You are on page 1of 30

บทที่ 6 เศรษฐศาสตร์วศ

ิ วกรรม (Engineering Economics)

บทที 6 เศรษฐศาสตร์ วิศวกรรม (Engineering Economics)


เนือหาในบทนีจะกล่ าวถึง ความหมายของเศรษฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ วิศวกรรม ความสั มพันธ์ ระหว่ างอัตรา
ดอกเบียหรื อผลตอบแทน เวลา และค่ าของเงิน การเปรี ยบเที ยบทางการเงินเพือคัดเลือกโครงการ การวิเคราะห์
มูลค่ าเทียบเท่ าปั จจุบัน การวิเคราะห์ มลู ค่ าเทียบเท่ ารายปี การวิเคราะห์ ผลตอบแทนต่ อเงินลงทุน และการวิเคราะห์
อัตราผลตอบแทน

“แสงสว่างเสมอด ้วยปั ญญาไม่ม”ี


นัตถิปต
ุ ตสมสูตร ๑๕/๙

6.1. ความหมายของเศรษฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ วศิ วกรรมขนส่ ง


ในงานวิศวกรรมซึ่ งรวมถึงงานด้านวิศวกรรมขนสงด้ ่ วยนั้ น คงหลีกเลี่ยงไมได้
่ ที่จะต้อง
ี่ องกบการเงิ
เกยวข้ ั นและการลงทุนเพื่อดําเนิ นโครงการให้สาํ เร็ จลุล่วงไปตามที่ตอ้ งการ ด้วยเหตุน้ ี
หลักการเศรษฐศาสตร์ จึงถูกนํามาประยุกต์เพื่อใช้เป็ นเครื่ องมือชวยในการตั ่ ดสิ นใจในการคัดเลือก
โครงการ หรื อ แนวทางปฏิ บ ัติ เ พื่ อ ให้ไ ด้ท างเลื อ กที่ ก่ อให้เ กดผลตอบแทนด้ ิ า นการเงิ น สู ง สุ ด
โดยทัว่ ไป เศรษฐศาสตร์ (Economics) คือ หลักการที่วาด้ ่ วยการนําทรัพยากรที่มีอยูอ่ ยางจํ
่ ากดั มาใช้

ให้เกดประโยชน์ และมีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด เมื่อนําหลักเศรษฐศาสตร์ มาประยุกต์กบงานวิ ั ศวกรรม
จึงเกดิหลักการเศรษฐศาสตร์วิศวกรรม (Engineering Economics) ขึ้ น โดยมีความหมาย คือ การนํา
หลักการทางเศรษฐศาสตร์ มาใช้เป็ นเครื่ องชวยในการตั ่ ดสิ นใจเลือกทางเลือกที่เป็ นไปได้สาํ หรับ
งานวิศวกรรม ทั้ งนี้ ถา้ เป็ นการตัดสิ นใจเลือกทางเลือกที่เป็ นโครงการด้านวิศวกรรมขนสง่ บริ บท
่ หรื อปั จจัยที่นํามาวิเคราะห์และกาหนดเป็
ตางๆ ํ ็ ี่ องกบงานด้
นตัวชี้ วดั กจะเกยวข้ ั านวิศวกรรมขนสง่
ํ งพิจารณาอยูน่ น่ั เอง
ที่กาลั
ในการดําเนิ นงานด้านวิศวกรรมขนสงนั ่ ้ น อาจเป็ นไปได้ที่จะมีแนวทางในการปฏิบตั ิ ที่
หลากหลายและกอให้ ่ เกดผลตามมาที
ิ ่ ั ดังนั้ นผูว้ างแผนหรื อผูท้ ี่ทาํ หน้าที่กาํ หนดทิศทาง
่แตกตางกน
ของโครงการ จึ งจําเป็ นที่ จะต้องพิจารณาทางเลือกทั้ งหมดที่เป็ นไปได้ของโครงการเพื่อทําการ
คัดเลือกและเลือกทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด และกาหนดใช้ ํ เป็ นแนวทางปฏิบตั ิ โดยทัว่ ไป ทางเลือก
(Alternatives) คือ แนวทางปฏิบตั ิแตละวิ ่ ธีที่ถูกกาหนดขึ
ํ ้ นมาเพื่อรองรับสถานการณ์ที่พิจารณา ใน
สถานการณ์ที่พิจารณานี้ อาจมีหลายทางเลือกที่สามารถนําไปปฏิบตั ิและบรรลุผลตามที่ตอ้ งการ แต่
จะมี อ ยู่เ พี ย งทางเลื อ กเดี ย วซึ่ ง เป็ นทางเลื อ กที่ ดี ที่ สุ ด สํา หรั บ สถานการณ์ น้ ัน ด้ว ยเหตุ น้ ี เ ราจึ ง

จําเป็ นต้องนิ ยามข้อกาหนดของการประเมิ น (Evaluation criteria) ขึ้ นมา เพื่อใช้เป็ นตัวชี้ วดั ระดับ
ความเหมาะสมของแตละทางเลื ่ อก ทางเลือกใดมีความเหมาะสมมากที่สุด กจะถู ็ กเลือกเป็ นแนวทาง

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 245 ดร. สุรเมศวร์ พิรย


ิ ะวัฒน์
บทที่ 6 เศรษฐศาสตร์วศ
ิ วกรรม (Engineering Economics)

