You are on page 1of 33

นโยบายการเงิน Monetary policy

อาจารย์ ดร. ธิดารัตน์ สืบญาติ


นโยบายการเงิน (Monetary policy)

1
•การเพิ่ม หรื อลดปริ มาณเงินสดสารอง

2
•การเพิ่มและการลดอัตราดอกเบี ้ย

3
•การซื ้อหรื อขายพันธบัตรรัฐบาล
นโยบายการเงิน
• การใช้ นโยบายการเงิน ย่อมขึ ้นอยูก่ บั สถานการณ์ที่ใช้ ใน
การศึกษา บริ บทในขณะนัน้
• ผู้วา่ ธนาคารกลางแห่งประเทศไทยสามารถประกาศใช้ ได้
เลยโดยไม่ต้องผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภา
นโยบายการเงิน
• เป็ นเครื่ องมือทางการเงินที่ธนาคารกลางพัฒนาขึ ้นมา
• เพือ่ ใช้ ใน การควบคุมดูแลปริมาณเงินและทิศทางของอัตราดอกเบี ้ย
• เพือ่ บรรลุเป้าหมายการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพ
– นโยบายการเงินแบบเข้ มงวด (restrictive monetary policy
– นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย (easy monetary policy)
ลักษณะของนโยบายการเงิน

นโยบายการเงินแบบเข้ มงวด นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย

• มีการใช้ เครื่ องมื อ ต่าง ๆ ทางการเงินเพื่ อ • เป็ น ลัก ษณะของนโยบายการเงิ น ที่ ช่ ว ย


ทาให้ ปริมาณเงิน มีขนาดเล็กลง กระตุ้นเศรษฐกิจให้ มีการฟื น้ ตัว
• ใช้ กับระบบเศรษฐกิจที่มีปัญหาต่างๆ เช่น • โดยใช้ เครื่ องมือต่างๆ ทางการเงิน เพื่อทา
ภาวะราคาสินค้ า สูงขึน้ ทาให้ ป ระชาชนมี ให้ ปริมาณเงินมีขนาดใหญ่ขึ ้น
การใช้ จ่ายมากกว่าความสามารถในการ • มัก ใช้ ใ นภาวะเศรษฐกิ จ ซบเซา ซึ่ง มี ก าร
ผลิตของระบบเศรษฐกิจ ลงทุ น การผลิ ต และ การใช้ จ่ า ยของ
• นโยบายการเงินแบบเข้ มงวดนัน้ จะมีส่วน ประชาชนอยูใ่ นระดับต่า
ช่วยลดความร้ อนแรงในระบบเศรษฐกิจ
การดาเนินนโยบายการเงินนั้นจะเน้นเป้าหมาย
การรักษาเสถียรภาพ
ของระดับราคาสินค้ า

การรักษา
เสถียรภาพของ การจ้ างงานเต็มที่
ตลาดการเงิน

การรักษา การรักษาความ
เสถียรภาพของ เจริญเติบโตทาง
อัตราดอกเบีย้ เศรษฐกิจ

การมีความสมดุลใน
ดุลการชาระเงิน
เครื่ องมือของนโยบายการเงิน

• ในการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ ธนาคารกลางหรื อ
เจ้ าหน้ าที่ทางการเงินของประเทศจะมีการนาเครื่ องมือของนโยบาย
การเงินในลักษณะต่างๆ มาใช้
• ทาให้ ปริมาณเงินมีขนาดพอเหมาะกับภาวะเศรษฐกิจในแต่ละช่วงเวลา
โดยไม่เกิดความผันผวนมากจนเกินไป
• ซึง่ เป็ นการรักษาเสถียรภาพทางการเงินในระบบเศรษฐกิจของประเทศ
เครื่ องมือของนโยบายการเงิน

