค้าและ
บริการที่ผลิตในไทยส่งออกไปยังต่างประเทศ) และมูลค่าการ
นาเข้าสินค้าที่ผลิตในต่างประเทศของชาวไทย
NET EXPORT = มูลค่าสินค้าส่งออก - มูลค่าสินค้านาเข้า

45
 Export: ต้องนับรวมเพราะเป็ นรายจ่ายที่ต่างประเทศ
จ่ายเพือ่ ซื้อสินค้าและบริการในประเทศ
 Import: ต้องหักออกเพราะเป็ นรายจ่ายเพือ ่ การบริโภค
สินค้าและบริการที่ผลิตจากต่างประเทศ

46
 ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP)
คือ มูลค่าของสินค้าและบริการขัน้ สุดท้ายทัง้ หมดที่ผลิตขึ้นได้ภายในประเทศในช่วงระยะเวลา 1 ปี
*** สินค้าและบริการที่ผลิตในประเทศ โดยไม่คานึ งถึงว่าใครเป็ นเจ้าของปัจจัยการผลิต ***

 ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (Gross National Product: GNP)


คือ มูลค่าของสินค้าและบริการขัน้ สุดท้ายทัง้ หมดที่พลเมืองของประเทศนั้นๆ ผลิตขึ้นได้
ในช่วงระยะเวลา 1 ปี
*** สินค้าและบริการที่ผลิตด้วยปัจจัยการผลิตของประเทศนั้นๆ ไม่ว่าจะผลิตที่ประเทศใดๆ ใน
โลกนี้ กต็ าม ***

47
4
8

ตัวอย่าง GDP ไทย GNP ไทย


มูลค่าของถนนที่บริษทั
ก่อสร้างไทยไปสร้างในลาว
N Y
มูลค่าของของรถยนต์ญ่ีปนที
ุ่ ่
ผลิตในไทยโดยบริษทั Y N
รถยนต์ญ่ปี นุ่
รายได้ของคนงานไทยที่ไป
ทางานก่อสร้างในไต้หวัน N Y

48
GNP = GDP + เงินได้สทุ ธิของปัจจัยการผลิตจากต่างประเทศ
(Net Factor Income FROM ABROAD)

NFIA = ผลตอบแทนปัจจัยการผลิตของไทยในต่างประเทศ
– ผลตอบแทนปัจจัยการผลิตของต่างประเทศในไทย
GNP > GDP: ต่างประเทศเอารายได้ไปจากไทยน้อยกว่าไทย
ไปเอารายได้จากต่างประเทศ (NFIA = Positive)
GNP < GDP : ต่างประเทศเอารายได้ไปจากไทยมากกว่าไทย
ไปเอารายได้จากต่างประเทศ (NFIA = Negative)

49
ตัวอย่าง
สมมติว่า ไทยไปลงทุนในต่างประเทศ (ลาวเท่านั้น) มูลค่า 10000 ล้านบาท
คือ ผลตอบแทนปัจจัยการผลิตของไทยในต่างประเทศ
ญี่ปนุ่ เป็ นประเทศเดียวที่มาลงทุนในไทย มูลค่า 15000 ล้านบาท
คือ ผลตอบแทนปัจจัยการผลิตของต่างประเทศในไทย
และมีสนิ ค้าที่ผลิตในไทย โดยคนไทยเอง มูลค่า 20000 ล้านบาท
คาถาม GNPของไทย =? GDPของไทย = ?
GNP < GDP: ต่างประเทศเอารายได้ไปจากไทยมากกว่าไทย
ไปเอารายได้จากต่างประเทศ (NFIA = Negative) 50
GDP (GNP) per capita
รายได้เฉลี่ยต่อหัว (GDP Per Capita)
 รายได้เฉลี่ยต่อหัว (GDP Per Capita) เป็ นตัวแปรที่บ่งบอกได้ถงึ มาตรฐาน
การครองชีพโดยเฉลี่ยของประชาชนในประเทศ
 เนื่ องจากประเทศต่างๆ มีจานวนประชากรไม่เท่ากัน การใช้ตวั เลข GDP เพือ่
แสดงถึงมาตรฐานการครองชีพโดยเฉลี่ยของประชาชนย่อมไม่สามารถทาได้
โดยไม่สนใจถึงจานวนประชากร

Example: ในปี 2018 ประเทศมี GDP = 1,000 บาท และมีประชากร = 4 คน


 GDP per capita = 1,000/4 = 250 บาท

51
Nominal GDP & Real GDP
 ในการคานวน GDP เราใช้ราคาของสินค้าชนิ ดนั้นๆ (current market
price) คูณกับปริมาณของสินค้าชนิ ดนั้นๆ
GDP = p1q1 +p2q2 + p3q3 +….+pnqn
 การเพิม่ ของ GDP มาได้จาก 2 สาเหตุ
1. ผลผลิตเพิม ่ สูงขึ้น
2. ราคาเพิม ่ สูงขึ้น

52
Case 1 Case 2
ปริมาณผลผลิตเพิม่ ปริมาณผลผลิตลดลง
Nominal Nominal
Year Price Quantity Price Quantity
GDP GDP

2040 10 12 120 10 12 120


2041 10 14 140 16 10 160
2042 10 18 180 30 8 240
53
 การดูค่า GDP จากวิธีขา้ งต้นจึงเป็ นการยากที่จะบอกได้ว่าผลผลิตที่
แท้จริงของประเทศ เพิ่มสูงขึ้น คงที่ หรือ ลดลง
 เราจึงต้องพยายามแยก GDP ที่นบ ั เฉพาะแค่ผลการเปลี่ยนแปลง
ในปริมาณสินค้า (Real GDP) ออกจาก GDP ที่นบั ทัง้ ผลจากการ
เปลี่ยนแปลงทัง้ ในราคาและปริมาณ (Nominal GDP)
 วิธีคด
ิ ก็คือการนาเอาราคาของปี ใดปี หนึ่ งมาเป็ นฐาน แล้วพยายามคิด
มูลค่าของ GDP ของปี อน่ื ๆโดยใช้ราคาของปี ฐานเป็ นหลัก

54
Case 2 Case 3
ปริมาณผลผลิตลดลง (ใช้ปี 2040 เป็ นปี ฐาน)

Nominal Price Real


Year Price Quantity Quantity
GDP (2040) GDP

2040 10 12 120 10 12 120

2041 16 10 160 10 10 100

2042 30 8 240 10 8 80
55
 Nominal และ Real GDP
GDP ที่คานวณโดยใช้ ราคาปัจจุบน
ั เรียกว่า Nominal GDP
GDP ที่คานวณโดยใช้ ราคาปีฐาน เรียกว่า Real GDP
 นอกจากนี้ เรายังสามารถใช้ความรูข้ า้ งต้นเพือ่ หาดัชนี ราคา
(Price Index)

56
ดัชนี ราคา (Price Index):

GDP Deflator = มูลค่าปัจจุบนั ของสินค้าและบริการ ณ. ราคาปัจจุบนั


มูลค่าปัจจุบนั ของสินค้าและบริการ ณ. ราคาปี ฐาน
= Nomial GDP/Real GDP

57
ปี 2040: Deflator = 120/120=1
 ราคาของปี ฐาน

ปี 2041: Deflator = 160/100=1.6


ราคาของปี 2041 สูงกว่าราคาของปี 2540 เท่ากับ 60%
ปี 2042 : Deflator = 240/80=3
ราคาของปี 2042 สูงกว่าราคาของปี 2540 เท่ากับ 200%

58
ข้อมูลรายได้ประชาชาติสามารถมีประโยชน์ในหลายๆ ด้าน เช่น
 GDP ช่ วยให้เราทราบถึงสถานการณ์ทางเศรษฐกิจของประเทศ

 GDP แสดงให้เห็นการขยายตัว (หดตัว) ทางเศรษฐกิจ

 GDP คานวนทางด้านรายจ่ายมวลรวมทาให้ทราบถึงแบบแผนการใช้จา่ ยในประเทศ

 GDP คานวนทางด้านรายได้แสดงให้เห็นถึงโครงสร้างของผลตอบแทนต่อปัจจัยการ

ผลิต
 GDP แสดงให้เห็นถึงการผลิตในภาคต่างๆ และการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการผลิต

ของประเทศ
59
 ข้อมูล GDP สามารถนามาใช้ในการประเมินความสาเร็จของนโยบายทาง
เศรษฐกิจต่างๆ และใช้เป็ นข้อมูลในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
ในอนาคต
 แม้ว่าตัวเลข GDP จะมีประโยชน์อย่างมากในการช่ วยบอกถึงความมัง่ คัง่ และ
ทิศทางเศรษฐกิจของประเทศ แต่กย็ งั มีอกี หลายสิง่ ซึ่งตัวเลข GDP ไม่สามารถ
วัดได้
 GDP ไม่สามารถนับรวมมูลค่าของสินค้าบางประเภทที่ผลิตขึ้นในประเทศ

 GDP ไม่สามารถบอกได้ถงึ การกระจายรายได้ของประเทศ

 GDP ไม่สามารถวัดได้ถงึ คุณภาพของสินค้าและบริการ

 GDP ไม่ได้บอกถึง ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม

 GDP ไม่สามารถวัดความสุขของมนุ ษย์ได้

60
GDP ไม่สามารถบอกได้ถงึ การกระจายรายได้ของประเทศ

ประเทศ A ประเทศ B
GDP 100 100
นาย ก 50 95
นาย ข 50 5

61
GDPไม่สามารถวัดความสุขของมนุ ษย์ได้

รายได้ประชาชาติ ไม่ได้ให้ความสาคัญต่อ
เวลาว่างหรือเวลาพักผ่อน (leisure) ของบุคคล

GDP61 = 500 ล้านบาท ทางาน 8 ชั่วโมง / วัน

GDP64 = 1,000 ล้านบาท ทางาน 20 ชั่วโมง/วัน

62
ความหมายตามพจนานุ กรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
 "เงินเฟ้ อ" หมายความว่า "ภาวะทางเศรษฐกิจที่ปริมาณเงินหมุนเวียนในประเทศมาก
เกินไปทาให้ราคาสินค้าแพงและเงินเสื่อมค่า"
 "เงินฝื ด" หมายความว่า "ภาวะทางเศรษฐกิจที่ปริมาณเงินหมุนเวียนในประเทศมีนอ
้ ยไป
การใช้จา่ ยลดน้อยลง ทาให้ราคาสินค้าตก"

ปัจจุบนั ในทางเศรษฐศาสตร์ เงินเฟ้ อ หรือ Inflation จะมีความหมายอีกความหมายหนึ่ ง


นัน่ คือ การปรับตัวเพิ่มขึ้นของดัชนี ราคา (Price Index) ซึ่งหมายถึงภาวะสินค้าราคาแพง
ขึ้น

63
สาเหตุของเงินเฟ้ อ
แรงดึงทางด้านอุปสงค์ (Demand – pull inflation)
 เกิดจากการที่อปุ สงค์มวลรวมมีมากกว่าอุปทานมวลรวม ณ ระดับราคาที่เป็ นอยู่ จะมีผลทาให้
ระดับราคาเพิ่มสูงขึ้น อาจเนื่ องมาจาก
 ความต้องการใช้จา่ ยมวลรวมเพิ่มขึ้น  การใช้จา่ ยที่เพิ่มขึ้น GDP เพิ่ม ก็จะเกิด
ปัญหา เงินเฟ้ อตามมาได้
 ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น

แรงผลักดันด้านต้นทุน (Cost – push inflation)


 เกิดจากการผลักดันของต้นทุนการผลิต (ทางด้าน Supply)
 การเรียกร้องขึ้นค่าแรงของคนงาน ค่าแรงที่เพิ่มขึ้น
 การเพิ่มขึ้นของราคาวัตถุดิบ หรือทรัพยากรที่ใช้ในการผลิต
 การเกิดภัยพิบตั ท
ิ างธรรมชาติ
64
ผลกระทบของเงินเฟ้ อ
ผลกระทบต่อผูท้ ่มี ีรายได้คงที่ / คนกินเงินเดือน
• ค่าของหน่ วยเงินตราจะลดลง ทาให้อานาจการซื้อตา่ ลง
ผลกระทบต่อบรรดาเจ้าหนี้ และลูกหนี้
• ทาให้ภาระหนี้ ท่แี ท้จริงลดตา่ ลง
• ลูกหนี้ : ได้รบั ผลดี (เหมือนคืนเงินมูลค่าน้อยลง)
• เจ้าหนี้ : ต้องพิจารณาอัตราดอกเบี้ยเงินกู ้ กับ เงินเฟ้ อให้ดี
ผลกระทบต่อผูป้ ระกอบการ / ผูผ้ ลิต
• หากราคาสินค้าสูงขึ้น มากกว่า ต้นทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้น ผปก.จะได้กาไร

65
บทบาทของภาครัฐบาล และนโยบายการคลัง

66
 การใช้นโยบายการคลังในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจมหภาค
 นโยบายการคลัง จาแนกตามลักษณะการทางาน
- นโยบายการคลังแบบตัง้ ใจ (Discretionary Fiscal Policy)
- นโยบายการคลังแบบไม่ตง้ั ใจ (Nondiscretionary Fiscal
Policy or Built – in Stabilizer)
 นโยบายการคลังจาแนกตามลักษณะปั ญหาเศรษฐกิจที่ตอ
้ งแก้ไข
- นโยบายการคลังแบบขยายตัว (Expansionary Fiscal
Policy)
- นโยบายการคลังแบบหดตัว (Contractionary Fiscal Policy)
67
เหตุผลทีร่ ัฐบาลเข้ ามามีบทบาทในทางเศรษฐกิจ
 เพื่อทาให้รายได้ของคนในประเทศมีความเท่าเทียมกันมากขึ้น
 เพื่อทาให้ระบบเศรษฐกิจมีความเจริญเติบโต
 เพื่อให้ระบบเศรษฐกิจมีเสถียรภาพของราคา
 รัฐบาลต้องเข้ามาทาการผลิตสินค้าและบริการหลายอย่างที่ปัจเจกชน
หรือเอกชนไม่อยากทา  สินค้าสาธารณะ
 รัฐบาลต้องเข้ามาแทรกแซงหรือควบคุมสินค้าและบริการบางอย่างที่
ผลิตขึ้นมาแล้วอาจมีผลกระทบภายนอก  มลพิษ
 รัฐบาลต้องเข้ามาดาเนินการผลิตสินค้าและบริการบางอย่างที่ตอ้ งใช้
เงินทุนมหาศาล เอกชนไม่สามารถทาได้  การผูกขาดโดยธรรมชาติ
หรือ สาธารณูปโภค

68
ความหมาย วัตถุประสงค์ และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

นโยบายการคลัง หมายถึง แผนการเก็บภาษีอากร (T) และแผนการ


ใช้จา่ ยเงินของรัฐบาล (G) ตลอดจนการก่อหนี้สาธารณะของรัฐบาล
เพื่อให้ระบบเศรษฐกิจบรรลุเป้ าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่ตอ้ งการ

69
เครื่องมือของนโยบายการคลัง

I. การเก็บภาษี (Taxation)
II. การใช้จา่ ยของรัฐบาล (Government Expenditure) และเงินโอน
(Government Transfer Payment)
III. การก่อหนี้สาธารณะ (Public Debt)

70
ประเภทของภาษีแบ่งตามลักษณะของการกระจายภาระภาษี เราแบ่งได้เป็ น
2 อย่าง คือ
1. ภาษีทางตรง (Direct Tax)
2. ภาษีทางอ้อม (Indirect Tax)

71 71
1. ภาษีทางตรง คือ ภาษีที่ภาระภาษีตกแต่ผเู ้ สียภาษีเอง ผูเ้ สียภาษีไม่
สามารถผลักภาระภาษีไปให้ผอู ้ ื่นได้

2. ภาษีทางอ้อม คือ ภาษีที่ผเู ้ สียภาษีสามารถผลักภาระไปให้ผูอ้ ื่นได้


ทั้งหมดหรือบางส่วนได้ เช่น ผลักไปให้ผบู ้ ริโภค

72 72
โครงสร้างของอัตราภาษี โครงสร้างอัตราภาษีมี 3 อย่าง
1. โครงสร้างภาษีแบบก้าวหน้า (Progressive Tax)
2. โครงสร้างภาษีแบบสัดส่วน (Proportional Tax )
3. โครงสร้างภาษีแบบถดถอยหรือถอยหลัง (Regressive Tax)