ปฏิ บตั ิสําหรั บสถานการณ์ น้ ันๆ ซึ่ งโดยทัว่ ไป ถ้าพิจาณาในมุมมองของเศรษฐศาสตร์ วิศวกรรม



ข้อกาหนดด้ านการเงิน (Financial criteria) มักถูกพิจารณาเป็ นตัวชี้ วดั หลักของการวิเคราะห์เชิง
เศรษฐศาสตร์ในการคัดเลือกโครงการตางๆ ่
่ ่
ในการวิเคราะห์ดา้ นการเงิน ตัวแปรสําคัญที่มีอิทธิ พลตอคาของเงิ น คือ เวลา (Time) และ
อัตราดอกเบี้ ยหรื อผลตอบแทน (Interest rate or Rate of return) หลักการสําคัญประการหนึ่งของ
การวิเคราะห์เศรษฐศาสตร์วิศวกรรมคือเรื่ อง มูลคา่เงินตามเวลา (Time value of money) ซึ่ งหมายถึง

มูลคาของเงิ ่
นที่เปลี่ยนแปลงไปในชวงเวลาที ํ
่กาหนด ่ ่
นัน่ หมายความวาในชวงเวลาที ่ต่างกนเงิ
ั นคา่

เดียวกนจะมี ่ ่แตกตางกน
มูลคาที ่ ั แตจะมี
่ มูลคาแตกตางจากคาเดิ
่ ่ ่ มเทาไหรนั
่ ่ ้ น ขึ้ นอยูก่ บอั
ั ตราดอกเบี้ ย
หรื อผลตอบแทน การวิเคราะห์มูลคาของเงิ ่ ่
นที่แปรผันไปตามชวงเวลาและอั ตราดอกเบี้ ย มักจะ
นําเสนอในรู ปของแผนภูมิกระแสเงินหมุนเวียน (Cash flow) ดังจะได้กลาวถึ ่ งในหัวข้อตอไป ่

6.2. ความสั มพันธ์ ระหว่ างอัตราดอกเบีย้ หรือผลตอบแทน เวลา และค่ าของเงิน


่ ่จะกลาวถึ
กอนที ่ งการคํานวณมูลคาของเงิ
่ ่ นตามชวงเวลา
นตามเวลา หรื อการแปลงคาเงิ ่ จะ
่ งหลักการของแผนภูมิกระแสเงินหมุนเวียนเพื่อเป็ นพื้นฐานสําหรับการวิเคราะห์มูลคา่
ได้กลาวถึ
่ ตัวแปรสําคัญที่ใช้ในการวิเคราะห์มูลคาของเงิ
ของเงินตอไป ่ น และแผนภูมิกระแสเงินหมุนเวียน
ได้แก่

P = ่ อผลรวมของเงินในชวงเวลาที
มูลคาหรื ่ ํ
่กาหนดให้ เป็ นปั จจุบนั หรื อที่เวลา t = 0 อาจใช้
แทนคาของ่ Present worth (PW) Present value (PV) Net present value (NPV)
Discounted cash flow (DCF) และ Capital cost (CC) หนวย ่ บาท
F = มูลคา่หรื อผลรวมของเงินในอนาคต อาจใช้แทนคาของ ่ Future worth (FW) และ Future
value (FV) หนวย่ บาท
A = ่
มูลคาของเงิ นรายเดือนหรื อรายปี ที่มีค่าสมํ่าเสมอเทากน
่ ั อาจใช้แทนคาของ ่ Annual worth
(AW) และ Equivalent uniform annual worth (EUAW) หนวย ่ บาทต่อปี หรื อบาทตอเดื
่ อน
n = ่
จํานวนชวงเวลาสํ าหรับการวิเคราะห์ หนวย ่ ปี เดือน หรื อวัน
i = ่ ่
อัตราดอกเบี้ ย หรื ออัตราผลตอบแทนตอชวงเวลา หนวย ่ เปอร์ เซ็นตอปี
่ เปอร์ เซ็นตอเดื
่ อน
่ น
หรื อเปอร์เซ็นตอวั

ํ ่ วแปร และแผนภูมิกระแสเงินหมุนเวียนดังแสดงในตัวอยางตอไปนี
การกาหนดคาตั ่ ่ ้

ตัวอย่ างที่ 6.1 นิ สิตคนหนึ่ งต้องการกูย้ ืมเงินเพื่อการศึกษาจากสหกรณ์ออมทรัพย์เป็ นเงินจํานวน



10,000 บาท เพื่อชําระคาเทอม สหกรณ์ออมทรัพย์ให้เงินกูด้ งั กลาวในอั
่ ่
ตราดอกเบี้ ยร้อยละ 8 ตอปี

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 246 ดร. สุรเมศวร์ พิรย


ิ ะวัฒน์
บทที่ 6 เศรษฐศาสตร์วศ
ิ วกรรม (Engineering Economics)


และกาหนดชํ ้ ่อสิ้ นปี ที่ 5 จากข้อมูลดังกลาว
าระเงินงวดเดียวเป็ นเงินกอนเมื ่ จงกาหนดคาตั
ํ ่ วเลขให้
ั วแปรที่ใช้ในการวิเคราะห์มูลคาของเงิ
ตรงกบตั ่ นและแผนภูมิกระแสเงินหมุนเวียน ถ้าต้องการหา
้ ้ งหมดที่ตอ้ งชําระเมื่อสิ้ นปี ที่ 5
จํานวนเงินกอนทั
จากโจทย์ จะได้
P = 10,000 บาท i = 8% ตอปี ่ n = 5 ปี F = ค่าที่ตอ้ งการทราบ