การชักชวน การควบคุมทาง
ธนาคาร ปริมาณหรือการ
พาณิชย์ ให้ ควบคุม
ปฏิบตั ติ าม โดยทั่วไป
การควบคุมทาง
คุณภาพหรือด้ วยวิธี
เลือกสรร
เครื่ องมือที่ใช้ในการควบคุมทางปริ มาณ
• 1.1 การซื ้อขายหลักทรัพย์ รัฐบาลในตลาด (open market
operations หรื อ OMO)
– การตัดสินใจเกี่ยวกับการดาเนินนโยบายการเงินของประเทศเป็ นหน้ าที่สาคัญ
ของธนาคารกลาง
– โดยธนาคารกลางมีอานาจในการซื ้อขายหลักทรัพย์รัฐบาล
• 1.2 อัตรารับช่วงซื้ อลด (rediscount rate)
• เป็ นดอกเบี้ยเงินกูท้ ี่ธนาคารกลางเก็บล่วงหน้าจากธนาคารพาณิ ชย์
• เมื่อธนาคารพาณิ ชย์นาตัว๋ ที่ธนาคารพาณิ ชย์รับซื้ อลดไปขายลดให้กบั ธนาคารกลาง
• ซึ่ งเมื่อธนาคารพาณิ ชย์เกิดปั ญหาขาดแคลนเงินสดสารอง
• อาจมีการแก้ปัญหาโดยการใช้วิธีการต่างๆ
– เช่น การลดการขยายสิ นเชื่อ
– การขายหลักทรัพย์ในตลาดเพื่อเพิ่มเงินสดสารอง
– การขอกูจ้ ากธนาคารพาณิ ชย์ดว้ ยกัน
– การขอกูย้ มื จากธนาคารกลาง
• โดยธนาคารกลางสามารถเพิ่มหรื อลดอัตรารับช่วงซื้ อลด เพื่อเป็ นการเปลี่ยนแปลงปริ มาณเงิน
ได้ โดยหากธนาคารกลางลดอัตรารับช่วงซื้ อลดลงก็จะส่ งผลให้ธนาคารพาณิ ชย์สามารถกูย้ มื
ได้มากขึ้น
• ดังนั้นเงินสดสารองจึงเพิ่มขึ้นทาให้ธนาคารพาณิ ชย์สามารถขยายสิ นเชื่อได้มากขึ้นและ
ปริ มาณเงินเพิ่มสู งขึ้น ธนาคารกลางลดอัตรารับช่วงซื้ อลดแสดงว่าภาวะเศรษฐกิจของประเทศ
กาลังเผชิญกับภาวะเงินฝื ดธนาคารกลางจึงจาเป็ นที่จะต้องดาเนินนโยบายเพิ่ม การขยายตัว
ของสิ นเชื่อ
• อัตราดอกเบี ้ยมาตรฐาน (bank rate)
• เป็ นอัตราดอกเบี ้ยที่ธนาคารกลางคิดจากธนาคารพาณิชย์
• ซึง่ โดยปกติเป็ นการกู้ยืมโดยมีหลักทรัพย์รัฐบาลค ้าประกัน
• โดยธนาคารกลาง จะทาหน้ าที่เป็ นนายธนาคารของธนาคารพาณิชย์
• อัตราเงินสดสารองที่ต้องดารง (legal reserve ratio)
• การที่ธนาคารพาณิชย์ จะสามารถสร้ างเงินฝากได้ มากน้ อยเพียงใดนัน้
จะขึ ้นอยู่กบั เงินสดสารองส่วนเกินที่ธนาคารพาณิชย์มีอยู่และอัตราเงิน
สดสารองตามกฎหมายที่ต้องดารง
• ซึ่งอัตราเงินสดสารองตามกฎหมายนัน้ เป็ นเครื่ องมือสาคัญที่ธนาคาร
กลางมีอานาจในการกาหนดและเปลี่ยนแปลงการกาหนดให้ ธนาคาร
พาณิชย์ต้องสารองเงินตามกฎหมายนันเป็ ้ นเงื่อนไขที่ธนาคารพาณิชย์
ต้ องฝากเงินสดสารองนีไ้ ว้ กับธนาคารกลาง โดยไม่ได้ รับผลประโยชน์
ตอบแทนแต่อย่างใด
• 2. การควบคุมทางคุณภาพหรือด้ วยวิธีเลือกสรร
• คือการใช้ วิธีการจากัดการให้ ก้ ขู องผู้ให้ ก้ ยู ืมโดยตรง
• ซึง่ จะไม่คานึงว่าธนาคารพาณิชย์ จะมีเงินสดสารองอยูใ่ นปริมาณ
มากน้ อยเพียงใด
• โดยธนาคารกลางจะมีการวางเงื่อนไขในการจากัดเฉพาะเครดิตบาง
ชนิด
• การชักชวนธนาคารพาณิชย์ ให้ ปฏิบัตติ าม
• เป็ นวิธีการที่ธนาคารกลาง ขอความร่ วมมือให้ ธนาคารพาณิชย์ปฏิบตั ิอย่าง
ใดอย่างหนึ่ง
• เพื่อให้ มีความสอดคล้ องกับนโยบายโดยส่วนรวมของประเทศ
• โดยอาจใช้ เครื่ องมือที่ไม่เป็ นทางการ
• โดยการใช้ วิธีขอความร่ วมมือให้ ธนาคารพาณิชย์ ปฏิบัติตามนโยบายของ
ธนาคารกลาง ผู้บริ หารหรื อเจ้ าหน้ าที่ของธนาคารกลางอาจพบปะพูดคุยกับ
เจ้ า หน้ า ที่ ร ะดับ สูง ของธนาคารพาณิ ช ย์ แ ละท าการขอความร่ ว มมื อ ให้
ธนาคารพาณิชย์ปฏิบตั ิตามนโยบายบางประการที่ธนาคารกลางมีความเห็น
ว่าเหมาะสม
การดาเนินนโยบายการเงิน