73 73
II. การใช้จา่ ยของรัฐบาล (Government Expenditure) หมายถึง ค่าใช้จา่ ยใน
การซื้อสินค้าและบริการ (G) และค่าใช้จา่ ยเงินโอน (R)

74
การจาแนกประเภทรายจ่ายของรัฐบาล แบ่งได้หลายอย่าง เช่น
1. การจาแนกรายจ่ายของรัฐบาลตามหน่วยราชการ
2. การจาแนกรายจ่ายตามลักษณะงาน
3. การจาแนกรายจ่ายตามลักษณะทางเศรษฐกิจ
4. การจาแนกรายจ่ายตามหมวดการใช้จา่ ย

75
การจาแนกประเภทรายรับของรัฐบาล (Government Receipt)
รายรับของรัฐบาลประกอบด้วย 3 ส่วน คือ
1. รายได้ของรัฐบาล (Government Revenue)
2. เงินกูข้ องรัฐบาลหรือก่อหนี้สาธารณะ (Public Debt)
3. เงินคงคลัง (Treasury Cash Balance)

76
1. รายได้ของรัฐบาล ได้มาจาก
ก. รายได้จากภาษีอากร (Tax Revenue)
ข. รายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอากร (Non – Tax Revenue)

77
2. เงินกู ้ รัฐอาจกูจ้ ากในประเทศหรือต่างประเทศ
การกูจ้ ากภายในประเทศ เช่น
ก. การขายพันธบัตรรัฐบาลให้ประชาชน
ข. การกูจ้ ากธนาคารแห่งประเทศไทย
การกูจ้ ากต่างประเทศก็อาจจะกูไ้ ด้จากเอกชนหรือสถาบันการเงิน
ต่างประเทศ (World Bank, IMF)

78
3. เงินคงคลัง คือ เงินที่ใช้เหลือเก็บไว้ในคลังปี ที่ทางบประมาณ
เกินดุล (G + R) < T อย่างไรก็ตามรายรับส่วนใหญ่มาจาก Tax Revenue

79
ลักษณะของงบประมาณ (Government Budget)

งบประมาณ คือ แผนการใช้จา่ ยและแผนการหรือรายรับหาเงิน


เพื่อการใช้จา่ ยของรัฐบาลในช่วงระยะเวลาหนึ่ง (เช่น 1 ปี ) เพือ่ ให้
เศรษฐกิจบรรลุเป้ าหมายที่ตง้ั ไว้ ปี งบประมาณของไทยเริ่มตัง้ แต่ 1
ตุลาคม – 30 กันยายน
ลักษณะของงบประมาณ
ก. งบประมาณขาดดุล (Deficit Budget)
ข. งบประมาณเกินดุล (Surplus Budget)
ค. งบประมาณสมดุล (Balance Budget

80
ก. งบประมาณขาดดุล เป็ นงบประมาณที่มีรายจ่ายทั้งหมดมากกว่ารายได้
(เน้นไม่ใช่รายรับ) ของรัฐบาลทั้งหมด หรือ (G + R) > T
รายจ่างทั้งหมดของรัฐบาล = รายรับทั้งหมดของรัฐบาล
= รายได้ + เงินกู ้ + เงินคงคลั
ข. งบประมาณเกินดุล เป็ นงบประมาณที่มีรายจ่ายทั้งหมดน้อยกว่ารายได้
ของรัฐบาลทั้งหมด หรือ (G + R) < T
ค. งบประมาณสมดุล เป็ นงบประมาณที่มีรายจ่ายทั้งหมดเท่ากับรายได้
ของรัฐบาลทั้งหมด หรือ (G + R) = T

81
การใช้ นโยบายการคลังในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจมหภาค

82
I. นโยบายการคลัง จาแนกตามลักษณะการทางานแบ่ งเป็ น 2 ประเภท
1.1 นโยบายการคลังแบบตั้งใจ (Discretionary Fiscal Policy)
1.2 นโยบายการคลังแบบไม่ ต้งั ใจ (Nondiscretionary Fiscal Policy)

83
1.1 นโยบายการคลังแบบตั้งใจ หมายถึง นโยบายการเปลีย่ นแปลงการ
ใช้ จ่าย และการเปลีย่ นแปลงการเก็บภาษีของรัฐซึ่งสามารถเปลีย่ นแปลงได้
ตามทีร่ ัฐจะเห็นสมควร โดยผ่ านการอนุมัติจากรัฐสภา

84
เครื่ องมือต่ าง ๆ ของนโยบายการคลังแบบตั้งใจ ได้ แก่
ก. การเปลีย่ นแปลงการใช้ จ่ายของรัฐบาลในการซื้อสิ นค้ าและบริ การ
(G) รวมทั้งรายจ่ ายเงินโอน (R)
ข. การเปลีย่ นแปลงการเก็บภาษี (T)

85
1.2 นโยบายการคลังแบบไม่ ต้งั ใจ หมายถึง นโยบายการคลังที่
สามารถลดความผันผวนทางเศรษฐกิจได้ โดยอัตโนมัติ กล่าวคือ จะช่ วย
ชะลอการใช้ จ่ายมวลรวมไม่ ให้ สูงขึน้ มากเกินไปในขณะทีเ่ กิดภาวะ
เศรษฐกิจเฟื่ องฟู และช่ วยพยุงการใช้ จ่ายมวลรวมมิให้ ลดลงมากเกินไป
ในขณะทีเ่ กิดภาวะเศรษฐกิจตกต่า

86
เครื่ องมือของนโยบายการคลังแบบอัตโนมัตหิ รื อตัวรักษา
เสถียรภาพทางเศรษฐกิจโดยอัตโนมัติ (Built – in Stabilizer) ที่สาคัญมี
2 อย่ าง
1. ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดาและภาษีเงินได้ บริษัท ทีเ่ ก็บภาษีในอัตรา
ก้าวหน้ า เช่ น
รายได้ 0 - 20,000 บาท เสี ยภาษีร้อยละ 10
รายได้ 20,001 – 50,000 บาท เสี ยภาษีร้อยละ 15

87
ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดาและภาษีเงินได้ บริษัท เป็ นภาษีทเี่ ปลีย่ นแปลง
โดยตรงกับเงินได้ และจะเป็ นภาษีทมี่ ีลกั ษณะเป็ นตัวรักษาเสถียรภาพทาง
เศรษฐกิจโดยอัตโนมัติ คือ จะช่ วยลดความผันผวนของรายได้ ประชาชาติ
ไม่ ให้ เปลีย่ นแปลงเพิม่ ขึน้ หรื อลดลงรุนแรงมากนัก

88
สรุป เพราะฉะนั้นจะเห็นว่าภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจะเป็ นตัว
รักษาเสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจ กล่าวคือจะช่วยลดความรุนแรง
ของการเปลี่ยนแปลงในรายได้ประชาชาติไม่ให้เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรือ
ลดลงรวดเร็วจนเกินไป จนอาจจะทาให้เกิดภาวะเงินเฟ้ อและภาวะเงิน
ฝื ดได้

89
2. ค่าใช้จา่ ยเงินโอนและเงินอุดหนุนของรัฐบาล (Transfer Payment and
Subsidy) จะเปลี่ยนแปลงตรงข้ามกับรายได้ของคน

90
เงินอุดหนุนเกษตรกร

 กรณีเศรษฐกิจไม่ดี ราคาสินค้าเกษตรตกต ่า → รัฐบาลต้องจ่ายเงินอุดหนุน


เพื่อให้ราคาสินค้าเกษตรกรรมเพิ่มขึ้น → เกษตรกรก็มีเงินมากขึ้น → ใช้
จ่ายมากขึ้น → DAE ก็จะไม่ลดลงมากที่ควรจะเป็ น →รายได้ประชาชาติไม่
ตกต ่าลงมากไปอีก