ตัวอย่ างที่ 6.2 นาย ก กูเ้ งินจากธนาคารเป็ นเงินจํานวน 2,000 บาท ในอัตราดอกเบี้ ยร้อยละ 7 ตอปี

่ าระเป็ นงวดเทาๆ
โดยผอนชํ ่ กนั เป็ นระยะเวลา 10 ปี ในแตละปี
่ นาย ก ต้องชําระเงินให้กบธนาคาร

่ จากโจทย์ดงั กลาว
เป็ นจํานวนเงินเทาใด ่ จงกาหนดคาตั
ํ ่ วเลขให้ตรงกบั ตัวแปรที่ใช้ในการวิเคราะห์

มูลคาของเงิ นและแผนภูมิกระแสเงินหมุนเวียน
จากโจทย์ จะได้
P = 2,000 บาท ่
i = 7% ตอปี n = 10 ปี ่ ่ตอ้ งการทราบ
A = คาที

่ ่ 1 จงเขียนแผนภูมิกระแสเงินหมุนเวียนจากข้อมูลดังกลาว
ตัวอย่ างที่ 6.3 จากตัวอยางที ่
จากโจทย์ จะได้
กระแสเงินหมุนเวียน (บาท)

P = 10,000 i = 8% per year

2 5
ปี
0 1 3 4

- F=?

่ ่ 2 จงเขียนแผนภูมิกระแสเงินหมุนเวียนจากข้อมูลดังกลาว
ตัวอย่ างที่ 6.4 จากตัวอยางที ่
จากโจทย์ จะได้
กระแสเงินหมุนเวียน (บาท)

P = 2,000 i = 7% per year

ปี
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
A=?

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 247 ดร. สุรเมศวร์ พิรย


ิ ะวัฒน์
บทที่ 6 เศรษฐศาสตร์วศ
ิ วกรรม (Engineering Economics)

จากตัวอยางที่ ่ 3 และ 4 จะพบวา่ ถ้าเป็ นเงินที่ได้รับเข้ามา ลูกศรจะมีทิศทางไปทางบวก


(ชี้ ข้ ึน) ถ้าเป็ นเงินที่จ่ายออกไป ลูกศรจะมีทิศทางไปทางลบ (ชี้ ลง) นอกจากนี้ ความยาวของลูกศรจะ
เป็ นสิ่ งที่บ่งบอกมูลคาของเงิ่ นที่ลูกศรนั้ นแทนคาด้่ วย โดยความยาวของลูกศรจะเป็ นสัดสวนกบ ่ ั

มูลคาของเงิ นที่ลูกศรนั้ นแทนคา่ ลูกศรที่ยาวกวา่ จะบงบอกถึ
่ ่
งมูลคาของเงิ นที่มากกวา่ ก า ร แ ป ล ง
่ นตามชวงเวลา
คาเงิ ่ สามารถดําเนินการได้ ดังนี้

6.2.1. การคํานวณผลรวมค่ าเดียว (Single-sum calculation)



คาของเงิ ั ่ มีอยู่ในปั จจุ บนั สามารถคํานวณได้จาก
นในอนาคตจากเงิ นจํานวนเดี ยวกนที

สมการตอไปนี ้
F = P(1 + i ) n
(6.1)

โดย (1 + i) เรี ยกวา่ Single-sum compound amount factor เขียนสัญลักษณ์ได้เป็ น


n

(F/P, i%, n) หรื ออาจคํานวณคาของ ่ เงินในปั จจุบนั เมื่อทราบจํานวนเงินในอนาคตได้จากสมการ



ตอไปนี ้

⎡ 1 ⎤ (6.2)
P = F⎢ n ⎥
⎣ (1 + i ) ⎦

โดยที่ 1 เรี ยกวา่ Single-sum present worth factor เขียนสัญลักษณ์ได้เป็ น


(1 + i) n
(P/F, i%, n)


ตัวอย่ างที่ 6.5 นําเงินจํานวน 12,000 บาท ไปลงทุนในธุ รกจประเภทหนึ ่ งที่ให้อตั ราผลตอบแทน
ร้อยละ 8 ตอปี่ โดยตั้ งใจจะลงทุนเป็ นเวลา 24 ปี จากนั้ นจึงจะถอนตัวออกจากธุรกจนี ิ ้ จงคํานวณหา

เงินที่จะได้รับทั้ งหมด กาหนดให้ ผลตอบแทนที่จะได้รับนั้ นใช้การคํานวณแบบจายครั ่ ้ งเดียว (Blank
and Tarquin, 2008)
จากโจทย์ จะได้
P = 12,000 บาท ่
i = 8% ตอปี n = 24 ปี ่ ่ตอ้ งการทราบ
F = คาที
กระแสเงินหมุนเวียน (บาท)

+
F=?

i = 8% per year
ปี
0 1 2 3 …………...………………... 22 23 24
P = 12,000
-

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 248 ดร. สุรเมศวร์ พิรย


ิ ะวัฒน์
บทที่ 6 เศรษฐศาสตร์วศ
ิ วกรรม (Engineering Economics)