• กลยุทธ์การบริหารนโยบายการเงินที่ธนาคารกลางสามารถเลือกใช้ เพื่อ
ควบคุมหรื อลดความร้ อนแรงของระดับราคา
• ซึง่ ถือเป็ นเป้าหมายหลักที่สาคัญมากที่สดุ เป้าหมายหนึง่ ของการดาเนิน
นโยบายการเงิน ประกอบด้ วย 4 แนวทางหลัก ได้ แก่
ระบบผูกโยงค่าเงินในประเทศ ระบบmonetary ระบบ Inflation
ไว้ กบั เงินตราต่างประเทศ targeting Targeting

• เ ป็ น ก ร อ บ ที่ ใ ห้ • ระบบที่มิได้ มีการพึง่ พิงตัว • เป็ นกรอบที่มงุ่ เน้ นที่ • มุง่ ดาเนินนโยบายการเงิน
แปรใด/ตัวแปรหนึง่ เป็ น เพื่อให้ ได้ เป้าหมายขัน้
ความสาคัญกับการ จะรักษาระดับ
หลักอย่างแจ้ งชัด เพื่อเป็ น สุดท้ าย คืออัตราเงินเฟ้อ
มุ่ ง เน้ นที่ จ ะรั ก ษา เครื่ องชี ้ทางการเงิน แต่มกั ปริมาณเงิน หรื อ
โดยตรง ในขณะที่ปล่อย
อัตราแลกเปลี่ยน ณ อาศัยการปรับเปลี่ยน ฐานเงิน เป้าหมายระดับกลางเป็ น
ระดับหนึ่ง แนวนโยบายการเงินไปตาม กลไกรักษาสมดุล และปรับ
สถานการณ์เป็ นส่วนใหญ่ เข้ าสูเ่ ป้าหมาย ในขณะที่
ระบบที่มิได้ มีการพึง่ พิงตัว เป้าหมายอื่นๆ มุง่ กาหนด
แปรใด/ตัวแปรหนึง่ เป็ น เป้าหมายไปยังเป้าหมาย
หลักอย่างแจ้ งชัด เพื่อเป็ น ระดับกลาง เช่น อัตรา
เครื่ องชี ้ทางการเงิน แต่มกั แลกเปลี่ยน ปริมาณเงิน
อาศัยการปรับเปลี่ยน หรื อฐานเงิน เพื่อส่งผ่านไป
แนวนโยบายการเงินไปตาม ยังระดับอัตราเงินเฟ้อ
สถานการณ์เป็ นส่วนใหญ่
รู ปแบบของการดาเนินนโยบายการเงิน