91
 กรณีภาวะเศรษฐกิจดี → ราคาสินค้าเกษตรสูง → รัฐบาลไม่ตอ้ ง
จ่ายเงินอุดหนุน บางรัฐบาลมีการเก็บเงินเข้ากองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
→ เกษตรกรมีเงินใช้จา่ ยน้อยลง → DAE ไม่เพิ่มมากเท่าที่ควรจะเป็ น
→ ทาให้รายได้ประชาชาติไม่เพิ่มสูงขึ้นมากเกินไป

92
II. นโยบายการคลังจาแนกตามลักษณะปั ญหาเศรษฐกิจที่ตอ้ งแก้ไข จะแบ่งได้
เป็ น
ก. นโยบายการคลังแบบขยายตัว (Expansionary Fiscal Policy)
ข. นโยบายการคลังแบบหดตัว (Contractionary Fiscal Policy)

93
การใช้นโยบายการคลังกับผลต่อระบบเศรษฐกิจ
GDP = C + I + G + (X –M)

นโยบาย เป้ าหมาย วิธีการ


• แบบหดตัว ลดความต้องการใช้จา่ ย • จัดทางบประมาณรายจ่าย
ภายในประเทศ ทาให้รายได้ แบบเกินดุล
ประชาชาติลดลง เพือ่ ชะลอความ • จัดเก็บภาษีมากขึน้
ร้อนแรงของเศรษฐกิจ
• แบบขยายตัว เพิม่ ความต้องการใช้จา่ ย • จัดทางบประมาณรายจ่าย
ภายในประเทศ เพือ่ ทาให้รายได้ แบบขาดดุล
ประชาชาติเพิม่ ขึน้ • ลดภาษี

94
95
9
6
นโยบายการเงิน (Monetary Policy)
การดูแลและจัดการปริมาณเงินและสินเชื่อโดยธนาคารกลาง เพื่อบรรลุ
เป้ าหมายทางเศรษฐกิจประการใดประการหนึ่งหรือหลายประการ
***ธนาคารแห่งประเทศไทย (Bank of Thailand)***
เป้ าหมายที่สาคัญของนโยบายการเงิน
 1. การสร้างความเจริญเติบโตและการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
 2. การรักษาเสถียรภาพทางราคา
 3. การรักษาเสถียรภาพของดุลการชาระเงินระหว่างประเทศ
 4. การกระจายรายได้อย่างเป็ นธรรม

97
บทบาทของธนาคารกลาง (ธนาคารแห่งประเทศ
ไทย)
1. ออกธนบัตรให้มีปริมาณที่เหมาะสม ( ควบคุมปริมาณ
เงิน)
2. เป็ นนายธนาคารของรัฐบาล
3. เป็ นนายธนาคารของธนาคารพาณิชย์
4. กากับและตรวจสอบธนาคารพาณิชย์และสถาบัน
การเงินอื่นๆ
5. รักษาเสถียรภาพภายใน (ระดับราคา) และเสถียรภาพ
ภายนอกประเทศ (อัตราแลกเปลี่ยน, ดูแลและควบคุม
การไหลเข้าออกของเงินตราต่างประเทศ)
6. บริหารเงินทุนสารองระหว่างประเทศ 98
เครื่องมือของนโยบายทางการเงิน
1. การควบคุมด้านปริมาณเงิน (Quantitative Control)

2. การควบคุมด้านคุณภาพ (Qualitative Control)

3. การควบคุมโดยตรง (Direct Control)

99
1. การควบคุมด้านปริมาณเงิน (Quantitative
Control)
 อัตราเงินสดสารองตามกฎหมาย (Legal Reserve

Requirement)
การเพิ่มอัตราเงินสดสารองทาให้ ธ. พาณิชย์ตอ้ งขาย
หลักทรัพย์ของตนออกไปหรือเรียกเงินกูค้ ืน ทาให้
ปริมาณเงินในระบบลดลง
การลดอัตราเงินสดสารองทาให้ ธ. พาณิชย์มีเงินสด
สาลองส่วนเกิน ทาให้ ธ. พาณิชย์ปล่อยกูไ้ ด้มากขึ้น
ดังนั้นปริมาณเงินในระบบเพิ่มขึ้น
100
 การซื้อขายหลักทรัพย์ของรัฐบาลในตลาด (Open-
Market Operations: OMO)
 ธนาคารกลางขายหลักทรัพย์ (เช่น พันธบัตร) จะส่งผลทาให้
ปริมาณเงินในระบบลดลง
ขายหลักทรัพย์ ประชาชนนาเงินมาซื้อ
 ธนาคารกลางซื้อหลักทรัพย์จะส่งผลทาให้ปริมาณเงินในระบบ
เพิ่มขึ้น
ซื้อหลักทรัพย์ ประชาชนได้รับเงินคืน

ประชาชนมีทางเลือกสาหรับเงิน คือ ถือไว้กบั มือ / ฝากธนาคาร / ลงทุน / ซื้อพันธบัตร......

101
 อัตราธนาคารหรืออัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน (Bank
Rate)
 อัตราดอกเบี้ยที่ธนาคารกลางคิดจาก ธ. พาณิชย์ (โดยปกติเป็ น
การกูย้ มื โดยมีหลักทรัพย์รฐั บาลค้าประกัน)
 การให้กูย ้ มื นี้ถือว่าเป็ นแหล่งกูย้ มื แหล่งสุดท้าย (Lender of last
resort) เมื่อมีความจาเป็ นภายในระยะเวลาสั้นๆ Example: ธ.
พาณิชย์อาจกูเ้ งินจากธนาคารกลางในกรณีที่ มีเงินสดสารองไม่
เพียงพอ (เช่น คนมาถอนเงินมากกะทันหัน)
หากต้องการเพิ่มปริมาณเงินก็จะลดอัตราดอกเบี้ย
มาตรฐาน อัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน ที่ใช้ในปัจจุบัน เรียกว่า อัตราดอกเบี้ยนโยบาย
หากต้องการลดปริมาณเงินก็จะเพิ่มอัตราดอกเบี้ย
มาตรฐาน 102
2. การควบคุมด้านคุณภาพ (Qualitative Control)
 การกาหนดเงื่อนไขในการให้สินเชื่อเพื่อวัตถุประสงค์
บางอย่างของธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินให้อยูใ่ น
ขอบเขตที่เหมาะสมและเพื่อให้ก่อให้เกิดการกระจายสินเชื่อ
ไปยังสาขาเศรษฐกิจที่ตอ้ งส่งเสริม
 Example: การควบคุมการให้สินเชื่อเพื่อการซื้อขายหลักทรัพย์
การควบคุมการให้สินเชื่อเพื่อการบริโภค การควบคุมการให้
สินเชื่อเพื่อการก่อสร้าง เป็ นต้น

103
3. การควบคุมโดยตรง (Direct Control)

 เป็ นการบังคับให้ธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินต่างๆ
ปฏิบตั ติ ามเงื่อนไขที่ธนาคารกลางกาหนดขึ้นจะใช้เมื่อเห็นว่า การ
ควบคุมปริมาณเงินและสินเชื่อทางด้านปริมาณและคุณภาพไม่
ได้ผลหรือได้ผลแต่ไม่ทนั การณ์
 เช่น ปั ญหาบัตรเครดิตเพิ่มขึ้นอย่างมาก จนเป็ นสาเหตุที่ทาให้
ประชาชนมีพฤติกรรมการก่อหนี้มากขึ้น เกิดปั ญหา NPL ดังนั้น จึง
ออกคาสั ่ง โดยตรง ในเงื่อนไขการถือบัตรว่า ผูถ้ ือบัตรจะต้องมีรายได้
ต่อเดือนไม่ต ่ากว่า 15000 บาท เป็ นต้น

104
ธนาคารกลางเข้ามาควบคุมนโยบายการเงินโดยการ
ควบคุมปริมาณเงิน (Money Supply)

การเปลี่ยนแปลง ดุลยภาพตลาดเงิน ผู้คนปรับเปลี่ยน


ปริมาณเงิน เปลี่ยน (อัตรา พฤติกรรมการถือ ระบบเศรษฐกิจเกิด
money supply ดอกเบี้ยดุลยภาพ เงิน / การออม / การปรับเปลี่ยน
shift ขวา/ซ้าย (i*)เปลี่ยน) การลงทุน

105
ประเภทของนโยบายการเงิน

 นโยบายการเงินแบบผ่อนคลายหรือขยายตัว (Easy
of Expansionary Monetary Policy)
ใช้ในช่วงภาวะเศรษฐกิจซบเซาและเกิดภาวะเงินฝื ด