F = P (1 + i ) n = 12,000(1 + 0.08) 24
= 12,000(6.341181)
= 76,094.17 บาท

่ ่ งคิดอัตราผลตอบแทนให้กบผู
ตัวอย่ างที่ 6.6 สถานประกอบการแหงหนึ ั ร้ ่ วมหุ น้ ร้อยละ 10 ตอปี
่ ถ้า
ต้องการผลตอบแทนการลงทุนเป็ นจํานวน 50,000 บาท ในระยะเวลา 10 ปี ข้างหน้า จะต้องใช้เงิน
่ (Blank and Tarquin, 2008)
ลงทุนในปั จจุบนั เทาใด

จากโจทย์ จะได้
่ ่ตอ้ งการทราบ
P = คาที ่
i = 10% ตอปี n = 10 ปี F = 10,000 บาท
กระแสเงินหมุนเวียน (บาท)

+
F = 50,000

i = 10% per year


ปี
0 1 2 3 …………...………………... 8 9 10
P=?

⎡ 1 ⎤ ⎡ 1 ⎤
P = F⎢ n ⎥
= 50,000 ⎢ 10 ⎥
⎣ (1 + i ) ⎦ ⎣ (1 + 0 . 10) ⎦
= 50,000(0.385543)
= 19,277.15 บาท

6.2.2. การคํานวณเงินเท่ ากันแบบสมํ่าเสมอตามช่ วงเวลา (Uniform series formulas)


การคํา นวณจํา นวนเงิ น ด้ว ยวิ ธี น้ ี จะ พิ จ ารณาเงิ น ที่ เ ป็ นแบบรายเดื อ น หรื อ รายปี ตาม

ระยะเวลาและอัตราดอกเบี้ ยที่กาหนด โดยอาจกาหนด ํ ่ ่าเสมอเทากน
จํานวนเงินที่มีคาสมํ ่ ั ตามชวงเวลา

และทําการคํานวณหาเงินในปั จจุบนั หรื อกาหนด ํ ่
เงินในปั จจุบนั แล้วคํานวณหาเงินตามชวงเวลาที ่
ต้องการ ซึ่งสามารถคํานวณได้โดยใช้สมการตอไปนี ่ ้
⎡ (1 + i ) n − 1⎤
P = A⎢ n ⎥
(6.3)
⎣ i (1 + i ) ⎦

⎡ i (1 + i ) n ⎤
A = P⎢ ⎥ (6.4)
⎣ (1 + i ) − 1⎦
n

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 249 ดร. สุรเมศวร์ พิรย


ิ ะวัฒน์
บทที่ 6 เศรษฐศาสตร์วศ
ิ วกรรม (Engineering Economics)

(1 + i ) n − 1
โดย เรี ยกวา่ Uniform-series present worth factor เขียนสัญลักษณ์ได้เป็ น
i (1 + i ) n
i (1 + i ) n
(P/A, i%, n) และ เรี ยกวา่ Capital recovery factor เขียนสัญลักษณ์ได้เป็ น (A/P, i%, n)
(1 + i ) n − 1

่ ่ งให้อตั ราผลตอบแทนร้อยละ 16 ตอปี


ตัวอย่ างที่ 6.7 กองทุนแหงหนึ ่ ถ้าต้องการผลตอบแทนตอปี

เป็ นเงิน 600 บาท และต้องการลงทุนเป็ นระยะเวลา 9 ปี จะต้องนําเงินไปลงทุนในกองทุนแหงนี ่ ้
่ กาหนดให้
เทาไร ํ การคิดผลตอบแทนเริ่ มที่ปีถัดไปหลังจากปี ที่นาํ เงินไปลงทุน

จากโจทย์ จะได้
่ ่ตอ้ งการทราบ
P = คาที ่
i = 16% ตอปี n = 9 ปี ่
A = 600 บาทตอปี
+
กระแสเงินหมุนเวียน (บาท)

A = 600

ปี
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
P=?
i = 16% per year
-

⎡ (1 + i ) n − 1⎤ ⎡ (1 + 0.16) 9 − 1 ⎤
P = A⎢ n ⎥
= 600 ⎢ 0.16(1 + 0.16) 9 ⎥
⎣ i (1 + i ) ⎦ ⎣ ⎦
= 600(4.6065)
= 2,763.93 บาท

่ ั ่
การคิดจํานวนเงินแบบเทากนตามชวงเวลาอาจใช้ ่ นใน
ในการคํานวณเงินรายปี จากคาเงิ
่ นในอนาคตจากเงินรายปี โดยใช้สมการตอไปนี
อนาคต หรื อคํานวณคาเงิ ่ ้

⎡ i ⎤ (6.5)
A = F⎢ ⎥
⎣ (1 + i ) − 1⎦
n

⎡ (1 + i ) n − 1⎤ (6.6)
F = A⎢ ⎥
⎣ i ⎦

โดยที่ i เรี ยกวา่ Sinking fund factor เขียนสัญลักษณ์ได้เป็ น (A/F, i%, n) และ
(1 + i) n − 1
(1 + i ) n − 1 เรี ยกวา่ Uniform-series compound amount factor เขียนสัญลักษณ์ได้เป็ น (F/A, i%, n)
i

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 250 ดร. สุรเมศวร์ พิรย


ิ ะวัฒน์
บทที่ 6 เศรษฐศาสตร์วศ
ิ วกรรม (Engineering Economics)