• กระบวนการส่งผ่านนโยบายการเงินภายใต้ ระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัว
ก่อน เพื่อจะได้ มีความเข้ าใจในความหมายของนโยบายการเงินในส่วนที่เป็ น
นโยบายการเงินในประเทศ และนโยบายการเงินด้ านต่างประเทศเพื่อให้
บรรลุเป้าหมายขันสุ้ ดท้ าย ที่สาคัญคือ ผลผลิต และระดับราคา
• การดาเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลายภายใต้ ระบบอัตราแลกเปลี่ยน
ลอยตัวนัน้ จะมีผลให้ อตั ราดอกเบี ้ยลดลงซึง่ จะช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจผ่านการ
ลงทุนและการบริ โภค และจะมีผลต่อความต้ องการสินค้ าและบริ การ และ
ระดับราคาสินค้ าในประเทศ เรี ยกได้ วา่ เป็ นนโยบายการเงินในประเทศ
• การใช้ นโยบายการเงินแบบผ่อนคลายควรจะมีผลให้ ค่าเงินอ่อนลงซึง่ ช่วยกระตุ้นการ
ส่งออกและชะลอการนาเข้ า ซึง่ จะมีผลต่อความต้ องการสินค้ าและบริ การ และระดับ
ราคาสิ น ค้ า ในประเทศได้ ซึ่ง ช่ อ งทางนี อ้ าจเรี ย กได้ ว่ า เป็ น นโยบายการเงิ น ด้ า น
ต่างประเทศ
• นอกจากนีอ้ ัตราแลกเปลี่ยนยังมีผลโดยตรงต่อระดับราคาในประเทศผ่านทางด้ าน
ราคาสินค้ านาเข้ า
• สาหรับรู ปแบบการดาเนินนโยบายการเงินในประเทศต่างๆ ตังแต่ ้ อดีตจนถึงปั จจุบนั
นัน้ จะมีข้อแตกต่างสาคัญอยู่ที่ตัวแปรธนาคารกลางต้ องการจะควบคุม (policy
anchor) เพื่ อกาหนดและส่งสัญญาณทิ ศทางนโยบายการเงิน ซึ่งจะมีประเด็น
สาคัญ 3 เรื่ องที่ต้องพิจารณา คือ (1) จะใช้ ตัวแปรใดเป็ นหมายของนโยบาย (2) มี
ประกาศเป้าหมายของตัวแปรนันล่ ้ วงหน้ าหรื อไม่ และ (3) มีการยึดมัน่ ต่อตัวแปรนัน้
มากน้ อยเพียงใด
การตั้งเป้ าหมายปริมาณเงิน
(monetary targeting)

• การก าหนดเป้ า หมายปริ ม าณเงิ น เพื่ อ ใช้ ประโยชน์ ใ นการบรรลุ


เป้าหมายทางเศรษฐกิจ
• เป็ นแนวความคิดที่ได้ รับความนิยมอย่างมากในบรรดาธนาคารกลาง
ของกลุม่ ประเทศอุตสาหกรรมชันน ้ าของโลก 7 ประเทศ (G-7)
• โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในช่ ว งปลายทศวรรษที่ 60 ต่ อ เนื่ อ งถึ ง ช่ ว งต้ น
ทศวรรษที่ 70 ซึ่งเป็ นช่วงที่ระบบเศรษฐกิจของโลกประสบปั ญหาเงิน
เฟ้อที่รุนแรง
• ธนาคารกลางของกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมเหล่านัน้ จึงได้ อาศัยการ
กาหนดเป้าหมายทาง การเงินเพื่อประโยชน์ในการบรรลุเป้าหมายขัน้
สุดท้ ายทางเศรษฐกิจ ทัง้ ทางด้ านการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจ และ
เสถียรภาพทางด้ านราคา
• โดยพยายามกาหนดให้ ตวั แปรปริมาณเงินรวมขยายตัวได้ ไม่เกินระดับที่
ทางการได้ ตงไว้
ั ้ โดยที่ตวั แปรปริมาณเงินรวมดังกล่าวอาจจะเป็ นตัวแปร
มวลรวมทางการเงินตามความหมายแคบ (M1) หรื อตามความหมาย
กว้ าง (M2)
การดาเนินนโยบายของประเทศไทย