M i Investment Y

106
เครื่องมือที่ใช้
 ธนาคารกลางซื้อหลักทรัพย์

 ลดอัตราเงินสดสารอง

 ลดอัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน

ผลของการใช้เครื่องมือดังกล่าว
ทาให้ปริมาณเงิน (Money supply) เพิ่มขึ้น

107
ทีม่ า : ธนาคารแห่ งประเทศไทย

108
 นโยบายการเงินแบบเข้มงวดหรือหดตัว
(Restrictive or Contractionary Monetary Policy)
ใช้เมื่อระบบเศรษฐกิจขยายตัวมากเกินไปและเกิด
ภาวะเงินเฟ้ อ

M i Investment Y

109
เครื่องมือที่ใช้
 ธนาคารกลางขายหลักทรัพย์

 เพิ่มอัตราเงินสดสารอง

 เพิ่มอัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน

ผลของการใช้เครื่องมือดังกล่าว
ทาให้ปริมาณเงิน (Money supply) ลดลง

110
บทบาทของ ธปท. ในการดาเนินนโยบายการเงิน

ดร. ชญาวดี ชัยอนันต์


ฝ่ ายนโยบายการเงิน
ธนาคารแห่งประเทศไทย
1. ธปท. กับบทบาทในการรักษาเสถียรภาพทาง
เศรษฐกิจ

112 112
บทบาทและหน้ าที่ของ ธปท.

รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

บริหารเงินสารอง รักษาความมันคงของ

ระหว่างประเทศ
ธปท. ระบบสถาบันการเงิน

ดูแลระบบการชาระเงินและ เป็ นนายธนาคารของรัฐบาล


บริหารจัดการธนบัตรออกใช้ และสถาบันการเงิน
113
ธปท. ใช้นโยบายการเงินเป็ นหลักในการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

นโยบายการเงิน เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

นโยบายการเงิน คือ การใช้เครื่องมือทางการเงินของธนาคารกลาง


ในการควบคุมดูแลปริมาณเงิน หรืออัตราดอกเบีย้ ให้อยู่ในระดับที่
เหมาะสมเพื่อให้เศรษฐกิจของประเทศขยายตัวอย่างได้มีเสถียรภาพ
ประชาชนมีรายได้ รวมทัง้ ความเป็ นอยู่ที่ดี

114
ธปท. ใช้นโยบายการเงินเป็ นหลักในการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

นโยบายการเงิน เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจที่มีเสถียรภาพ คือ เศรษฐกิจที่มีความสมดุล
ทัง้ ด้านในประเทศและด้านต่างประเทศ
สะท้อนได้จากตัวแปรทางเศรษฐกิจ เช่น
อัตราเงินเฟ้ อ ดุลบัญชีเดินสะพัด
อัตราการว่างงาน ดุลการชาระเงิน
ดุลการคลัง ระดับหนี้ ต่างประเทศ
ระดับหนี้ สาธารณะ อัตราแลกเปลี่ยน

115
ธปท. ใช้นโยบายการเงินเป็ นหลักในการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

เสถียรภาพทางเศรษฐกิจที่มีนยั สาคัญต่อนโยบายการเงิน คือ


เสถียรภาพด้านราคา หรื อการรักษาอัตราเงินเฟ้อให้อยูร่ ะดับที่เหมาะสม

Sustainable
Monetary Price
Economic
Policy Stability
Growth

116
เสถียรภาพด้านราคา

เศรษฐกิจมีเสถียรภาพด้านราคาเมื่ออัตราเงินเฟ้ ออยู่ในระดับที่เหมาะสมและไม่ผนั ผวน


ซึ่งเอื้อต่อการตัดสินใจและวางแผน
การบริโภค การผลิต การออม และการลงทุนในระยะยาว

รักษาอานาจซื้อของ ลดแรงกดดัน ช่วยสร้างบรรยากาศ


ผูบ้ ริโภคและผูอ้ อม ต่ออัตราแลกเปลีย่ น เศรษฐกิจทีด่ ีโดยรวม

รักษาขีดความสามารถ ลดความไม่แน่ นอนซึง่ เป็ น


ลดความผันผวนของ
ในการแข่งขัน ปัจจัยลบต่อการวางแผน
อัตราดอกเบี้ยทีแ่ ท้จริง
ของสินค้าส่งออก และตัดสินใจทางเศรษฐกิจ

117
การใช้นโยบายการเงินเพื่อรักษาเสถียรภาพด้านราคา

ดาเนินนโยบายการเงินเข้มงวด
เศรษฐกิจ
ขึน้ อัตราดอกเบีย้ นโยบาย
ร้อนแรง แรงกดดันด้านราคาลดลง

ดาเนินนโยบายการเงินผ่อนคลาย
เศรษฐกิจ ลดอัตราดอกเบีย้ นโยบาย
ซบเซา แรงกดดันด้านราคาเพิ่มสูงขึน้

118
นโยบายการเงินส่งผลต่อเศรษฐกิจผ่าน 5 ช่องทางหลัก

เพิ่ม / ลดอัตราดอกเบีย้ นโยบาย

1 2 3 4 5
อัตราดอกเบีย้ อัตรา
สินเชื่อ ราคาสินทรัพย์ การคาดการณ์
ตลาด แลกเปลี่ยน

ความต้องการสินค้าจากภายในและภายนอกประเทศ

ราคาสินค้าภายในประเทศ
ราคาสินค้าส่งออกและสินค้านาเข้า

อัตราเงินเฟ้ อ

119
1. ช่องทางอัตราดอกเบีย้ ตลาด

อัตราดอกเบีย้ ต้นทุนของ
นโยบายการเงินผ่อนคลาย ในตลาดการเงิน การบริโภคและ
ปรับลดลง การลงทุนถูกลง

กิจกรรมทางเศรษฐกิจเพิ่มขึน้ ประชาชน
แรงกดดันด้านราคาเพิ่มสูงขึน้ ต้องการบริโภค
และลงทุน
มากขึน้

120
2. ช่องทางสินเชื่อ

ภาระหนี้ ของ
อัตราดอกเบีย้ ธุรกิจลดลง
นโยบายการเงินผ่อนคลาย ในตลาดการเงิน
ปรับลดลง ฐานะการเงินของ
ธุรกิจเข้มแข็งขึน้

กิจกรรมทางเศรษฐกิจเพิ่มขึน้ ธนาคารยินดี
แรงกดดันด้านราคาเพิ่มสูงขึน้ ปล่อยสินเชื่อ
ให้ภาคธุรกิจ
มากขึน้

121
3. ช่องทางราคาสินทรัพย์

ประชาชนหันไป
อัตราดอกเบีย้ ออมในรูปแบบอื่น
นโยบายการเงินผ่อนคลาย ในตลาดการเงิน แทนการฝากเงิน
ปรับลดลง
เศรษฐกิจที่ดีขึน้
ช่วยเพิ่มผลตอบแทน
ของสินทรัพย์
ราคาสินทรัพย์
เพิ่มขึน้
ประชาชนจับจ่ายใช้สอยมากขึน้
กิจกรรมทางเศรษฐกิจเพิ่มขึน้
แรงกดดันด้านราคา ประชาชนรู้สึก
เพิ่มสูงขึน้ มังคั
่ งมากขึ
่ ้น
122
4. ช่องทางอัตราแลกเปลี่ยน

ส่วนต่างอัตรา
นโยบายการเงินผ่อนคลาย ดอกเบีย้ กับ
ต่างประเทศลดลง
เงินทุนไหลออก

ผลผลิตในประเทศขยายตัว การส่งออก ค่าเงินบาท


กิจกรรมทางเศรษฐกิจเพิ่มขึน้ เพิ่มขึน้ อ่อนค่าลง
แรงกดดันด้านราคา
เพิ่มสูงขึน้ การนาเข้าลดลง

123
5. ช่องทางการคาดการณ์

นโยบายการเงินผ่อนคลาย

ประชาชนคิดว่า ประชาชนกังวลว่าภาวะเศรษฐกิจ
ภาวะเศรษฐกิจ จะอ่อนแอกว่า
จะดีขึน้ ในอนาคต ที่เคยคาดไว้