ตัวอย่ างที่ 6.8 นําเงินไปลงทุนในธุรกจประเภทหนึ่ งที่ให้อตั ราผลตอบแทนร้อยละ 14 ตอปี ่ เป็ น
จํานวนเงินปี ละ 1,000 บาท เมื่อครบ 8 ปี จะได้ผลตอบแทนทั้ งหมดเทาไร ่ กาหนดให้
ํ เริ่ มคํานวณ
ผลตอบแทน 1 ปี หลังจากปี ที่ทาํ การลงทุน

จากโจทย์ จะได้
่ ่ตอ้ งการทราบ
F = คาที ่
i = 14% ตอปี n = 8 ปี ่
A = 1,000 บาทตอปี
+
กระแสเงินหมุนเวียน (บาท)

F=?
i = 14% per year

ปี
0 1 2 3 4 5 6 7 8

A = 1,000
-

⎡ (1 + i ) n − 1⎤ ⎡ (1 + 0.14) 8 − 1⎤
F = A⎢ ⎥ = 1,000 ⎢ ⎥
⎣ i ⎦ ⎣ 0.14 ⎦
= 1,000(13.2328)
= 13,232.80 บาท

่ งจะได้ผลตอบแทนในอนาคตอีก 7 ปี ข้างหน้าเทากบ
ตัวอย่ างที่ 6.9 จะต้องลงทุนปี ละเทาไรถึ ่ ั 6,000

บาท กาหนดให้ อตั ราผลตอบแทนเทากบร้่ ั อยละ 5.5 และให้เริ่ มคํานวณ 1 ปี หลังจากปี ที่ทาํ การ
ลงทุน
จากโจทย์ จะได้
F = 6,000 บาท ่
i = 5.5% ตอปี n = 7 ปี ่ ่ตองการทราบ
A = คาที ้
+
กระแสเงินหมุนเวียน (บาท)

F = 6,000
i = 5.5% per year

ปี
0 1 2 3 4 5 6 7

A=?
-

⎡ i ⎤ ⎡ 0.055 ⎤
A = F⎢ ⎥ = 6,000⎢ ⎥
⎣ (1 + i ) − 1⎦ ⎣ (1 + 0.055) − 1⎦
n 7

= 1,000(0.12096)

= 725.76 บาทตอปี

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 251 ดร. สุรเมศวร์ พิรย


ิ ะวัฒน์
บทที่ 6 เศรษฐศาสตร์วศ
ิ วกรรม (Engineering Economics)

่ นทั้ งหมดตามที่กลาวถึ
สมการที่ใช้สาํ หรับแปลงคาเงิ ่ งข้างต้น สามารถสรุ ปได้ดงแสดงใน


ตารางตอไปนี้

่ น
ตารางที่ 6.1 สูตรที่ใช้แปลงคาเงิ
ชื่อสมการ สัญลักษณ์ ่ ่ทราบ
ต้องการหา คาที สมการ
Single-sum compound amount factor (F/P, i%, n) F P F = P (1 + i ) n

Single-sum present worth factor (P/F, i%, n) P F ⎡ 1 ⎤


P = F⎢ n ⎥
⎣ (1 + i ) ⎦

Uniform series present worth factor (P/A, i%, n) P A ⎡ (1 + i ) n − 1⎤


P = A⎢ n ⎥
⎣ i (1 + i ) ⎦

Capital recovery factor (A/P, i%, n) A P ⎡ i (1 + i ) n ⎤


A = P⎢ ⎥
⎣ (1 + i ) − 1⎦
n

Sinking fund factor (A/F, i%, n) A F ⎡


A = F⎢
i ⎤

⎣ (1 + i ) − 1⎦
n

Uniform series compound amount (F/A, i%, n) F A ⎡ (1 + i ) n − 1⎤


F = A⎢ ⎥
⎣ i ⎦
factor
ที่มา: ดัดแปลงจาก ไพบูลย์ แย้มเผือ่ น (2548)

6.3. การเปรียบเทียบทางการเงินเพือ่ คัดเลือกโครงการ



เมื่อพิจารณาความคุม้ คาในการลงทุ นเป็ นเกณฑ์ในการพิจารณา วิธีการที่นิยมใช้ในการ
วิเคราะห์เพื่อคัดเลือกทางเลือกที่เหมาะสมของโครงการโดยทัว่ ไปมีอยู่ 4 วิธี ได้แก่ การวิเคราะห์
่ ยบเทาปั
มูลคาเที ่ ยบเทารายปี
่ จจุบนั (Present worth analysis) การวิเคราะห์มูลคาเที ่ (Annual worth
analysis) การวิเคราะห์ผลตอบแทนตอเงิ ่ นลงทุน (Benefit/cost analysis) และการวิเคราะห์อตั รา
ผลตอบแทน (Rate of return analysis)

6.3.1. การวิเคราะห์ มูลค่ าเทียบเท่ าปัจจบัุ น (Present worth analysis)


่ จจุบนั (Present worth (PW), Present value (PV) or Net present value (NPV)) ของ
มูลคาปั
เงินลงทุน (Cost) หรื อผลตอบแทน (Revenue) ของแตละทางเลื ่ อกในการดําเนิ นโครงการใดๆ