• ในช่วงเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2540 ประเทศไทยได้ ผูกค่าเงินบาทไว้ กับตะกร้ าเงิน


(basket-peg exchange rate system) โดยมีทนุ รักษาระดับราคาอัตรา
แลกเปลี่ยน (exchange equalization fund: EEF)
• กาหนดค่าเงินบาท/ดอลลาร์ สหรัฐฯ โดยผูกกับการเปลี่ยนแปลงค่าเงินสกุลหลักและ
สกุลเงินในภูมิภาคซึ่งนา้ หนักส่วนใหญ่จะอยู่ที่ดอลลาร์ สหรัฐฯ ทุนรักษาระดับอัตรา
แลกเปลี่ยนจะคานวณ หาอัตราแลกเปลี่ยน บาท/ดอลลาร์ สหรัฐฯ
• ทุกเช้ าวันทาการและจะประกาศอัตราแลกเปลี่ยนที่เป็ นอัตรากลาง โดยทุนรั กษา
ระดับฯจะรับซื ้อและขายดอลลาร์ สหรัฐฯกับธนาคารพาณิชย์ในประเทศไทย ไม่จากัด
จานวน และจะซื ้อและขายเงินดอลลาร์ สหรัฐฯต่อธนาคารแห่งประเทศไทยตามอัตรา
ต้ นทุน
• ทาให้ อตั ราแลกเปลี่ยนบาท/ดอลลาร์ สหรัฐฯ ในตลาดจึงอยู่ในระดับที่
ใกล้ เคียงกับอัตรากลางมาก และการที่น ้าหนักของดอลลาร์ สหรัฐฯ มีสงู
จึงทาให้ อตั ราแลกเปลี่ยนบาท/ดอลลาร์ สหรัฐฯ ค่อนข้ างคงที่
• โดยภายใต้ กรอบที่มีเป้าหมายอัตราแลกเปลี่ยนนี ้ ทาให้ ประสิทธิภาพ
ของนโยบายการเงินเป็ นที่น่าสงสัย เนื่องจากจะมีเงินทุนไหลเข้ าและ
ออกเพื่ อ ตอบสนองการเปลี่ ย นแปลงของอุ ป สงค์ แ ละอุ ป ทานของ
ปริมาณเงินได้ ตลอดเวลา โดยไม่มีความเสี่ยงต่ออัตราแลกเปลี่ยน
• จะเห็นได้ วา่ ในอดีตการดาเนินนโยบายการเงินของประเทศไทยค่อนข้ างมีขีดจากัด
• โดยเฉพาะในช่วงตังแต่ ้ ปี พ.ศ. 2533 ที่มีเงินทุนไหลเข้ าประเทศเป็ นจานวนมากดังที่
ได้ กล่าวมาแล้ ว
• ในช่วงดังกล่าวประเทศได้ ดาเนินนโยบายการเงินเพื่อรักษาเสถียรภาพทางด้ านราคา
และการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็ นสาคัญ โดยมีอตั ราแลกเปลี่ยนเป็ นหลักยึดใน
การดาเนินนโยบายการเงินธนาคารแห่งประเทศไทย ได้ ใช้ เครื่ องชี ้หลายตัวในการ
ดูแลเงื่อนไขด้ านการเงิน
• อาทิ อัตราดอกเบี ้ยระยะสัน้ เงินสารองของธนาคารพาณิชย์ที่ธนาคารแห่งประเทศ
ไทย ปริ มาณเงิน และสินเชื่อ
• หากเครื่ องชี ้ใดมีการเปลี่ยนแปลงไปจากระดับที่คาดการณ์ธนาคารจะใช้ เครื่ องมือใน
ตลาดเงิ น หรื อ มาตรการปรั บ เครื่ อ งชี ต้ ่ า งๆ เพื่ อ ให้ ไ ด้ เ ป้ า หมายทางเศรษฐกิ จ ที่
ต้ องการ
สรุ ป
• นโยบายการเงิน (Monetary policy)
• นโยบายที่เกี่ยวข้ องกับเครื่ องมือทางการเงิน ได้ แก่