การบริโภคและการลงทุนเพิ่มขึน้ การบริโภคและการลงทุนลดลง

กิจกรรมทางเศรษฐกิจเพิ่มขึน้ กิจกรรมทางเศรษฐกิจลดลง
แรงกดดันด้านราคาเพิ่มสูงขึน้ แรงกดดันด้านราคาลดลง
124
การส่งผ่านของนโยบายการเงิน

 ผลกระทบของนโยบายการเงินผ่านช่องทางต่างๆ อาศัยเวลาไม่เท่ากัน
 ช่องทางการคาดการณ์ใช้เวลาค่อนข้างรวดเร็ว แต่ช่องทาง
อัตราดอกเบี้ยตลาดและช่องทางสินเชื่อใช้เวลานานกว่า
 โดยรวมจะใช้เวลา 4 - 6 ไตรมาสกว่านโยบายการเงินจะส่งผลเต็มที่ตอ่ เศรษฐกิจ

ระยะเวลาการส่ งผ่านทาให้ธนาคารกลางต้อง
เสถียรภาพ
ดาเนินนโยบายล่วงหน้าเพื่อให้ได้ผลทันการณ์ และการขยายตัว
ธปท. นโยบายการเงิน ทางเศรษฐกิจ

0 1 2 3 4 5 6
125 125
2. กรอบในการดาเนินนโยบายการเงินแบบต่างๆ

126 126
การดาเนินนโยบายการเงินในประเทศต่างๆ

ฮ่องกง
เป้ าหมายอัตราแลกเปลี่ยน จีน
สิ งคโปร์

เยอรมนี (ในอดีต)
เป้ าหมายปริมาณเงิน ประเทศที่เข้ารับการช่วยเหลือจาก IMF
กรอบการดาเนิน
นโยบายการเงิน

ไม่มีเป้ าหมายแน่ ชดั ตายตัว สหรัฐฯ


ญี่ปนุ่

นิ วซีแลนด์
แคนาคา
เป้ าหมายเงินเฟ้ อ อังกฤษ
สวีเดน
ไทย (ปัจจุบนั )
127
การตัง้ เป้ าหมายเงินเฟ้ อ
(Inflation Targeting)

 Inflation Targeting เริ่มใช้ในนิวซีแลนด์เมื่อปี 2533 และได้รบั ความนิยม


เพิ่มขึ้นเป็ นลาดับ
 ธนาคารกลางประกาศเป้ าหมายเงินเฟ้ อเป็ นเป้ าหมายหลักในการดาเนิน
นโยบายการเงิน และเปลี่ยนแปลง “อัตราดอกเบี้ยนโยบาย” เพื่อรักษา
อัตราเงินเฟ้ อให้อยูใ่ นช่วงเป้ าหมายที่กาหนดไว้
 องค์ประกอบสาคัญของกรอบนโยบายการเงินแบบนี้ คือ การดาเนินงานที่
เป็ นระบบและความโปร่งใสในการสื่อสารกับสาธารณชน

128
การตั้งเป้ าหมายเงินเฟ้ อ (ต่อ)

 ส่งผลโดยตรงต่อเป้ าหมายสูงสุด (ระดับราคา)


 มีความเป็ นอิสระในการดาเนินนโยบาย
การเงินโดยไม่ต้องขึน้ กับนโยบายการเงินของ ข้อดี
ต่างประเทศ

 ความล่าช้า (Time lag) ของผลกระทบจากนโยบายการเงิน


ไปสู่อตั ราเงินเฟ้ อ
 ต้องอาศัยแบบจาลองในการมองสถานการณ์ไปข้างหน้ า
ข้อเสีย ซึ่งแบบจาลองอาจพยากรณ์คลาดเคลื่อนและนาไปสู่
การตัดสินใจที่ผิดพลาด

129
3. การดาเนินนโยบายการเงินภายใต้
กรอบเป้าหมายเงินเฟ้อ
ในปั จจุบนั

130 130
Inflation Targeting ในประเทศไทย

เป้ าหมายของ
นโยบายการเงิน อัตราเงินเฟ้ อพืน้ ฐาน
ที่กาหนดไว้คือ … 0 – 3.5 %
เฉลี่ยทัง้ ไตรมาส

131
อัตราเงินเฟ้ อพื้นฐานของประเทศไทย

 อัตราเงินเฟ้ อพื้นฐาน (Core Inflation)


 คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงของดัชนีราคาผูบ้ ริโภคพื้นฐาน ซึ่งก็คือ “ดัชนีราคาผูบ้ ริโภค
ทั่วไป” (CPI) หัก รายการสินค้าหมวดอาหารสดและหมวดพลังงาน (ประมาณ 24%
ของตะกร้า CPI) ได้แก่ ดัชนี ราคาผูบ้ ริโภคทัวไป

 ข้าว แป้ ง และผลิตภัณฑ์จากแป้ ง พลังงาน
9%
 เนื้อสัตว์ เป็ ด ไก่ และสัตว์น้ า
อาหาร
 ผักและผลไม้ 15%

 ไข่และผลิตภัณฑ์นม
ดัชนี ราคาผูบ้ ริโภคพืน้ ฐาน
 น้ ามันเบนซิน น้ ามันเครื่อง น้ ามันดีเซล 76%
 ค่ากระแสไฟฟ้ าและก๊าซหุงต้ม

132
คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.)

 ตาม พรบ. ธนาคารแห่งประเทศ พ.ศ. 2551 ระบุว่า


คณะกรรมการนโยบายการเงิน ประกอบด้วย
 ผูบ
้ ริหารระดับสูงจาก ธปท. 3 ท่าน
 กรรมการผูท
้ รงคุณวุฒิจากภายนอกอีก 4 ท่าน

http://www.bot.or.th/bothomepage/General/Laws_Notif_Forms/Legal/Law01_Update.pdf
อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการนโยบายการเงิน (มาตรา 28/7)

1. กาหนดเป้ าหมายของนโยบายการเงินของประเทศ โดยคานึงถึงแนวนโยบาย


แห่งรัฐ สภาวะทางเศรษฐกิจและการเงินของประเทศ
2. กาหนดนโยบายการบริหารจัดการอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราภายใต้ระบบการ
แลกเปลี่ยนเงินตราตามกฎหมายว่าด้วยเงินตรา
3. กาหนดมาตรการที่จาเป็ นเพื่อให้สอดคล้องกับเป้ าหมายและนโยบาย
4. ติดตามการดาเนินมาตรการของ ธปท. ให้เป็ นไปอย่างถูกต้องและมี
ประสิทธิภาพ
 ทัง้ นี้ กนง. จักต้องรายงานผลการดาเนินงานต่อคณะรัฐมนตรีทุก 6 เดือน
และจัดทาเป้ าหมายของนโยบายการเงิน เพื่อนาเสนอและทาความตกลง
ร่วมกับรัฐมนตรี จากนัน้ เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อให้ความเห็นชอบใน
เดือนธันวาคมของทุกปี
134
ขัน้ ตอนการดาเนินนโยบายการเงิน

ข้อมูล

ประเมินภาวะเศรษฐกิจ
ประชุม กนง. 8 ครัง้ ต่อปี การเงินและแนวโน้ ม
เศรษฐกิจและเงินเฟ้ อ
ตัดสินนโยบายการเงิน :
ขึ้น / คง / ลด
อัตราดอกเบี้ยนโยบาย

แถลงข่าวผลการประชุม

รักษาระดับ
อัตราดอกเบีย้ นโยบาย

รายงานแนวโน้ มเงินเฟ้ อ
135
สาเหตุของการค้าระหว่างประเทศ
1. ต้นทุนการผลิตสินค้าชนิดเดียวกันของแต่ละประเทศไม่
เท่ากัน เพราะ
 มีทรัพยากรตั้งต้นไม่เท่ากัน
 มีเทคโนโลยีการผลิตที่แตกต่างกัน
2. ความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ (Comparative
Advantage)