สามารถนํามาใช้เป็ นตัวชี้ วดั ความคุม้ คาในการลง ่ จจุบนั ขององค์ประกอบในการ
ทุนได้ ทั้ งนี้ มูลคาปั
ดําเนิ นโครงการ อาจแปลงมาจากมูลคาในอนาคต ่ หรื อมูลคาสมํ ่ ่าเสมอรายปี กได้
็ การเปรี ยบเทียบ
โครงการด้วยการวิเคราะห์มูลคาเที ่ ยบเทาปั ่ จจุบนั สามารถพิจารณาเป็ นกรณี ต่างๆ ได้ดงั ตอไปนี
่ ้

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 252 ดร. สุรเมศวร์ พิรย


ิ ะวัฒน์
บทที่ 6 เศรษฐศาสตร์วศ
ิ วกรรม (Engineering Economics)

6.3.1.1. การวิเคราะห์ มูลค่ าเทียบเท่ าปัจจบัุ นของทางเลือกทีม่ ีอายเท่


ุ ากัน
การวิเคราะห์มูลคาเที่ ยบเทาปั ่ จจุบนั ของทางเลือกที่มีอายุเทากน
่ ั (Present worth analysis of
equal-life alternatives) คือ การนํามูลคาปั่ จจุบนั ของแตละทางเลื
่ อกในการดําเนินการมาเปรี ยบเทียบ
กนั โดยแตละทางเลื
่ อกที่นาํ มาเปรี ยบเทียบกนนีั ้ มีระยะเวลาในการดําเนินการที่เทากน
่ ั

่ ยบเทาปั
ตัวอย่ างที่ 6.11 จงเปรี ยบเทียบมูลคาเที ่ จจุบนั แตละคู
่ ่ต่อไปนี้ แล้วระบุว่าทางเลือกใด
เหมาะสมที่จะได้รับการคัดเลือก (Blank and Tarquin, 2008)

สถานการณ์ที่ PW1 PW2 ทางเลือกที่ได้รับการ


(บาท) (บาท) คัดเลือก
1 -1,500 -500 2
2 -500 +1,000 2
3 +2,500 -500 1
4 +2,500 +1,500 1

จากข้อมูลข้างต้น พบวา่ ทางเลือกที่เหมาะสมที่ควรได้รับการคัดเลือก เมื่อพิจารณาจาก


่ จจุบนั สําหรับสถานการณ์ที่ 1 2 3 และ 4 ได้แก่ ทางเลือกที่ 2 2 1
่ ยบเทาปั
หลักเกณฑ์มูลคาเที
และ 1 ตามลําดับ

่ ยบเทาปั
ตัวอย่ างที่ 6.12 จงใช้หลักการมูลคาเที ่ างเครื่ องจักร 3
่ จจุบนั เปรี ยบเทียบการลงทุนกอสร้
ประเภทดังแสดงในข้อมูลด้านลางนี ่ ้ กาหนดให้
ํ อัตราผลตอบแทนที่ดึงดู ดน้อยที่สุด (Minimum
่ ั อยละ 10 ตอปี
attractive rate of return, MARR) เทากบร้ ่ (Blank and Tarquin, 2008)

พลังงานไฟฟ้ า พลังงานแกส๊ พลังงานแสงอาทิตย์


(PWE) (PWG) (PWS)
เงินลงทุนเริ่ มต้น (บาท) 2,500 3,500 6,000
่ าเนินการรายปี (บาทตอปี
คาดํ ่ ) 900 700 50

มูลคาซาก (บาท) 200 350 100
อายุการใช้งาน (ปี ) 5 5 5


จากโจทย์กาหนด สามารถเขียนในรู ปของแผนภูมิกระแสเงินหมุนเวียนได้ดงั นี้

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 253 ดร. สุรเมศวร์ พิรย


ิ ะวัฒน์
บทที่ 6 เศรษฐศาสตร์วศ
ิ วกรรม (Engineering Economics)

กระแสเงินหมุนเวียน (บาท)
i = 10% per year 200

ปี
0 1 2 3 4 5
2,500 A = 900
-
PWE = ?
(ก) เครื่ องจักรพลังงานไฟฟ้ า
+
กระแสเงินหมุนเวียน (บาท)

i = 10% per year 350


ปี
0 1 2 3 4 5
3,500 A = 700
-
PWG = ?
(ข) เครื่ องจักรพลังงานแกส๊
+
กระแสเงินหมุนเวียน (บาท)

i = 10% per year 100

ปี
0 1 2 3 4 5
6,000 A = 50
-
PWS = ?

(ค) เครื่ องจักรพลังงานแสงอาทิตย์

PWE = -2,500 – 900(P/A,10%,5) + 200(P/F,10%,5)


= -2,500 – 900(3.791) + 200(0.6205)
= -5,788 บาท
PWG = -3,500 – 700(P/A,10%,5) + 350(P/F,10%,5)
= -3,500 – 700(3.791) + 350(0.6205)
= -5,936 บาท
PWS = -6,000 – 50(P/A,10%,5) + 100(P/F,10%,5)
= -6,000 – 50(3.791) + 100(0.6205)
= -6,127 บาท

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 254 ดร. สุรเมศวร์ พิรย


ิ ะวัฒน์
บทที่ 6 เศรษฐศาสตร์วศ
ิ วกรรม (Engineering Economics)

่ ่ องจักรพลังงานไฟฟ้ า มีความเหมาะสมในการลงทุนมากที่สุด
จากการวิเคราะห์ พบวาเครื
ั ่ องจักรประเภทอื่น เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายในการลงทุนตํ่าที่สุด
เมื่อเปรี ยบเทียบกบเครื