– ปริ มาณเงิน (Money supply)
– อัตราแลกเปลีย่ น (Exchange rate)
– และอัตราดอกเบี ้ย (Interest rate)
• ทาโดยการปรับลด-เพิ่มปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจที่จะมีผลต่อการ
กาหนดทิศทางของอัตราแลกเปลี่ยนให้ แข็งค่าหรื ออ่อนค่า
• และการปรับลด-เพิ่มของอัตราดอกเบี ้ย ซึง่ เป็ นหน้ าที่ของธนาคารกลาง หรื อ
ธนาคารแห่งประเทศไทยในการกาหนดทิศทางของการดาเนินนโยบาย
การเงิน
• ธนาคารกลางทัว่ โลกที่ตา่ งก็ดาเนินนโยบายการเงินโดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อรักษา
เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างยัง่ ยืน
– ในยามที่เศรษฐกิจขาลง หรื อตกต่า มีคนว่างงานจานวนมาก การดาเนินนโยบายการเงิน
แบบขยายตัว ก็จะช่วยสนับสนุนให้ เศรษฐกิจปรับตัวดีขึ ้นได้
– ขณะที่หากเกิดภาวะเงินเฟ้อสูง ๆ อันเนื่องมาจากขยายตัวของเศรษฐกิจที่สงู เกินไป จนการ
ผลิตมีมากกว่าความต้ องการบริ โภคที่แท้ จริ ง
• ซึง่ อาจส่งผลเสียต่อเศรษฐกิจได้ ในอนาคต เพราะสินค้ าที่ผลิตมากเกิน อาจจะขายไม่
ออก
• ในเวลาต่อมา นโยบายการเงินก็จะดาเนินไปในแนวทางที่ตงึ ตัวขึ ้นหรื อหดตัว เพื่อลด
ความร้ อนแรงของภาวะเศรษฐกิจดังกล่าว
นโยบายการเงินแบบขยายตัว (Expansionary
monetary policy)
• การเปลี่ ย นแปลงอั ต ราเงิ น สดส ารองที่ ต้ อ งด ารง (Reserve
ratio) ของธนาคารพาณิชย์
• ซึง่ หมายถึง เงินฝากที่ธนาคารพาณิชย์ต้องฝากไว้ กบั ธนาคารกลาง ซึ่ง
อาจกาหนดไว้ ที่ร้อยละ 6 ซึง่ หมายถึงว่าหากธนาคารพาณิชย์รับเงินฝาก
จากประชาชนมา 100 บาท ธนาคารพาณิ ชย์ จาเป็ นต้ องฝากเงินสด
สารอง (Required reserve) ไว้ ที่ธนาคารกลาง 6 บาท และ
เหลือเงินสดสารองส่วนเกิน (Excess reserve) เพื่อปล่อยกู้ หรื อ
ลงทุนแสวงหากาไรอีก 94 บาท เป็ นต้ น
• ซึง่ หากมีการปรับลดอัตราเงินสดสารองเหลือร้ อยละ 3 ก็จะทาให้
ธนาคารพาณิชย์มีเงินสดสารองส่วนเกินเพื่อปล่อยกู้ให้ กบั ประชาชน
เพิ่มขึ ้นเป็ น 97 บาท เป็ นต้ น
• ซึง่ เมื่อธนาคารพาณิชย์มีเงินสดสารองส่วนเกินมากขึ ้น และกลไกการ
ปล่อยสินเชื่อทาได้ เต็มที่ จะทาให้ การบริโภคและการลงทุนปรับสูงขึ ้น
การจ้ างงานก็ปรับสูงขึ ้น และทาให้ เศรษฐกิจโดยรวมขยายตัวได้
• การซือ้ ขายหลักทรัพย์ หรื อพันธบัตรของธนาคารกลางกับภาคเอกชน (Open