137
ประโยชน์ของการค้าระหว่างประเทศ
1. การผลิตมีประสิทธิภาพมากขึ้น
การแบ่งงานกันทาตามความถนัด (Specialization)
การประหยัดจากขนาด (Economies of scale)
ทาให้ ทรัพยากรถูกใช้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
2. ประชาชนสามารถเลือกบริโภคสินค้าที่มีราคาถูกลง
3. ประชาชนมีโอกาสเลือกสินค้าบริโภคมากขึ้น
4. เป็นการถ่ายทอดเทคโนโลยีระหว่างประเทศ

138
ดุลการชาระเงิน

 บัญชีดุลการชาระเงิน (Balance of Payment: BOPs) หมายถึง


รายงานสถิติที่ได้จากการรวบรวมรายการทางเศรษฐกิจและการเงิน
อย่างเป็นระบบ ระหว่างผู้มีถิ่นฐานของประเทศหนึ่ง กับผู้มีถิ่นฐาน
ของประเทศอื่นๆ ในรอบระยะเวลาหนึ่ง

139
องค์ประกอบของบัญชีดุลการชาระเงิน ใช้ “หลักบัญชีคู่”
เพื่อให้เกิดความสมดุลกัน
บัญชีดุลการชาระเงิน
(Balance of Payment)

1 บัญชีเดินสะพัด 2 บัญชีทุนเคลื่อนย้าย * บัญชีทุนสารองระหว่างประเทศ


(International Reserve Account)
(Current Account) (Capital and Financial Account)
-บัญชีดลุ การค้า - บัญชีทุน
-บัญชีดุลบริการ - บัญชีการเงิน
-ทองคา
-บัญชีดลุ รายได้ -สิทธิพิเศษถอนเงิน (SDRs)
-บัญชีดลุ เงินโอน/เงิน -เงินตราต่างประเทศ
บริจาค
-ฐานทุนสารอง

140
141
1 ตัวอย่างการทาบัญชีดุลการชาระเงิน (หน่วย ล้าน
4
บัญชีเดินสะพัด
1บาท) (340)
2
- สินค้าออก ไทยส่งออกเฟอร์นิเจอร์ 440
- สินค้าเข้า บริษทั ไทยนาเข้าเครือ่ งจักรเพือ่ ใช้ในการผลิต (600)
- รับบริการ ไทยเดินทางไปเทีย่ วต่างประเทศ (50)
- ให้บริการ ชาวต่างชาติมาเทีย่ วไทย 70
- รายได้คา่ แรงงาน ไทยไปทางานสิงคโปร์ 40
- รายจ่ายเงินปั นผลและดอกเบีย้ ต่างชาติโอนเงินปั นผลจากหุน้ ไทยกลับประเทศ (80)
- เงินโอนภาครัฐ รัฐไทย ส่งเงินช่วยเหลือ เฮติ (160)
2 บัญชีทุนเคลื่อนย้าย 450
- เงินลงทุนโดยตรง เยอรมัน เข้ามาลงทุนให้ไทยเป็ นฐานการผลิตรถยนต์ 200
- เงินลงทุนในหลักทรัพย์ ต่างชาติสง่ เงินมาซือ้ หุน้ ไทย 150
- จ่ายคืนหนี้สนิ ภาคเอกชน ธนาคารไทยพาณิชย์ คืนเงินกูธ้ นาคารต่างประเทศ (500)
- กูห้ นี้สนิ ค้าภาครัฐบาล ไทยกูเ้ งินจาก ADB เพือ่ โครงการไทยเข้มแข็ง 600
3 ทุนสารองระหว่างประเทศ ผล: เพิ่มขึ้น (110)

142
อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ
 อัตราแลกเปลี่ยน (Exchange Rate) หมายถึง ราคาของเงิน
สกุลต่างประเทศเมื่อเทียบกับเงินสกุลของประเทศ
 เช่น จานวนบาทต่อหนึ่งดอลลาร์ = 32 บาทต่อ 1 US$

 หากเรามองว่า “เงินตราต่างประเทศ” คือ “สินค้า”

อัตราแลกเปลี่ยน ก็คือ ราคาของเงินตราต่างประเทศ 1 หน่วย


นั่นเอง

144
มองมุม ไทย แลกเงินดอลล่าร์

 เดิม อัตราแลกเปลี่ยนเงินดอลล่าร์ = 32 บาทต่อเหรียญ


(เราเอาเงินบาทไปแลกดอลล่าร์)
CASE 1 อัตราแลกเปลี่ยน เปลี่ยนเป็น 35 บาทต่อเหรียญ
>>> ใช้เงินบาทมากขึ้นเพื่อไปซื้อดอลล่าร์ >> เงินดอลล่าร์แพงขึ้น

CASE 2 อัตราแลกเปลี่ยน เปลี่ยนเป็น 30 บาทต่อเหรียญ


>>> ใช้เงินบาทน้อยลงเพื่อไปซื้อดอลล่าร์ >> เงินดอลล่าร์ถูกลง
145
มองมุม ดอลล่าร์ แลกเงินไทย

 เดิม อัตราแลกเปลี่ยนเงินดอลล่าร์ = 32 บาทต่อเหรียญ


(เงินไทย = 1/32 = 0.03125 ดอลล่าร์ต่อบาท)

CASE 1 อัตราแลกเปลี่ยน เปลี่ยนเป็น 35 บาทต่อเหรียญ


(เงินไทย = 1/35 = 0.02857 ดอลล่าร์ต่อบาท)
เงินบาทถูกลงในสายตาคนต่างชาติ >>> เงินบาทอ่อนค่า = เงินดอลล่าร์แข็งค่า

CASE 2 อัตราแลกเปลี่ยน เปลี่ยนเป็น 30 บาทต่อเหรียญ


(เงินไทย = 1/30 = 0.03333 ดอลล่าร์ต่อบาท)
เงินบาทแพงขึ้นในสายตาคนต่างชาติ >>> เงินบาทแข็งค่า = เงินดอลล่าร์อ่อนค่า
146
อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ

ความสาคัญ:
 การค้าระหว่างประเทศจาเป็นต้องมีอัตราแลกเปลี่ยนระหว่าง

เงินตราสกุลต่างๆ เพื่อใช้ในการชาระเงินระหว่างประเทศ
 การเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนมีผลโดยตรงต่อการ
นาเข้าและส่งออก ซึ่งมีผลกระทบต่อดุลการค้าและ
ดุลการชาระเงิน การผลิต การจ้างงาน และรายได้ประชาชาติ

147
การเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน

 มูลค่าอัตราแลกเปลี่ยนเพิ่มขึ้น (ราคาเงินตราต่างประเทศแพงขึ้น)
 ค่าของสกุลเงินในประเทศลดลง (depreciation)
 เช่น ค่าเงินบาทอ่อนตัวลงจาก 40 ฿/$ เป็น 42 ฿/$
000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000

เช่น ถ้าเดิมเคยสมัครสอบ TOEFL 160$ = 160 x 40 บาท


กลายเป็นว่า ต้องจ่ายแพงขึ้นเป็น 160 x 42 (แพงขึ้นอีก 320 บาท) ทั้งๆที่ราคาใน
ต่างประเทศไม่ได้เปลี่ยน
ดังนั้น ค่าเงินบาทอ่อนค่า ส่งผลทาให้ ราคาการนาเข้า (แพงขึ้น) คิดเป็นเงินบาท
148
การเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน

 มูลค่าอัตราแลกเปลี่ยนลดลง (ราคาเงินตราต่างประเทศถูกลง)
ค่าของสกุลเงินในประเทศเพิ่มขึ้น (appreciation)
เช่น ค่าเงินบาทแข็งตัวขึ้นจาก 40 ฿/$ เป็น 38 ฿/$
000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000

เช่น ถ้าเดิมเคยซื้อน้าหอม 50 $ = 50 x 40 บาท


กลายเป็นว่า ต้องจ่ายถูกลงเป็น 50 x 38 อีก (ถูกลงไป 100 บาท) ทั้งๆ
ที่ราคาในต่างประเทศไม่ได้เปลี่ยน
ดังนั้น ค่าเงินบาทแข็งค่า ส่งทาให้ ราคาการนาเข้า (ถูกลง) คิดเป็นเงิน
บาท 149
โดยสรุป
อัตราแลกเปลี่ยน ราคาการส่งออก ราคาการนาเข้า
(คิดเป็นเงิน $) (คิดเป็นเงินบาท)
40 บาทต่อ $ - -