ตัวอย่ างที่ 6.13 เครื่ องกลึงแบบ A และแบบ B มีค่าใช้จ่ายตางๆ ่ ดังแสดงในตารางด้านลาง่ จง


่ จ่ายที่อตั ราดอกเบี้ ยร้อยละ 10 ตอปี
เปรี ยบเทียบคาใช้ ่ ด้วยวิธีมูลคาเที
่ ยบเทาปั
่ จจุบนั (ไพบูลย์ แย้ม
เผือ่ น, 2548)

่ จ่าย
รายการคาใช้ เครื่ องกลึงแบบ A เครื่ องกลึงแบบ B
เครื่ องจักรราคา (บาท) 300,000 320,000
่ จ่ายตอปี
คาใช้ ่ (บาท) 80,000 85,000

มูลคาซาก (บาท) 20,000 40,000
อายุ (ปี ) 5 5

+
กระแสเงินหมุนเวียน (บาท)

i = 10% per year 20,000

ปี
0 1 2 3 4 5
300,000 A = 80,000
-
PWA = ?
(ก) เครื่ องกลึงแบบ A
+
กระแสเงินหมุนเวียน (บาท)

i = 10% per year 40,000


ปี
0 1 2 3 4 5
320,000 A = 85,000
-
PWB = ?
(ข) เครื่ องกลึงแบบ B

PWA = -300,000 – 80,000(P/A,10%,5) + 20,000(P/F,10%,5)


= -300,000 – 80,000(3.791) + 20,000(0.6209)
= -590,862 บาท

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 255 ดร. สุรเมศวร์ พิรย


ิ ะวัฒน์
บทที่ 6 เศรษฐศาสตร์วศ
ิ วกรรม (Engineering Economics)

PWB = -320,000 – 85,000(P/A,10%,5) + 40,000(P/F,10%,5)


= -320,000 – 85,000(3.791) +420,000(0.6209)
= -617,399 บาท

่ ่ องกลึงแบบ A มีความเหมาะสมในการลงทุนมากกวาเครื
จากการวิเคราะห์ พบวาเครื ่ ่ องกลึง
แบบ B เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายในการลงทุนตํ่ากวา่

6.3.1.2. การวิเคราะห์ มูลค่ าเทียบเท่ าปัจจบัุ นของทางเลือกทีม่ ีอายุแตกต่ างกัน


การเปรี ยบเทียบทางเลือกที่มีอายุต่างกนด้ ั วยวิธีมูลคาเที
่ ยบเทาปั
่ จจุบนั สามารถทําได้โดย

การปรับอายุของแตละทางเลื ่ ั ดังตัวอยางตอไปนี
อกให้เทากน ่ ่ ้

่ านักงานสําหรับใช้ในการดําเนิ นโครงการออกแบบ
ตัวอย่ างที่ 6.14 วิศวกรโครงการต้องการเชาสํ
่ ่ ง โดยมีทางเลือกในการเชาสํ
โรงบําบัดนํ้ าเสี ยแหงหนึ ่ านักงาน และรายละเอียดของแตละทางเลื
่ อก
ดังแสดงในตารางด้านลางนี ่ ้ จงเปรี ยบเทียบความเหมาะสมระหวางทางเลื
่ อกทั้ งสองด้วยวิธีมูลคา่
่ จจุบนั ถ้ากาหนดให้
เทียบเทาปั ํ ่ ั อยละ 15 ตอปี
MARR เทากบร้ ่

รายการคาใช้่ จ่าย สํานักงาน A สํานักงาน B


เงินลงทุนเริ่ มต้น (บาท) 15,000 18,000
คา่เชารายปี
่ (บาท) 3,500 3,100
คืนเงินมัดจํา (บาท) 1,000 2,000
ระยะเวลาเชา่ (ปี ) 6 9

่ ่นอ้ ยที่สุดของระยะเวลา 6 ปี และ 9 ปี คือ 18 ปี ดังนั้ นถ้าเลือกเชาสํ


ตัวคูณรวมที ่ านักงาน A
จะต้องทําการวิเคราะห์เสมือนวาได้ ่ ทาํ การเชาสํ
่ านักงาน A จํานวน 3 รอบระยะเวลาเชา่ (6 ปี 12 ปี
่ านักงาน B จะต้องทําการวิเคราะห์เสมือนวาได้
และ 18 ปี ) ขณะที่ถา้ เลือกเชาสํ ่ ทาํ การเชาสํ
่ านักงาน
B จํานวน 2 รอบระยะเวลาเชา่ (9 ปี และ 18 ปี ) ดังนั้ น

่ างต้น สามารถเขียนแผนภูมิกระแสเงินหมุนเวียนได้ ดังนี้


จากสมมติฐานตามที่กลาวข้

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 256 ดร. สุรเมศวร์ พิรย


ิ ะวัฒน์
บทที่ 6 เศรษฐศาสตร์วศ
ิ วกรรม (Engineering Economics)

+ i = 15% per year

กระแสเงินหมุนเวียน (บาท) 1,000 1,000 1,000

ปี
0 1 6 12 18
A = 3,500
15,000
15,000 15,000
-
PWA = ?