market operation) การดาเนินนโยบายการเงินแบบขยายตัว ธนาคารกลาง
จะซื ้อหลักทรัพย์จากภาคเอกชน เพื่อปล่อยเม็ดเงินเข้ าสูร่ ะบบเศรษฐกิจ ทาให้
ปริ มาณเงินในระบบเศรษฐกิจมีมากขึ ้น ซึง่ จะสนับสนุนให้ เกิดการบริโภค การลงทุน
และทาให้ เศรษฐกิจขยายตัวต่อไป
• การเปลี่ยนแปลงอัตราซือ้ ลด (Discount rate) คือ การเปลี่ยนแปลงอัตรา
ดอกเบี ้ยเงินกู้ที่ธนาคารกลางคิดจากธนาคารพาณิชย์ การดาเนินนโยบายการเงิน
แบบขยายตัวจะทาโดยการปรับลดอัตราดอกเบี ้ยเงินกู้ยืม ซึง่ จะมีผลทาให้ เงินสด
สารองของธนาคารพาณิชย์เพิ่มขึ ้น และทาให้ ปริ มาณเงินในระบบเศรษฐกิจเพิ่มขึ ้น
• การขอความร่ วมมือให้ ธนาคารพาณิชย์ ปฏิบัตติ าม (Moral suasion) เช่น
การขอให้ ธนาคารพาณิชย์ปล่อยสินเชื่อให้ กบั กิจกรรมทางเศรษฐกิจบางประเภทที่มี
ความสาคัญ เช่น ธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก (SMEs) เป็ นต้ น
นโยบายการเงินแบบหดตัว (Contractionary
monetary policy)
• ทาได้ โดยการลดปริมาณเงิน ผ่านช่องทางการเพิ่มอัตราเงินสดสารอง
การขายหลักทรัพย์ให้ แก่ภาคเอกชน และการเพิ่มอัตราซื ้อลด
• ซึง่ จะเป็ นการดูดเงินออกจากระบบเศรษฐกิจ ซึง่ ธนาคารกลางมักจะ
เลือกทาในยามที่ประเมินว่าเศรษฐกิจอาจจะร้ อนแรงเกินไปจนอาจเกิด
ผลเสียตามมาในภายหลัง
• เช่นในช่วงที่เกิดฟองสบูใ่ นตลาดที่อยูอ่ าศัย หรื อในช่วงที่เกิดภาวะเงิน
เฟ้อสูงๆ ในประเทศ เป็ นต้ น
• ไม่ว่าจะเป็ นการดาเนินนโยบายการเงินหรื อการคลัง ต่างก็มีวตั ถุประสงค์เดียวกันคือ
การรั กษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่าง
ยัง่ ยืน คอยแตะเบรกเวลาที่เศรษฐกิจร้ อนแรงเกินไป หรื อคอยเสริมในเวลาที่เศรษฐกิจ
อยูใ่ นช่วงขาลง ดังนัน้ หากไม่สอดคล้ องกัน

• การด าเนิ น นโยบายทัง้ การเงิน และการคลัง จะช่ว ยให้ เราประเมิน ได้ ว่า ในภาวะ
เศรษฐกิจแบบใด นโยบายการเงินและการคลังควรจะดาเนินไปอย่างไร ซึง่ จะช่วยให้
เราสามารถประเมินได้ ว่าทิศทางของภาวะเศรษฐกิจในอนาคตจะเป็ นอย่างไร เพื่อ
ประโยชน์ ในการปรั บตัวของเราทัง้ ในการวางแผนเพื่อการบริ โภคและการลงทุนให้
สอดคล้ องกับการเปลี่ยนแปลงในภาวะเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ ้นได้ อย่างทันท่วงที

You might also like