42 บาทต่อ $ ถูกลงในสายตาต่างชาติ คนไทยจ่ายแพงขึ้น


(เงินบาทอ่อนค่า /
เงินดอล แพงขึ้น)
38 บาทต่อ $ แพงขึ้นในสายตาต่างชาติ คนไทยจ่ายถูกลง
(ค่าเงินบาทแข็งขึ้น/
เงินดอล ถูกลง)

150
อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศเปลี่ยนแปลงได้อย่างไร
แรงผลักของอุปสงค์ และอุปทานเงินตราต่างประเทศ >>> ดุลยภาพตลาด
ตัวกาหนดอุปสงค์ของเงินตราต่างประเทศ ตัวกาหนดอุปทานของเงินตราต่างประเทศ
คือ ปัจจัยที่ส่งผลให้เงินตราต่างประเทศ คือ ปัจจัยที่ส่งผลให้เงินตราต่างประเทศ
ไหลออกจากประเทศ เช่น ไหลเข้า ประเทศ
 การนาเข้าสินค้า  การส่งออกสินค้า
 การที่เงินทุนไหลออกจากประเทศ  การลงทุนทางตรง
 การโอนเงินไปช่วยเหลือประเทศ  การได้รับเงินบริจาคหรือเงินช่วยเหลือ
เพื่อนบ้าน จากต่างประเทศ
 ฯลฯ

151
อัตราแลกเปลี่ยนดุลยภาพ
อัตราแลกเปลีย่ น
(บาท/$1) Supply of Foreign
Exchange
50 บาท = $1

40 บาท = $1

30 บาท = $1

Demand of Foreign
Q* = 1 พันล้ านดอลล่ าร์
Exchange
ปริมาณเงินตราต่ างประเทศ ($)

152
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ

 ดุลยภาพของอัตราแลกเปลี่ยนสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา เนื่องจากการ
เปลี่ยนแปลงเส้นอุปสงค์หรืออุปทาน (SHIFT) โดยมีปัจจัยหลายๆอย่าง เช่น
 อัตราดอกเบี้ยของแต่ละประเทศที่ไม่เท่ากัน
 สมมติไทยประกาศอัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น แต่ สหรัฐอเมริกายังมีอัตราดอกเบี้ยเท่าเดิม
 นักลงทุนจะเคลื่อนย้ายเงินเข้ามาฝากในประเทศ >>> อุปทาน $ เพิ่มขึ้น

 คนไทยที่เดิมเคยไปฝากเงินใน สหรัฐ ชะลอการนาเงินออกไปฝาก >> อุปสงค์ $ ลดลง

 การเปลี่ยนแปลงมาตรการควบคุมของรัฐ
 การเปิดการค้าเสรีทาให้กาแพงภาษีลดลงเป็นศูนย์ สินค้าไทยทะลักเข้าสหรัฐอย่างต่อเนื่อง
 การส่งออกของไทยเพิ่มขึ้น >>> อุปทาน $ เพิ่มขึ้น

 ความคาดหวังของตลาด เช่น ความไม่มีเสถียรภาพทางการเมือง


153
สถานการณ์ต่อไปนี้ จะเกิดอะไรขึ้นกับอัตราแลกเปลี่ยน
 นักลงทุนต่างชาติไม่มั่นใจเสถียรภาพทางการเมือง ทาให้ทยอยขายหุ้น และนา
เงินกลับประเทศ
เงินทุนไหลออกนอกประเทศ >>> Demand for $ เพิ่มขึ้น >>> Shift
ขวา >>> อัตราแลกเปลี่ยนสูงขึ้น >>> ค่าเงินบาทอ่อนค่าลง
 ประเทศเร่งผลักดันขยายตัวการส่งออกกุ้งแช่แข็งไปยังสหรัฐ โดยให้สิทธิพิเศษ

ส่งออกมากขึ้น >>> เงิน $ ไหลเข้าประเทศ >>> Supply for $ เพิ่มขึ้น


>>> Shift ขวา >>> อัตราแลกเปลี่ยนลดลง >>> ค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้น

154
เงินทุนไหลออกนอกประเทศ >>> Demand for $ เพิ่มขึ้น >>> Shift ขวา >>>
อัตราแลกเปลี่ยนสูงขึ้น >>> ค่าเงินบาทอ่อนค่าลง

อัตราแลกเปลี่ยน
Supply of Foreign Exchange
(บาท/$1)

50 บาท = $1

40 บาท = $1

30 บาท = $1

Demand of Foreign Exchange

Q* = 1 พันล้านดอลล่าร์
ปริมาณเงินตราต่างประเทศ ($)

155
ส่งออกมากขึ้น >>> เงิน $ ไหลเข้าประเทศ >>> Supply for $ เพิ่มขึ้น >>> Shift
ขวา >>> อัตราแลกเปลี่ยนลดลง >>> ค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้น

อัตราแลกเปลี่ยน
Supply of Foreign Exchange
(บาท/$1)

50 บาท = $1

40 บาท = $1

30 บาท = $1

Demand of Foreign Exchange

Q* = 1 พันล้านดอลล่าร์
ปริมาณเงินตราต่างประเทศ ($)

156
วิเคราะห์ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยน
 ผลกระทบต่อดุลการค้า
ผลกระทบต่อราคาสินค้านาเข้า
ผลกระทบต่อราคาสินค้า
 ผลกระทบต่อดุลการชาระเงิน
 ผลกระทบต่อการผลิต

 ผลกระทบต่อรายได้ประชาชาติ

 ผลกระทบต่อหนี้ ต่างประเทศ

157
กรณี มูลค่าอัตราแลกเปลี่ยนเพิม่ ขึ้น (Depreciation)

Case กรณีช่วงวิกฤตปี 2540


(ค่าเงินเปลี่ยนจาก 25 บาทเป็น 40 บาทต่อ $)
เงินบาทอ่อนค่า
สินค้าไทยในสายตาคนต่างชาติถูกลง
การส่งออกเพิ่มขึ้น
สินค้าต่างชาติในสายตาคนไทยแพงขึ้น
การนาเข้าลดลง
สิ่งอื่นๆที่เกิดขึ้น เช่น การลงทุนในประเทศ, การท่องเที่ยว
158
ส่งออก-เพิ่มขึ้น นาเข้า-ลดลง
ดุลการชาระเงินดีขึ้น (เพิ่มสูงขึ้น)
ทุนสารองระหว่างประเทศเพิม
่ สูงขึ้น
การผลิตในประเทศเพิ่มสูงขึ้น
แต่การผลิตที่ต้องใช้ปัจจัยการผลิตจากต่างประเทศมีต้นทุนสูงขึ้น
การจ้างงานในประเทศสูงขึ้น
รายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้น
มูลค่าของหนี้ต่างประเทศเพิ่มขึ้น (จานวนเงินบาทที่ต้องใช้ชาระ
หนี้จะเพิ่มขึ้น) 159
กรณี มูลค่าอัตราแลกเปลี่ยนลดลง (Appreciation)

 ช่วงปีที่ผ่านมา มีข่าวค่าเงินบาทแข็งค่า
 เงินบาทแข็งค่า
สินค้าไทยในสายตาคนต่างชาติแพงขึ้น
การส่งออกลดลง
สินค้าต่างชาติในสายตาคนไทยถูกลง
การนาเข้าเพิ่มขึ้น
สิ่งอื่นๆที่เกิดขึ้น เช่น การลงทุนในประเทศ, การท่องเที่ยว
160
ส่งออก-ลดลง นาเข้า-เพิ่มขึ้น
ดุลการชาระเงินแย่ลง (ลดลง)
ทุนสารองระหว่างประเทศลดลง
การผลิตในประเทศลดลง
การผลิตที่ต้องใช้ปัจจัยการผลิตจากต่างประเทศมีต้นทุนลดลง
การจ้างงานในประเทศลดลง
รายได้ประชาชาติลดลง
มูลค่าของหนี้ต่างประเทศลดลง (จานวนเงินบาทที่ต้องใช้
ชาระหนี้จะลดลง)
161
เรื่องน่าสนใจ
 Trade War
https://www.bbc.com/news/world-43512098
 ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง

 ภาษีถุงพลาสติก

 ภาษีลาภลอย

 Cashless society

162

You might also like