(ก) สํานักงาน A

+ i = 15% per year


กระแสเงินหมุนเวียน (บาท)

2,000 2,000

ปี
0 1 9 18
A = 3,100
18,000
18,000
- PW = ?
B

(ข) สํานักงาน B

PWA = -15,000 – 15,000(P/F,15%,6) + 1,000(P/F,15%,6) – 15,000(P/F,15%,12)


+ 1,000(P/F,15%,12) + 1,000(P/F,15%,18) – 3,500(P/A,15%,18)
= -45,036 บาท
PWB = -18,000 – 18,000(P/F,15%,9) + 2,000(P/F,15%,9) + 1,000(P/F,15%,18
– 3,100(P/A,15%,18)
= -41,384 บาท


จากการวิเคราะห์พบวาควรเลื ่ านักงาน B เนื่องจากใช้เงินลงทุนตํ่ากวาสํ
อกเชาสํ ่ านักงาน A

6.3.2. การวิเคราะห์ มูลค่ าเทียบเท่ ารายปี (Annual worth analysis)


การเปรี ยบเทียบทางเลือกด้วยวิธีมูลคาเที ่ ยบเทาปั ่ จจุบนั ในกรณี ที่อายุของแตละทางเลื
่ อกไม่
่ นั อาจจําเป็ นต้องขยายขอบเขตของระยะเวลาในการวิเคราะห์ออกไปเพื่อให้สามารถทําการ
เทาก

เปรี ย บเที ย บแตละทางเลื ่
อ กได้ใ นชวงเวลาเดี ย วกนั การปฏิ บ ัติ ดัง กลาวในหลั
่ ก การสามารถ

ดําเนินการได้ แตในทางปฏิ บตั ิน้ นั ยิง่ ทอดระยะเวลานานออกไป กยิ็ ง่ มีโอกาสที่จะเกดความผั
ิ นแปร
่่
ของสถานการณ์ข้ ึน ไมวาจะเป็ น อัตราดอกเบี้ ย สถานการณ์ทางการเมือง เศรษฐกจโลก ิ ฯลฯ ล้วน

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 257 ดร. สุรเมศวร์ พิรย


ิ ะวัฒน์
บทที่ 6 เศรษฐศาสตร์วศ
ิ วกรรม (Engineering Economics)

่ ่
สงผลกระทบตอความผั ่
นแปรของมูลคาการลงทุ นทั้ งสิ้ น ด้วยเหตุน้ ี การกระจายเงินลงทุนออกเป็ น
่ ยบเทารายปี
มูลคาเที ่ แทนการรวมเงินลงทุนให้อยูใ่ นรู ปของมูลคาเที ่ ยบเทาปั ่ จจุบนั จะเป็ นการลด

ความผิดพลาดในการวิเคราะห์ที่เกดจากสาเหตุ ขา้ งต้นได้

ตัวอย่ างที่ 6.15 ต้องการตัดสิ นใจเลือกลงทุนระหวาง ่ 2 แผน ได้แก่ แผน ก. ลงทุนซื้ อเครื่ อง 20,000
่ จ่ายตอปี
บาท คาใช้ ่ 8,000 บาท เมื่อครบ 3 ปี ซื้ อเครื่ องจักรใหมในราคาเดิ
่ มและมีค่าใช้จ่ายอื่นๆ ใน
ราคาเดิม แผน ข. ลงทุนซื้อเครื่ องจักรราคา 25,000 บาท มีค่าใช้จ่ายตอปี
่ 7,500 บาท สามารถใช้งาน
่ ั และโครงการนี้ ตอ้ งลงทุน 2 ครั้ ง หางกนครั
ได้ 3 ปี เชนกน ่ ั ้ งละ 3 ปี ถ้าอัตราดอกเบี้ ยเทากบร้
่ ั อยละ
่ โครงการไหนเป็ นโครงการที่ควรเลือก (ไพบูลย์ แย้มเผือ่ น, 2548)
10 ตอปี

+
กระแสเงินหมุนเวียน (บาท)

i = 10% per year


ปี
0 1 2 3 4 5 6

A = 8,000
- 20,000 20,000

(ก) แผน ก
+
กระแสเงินหมุนเวียน (บาท)

i = 10% per year


ปี
0 1 2 3 4 5 6

A = 7,500
- 25,000 25,000

(ข) แผน ข

แผน ก.
่ ยบเทารายปี
มูลคาเที ่ = -20,000(A/P,10%,3) - 8,000
= -20,000(0.40211) - 8,000
= -16,042.2 บาท

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 258 ดร. สุรเมศวร์ พิรย


ิ ะวัฒน์
บทที่ 6 เศรษฐศาสตร์วศ
ิ วกรรม (Engineering Economics)

แผน ข.
่ ยบเทารายปี
มูลคาเที ่ = -25,000(A/P,10%,3) - 7,500
= -25,000(0.40211) - 7,500
= -17,552.75 บาท


จากการวิเคราะห์ พบวาควรเลื ่ จ่ายรายปี น้อยกวาแผน
อกแผน ก. เนื่องจากคาใช้ ่ ข.

ตัวอย่ างที่ 6.16 โรงงานแหงหนึ ่ ่ งต้องการขนสงวั ่ สดุระหวางโกดั


่ ั ่ วยการผลิต แตเดิ
งกบหน ่ มใช้
่ จ่ายแรงงาน 92,000 บาทตอปี
แรงงานคนต้องเสี ยคาใช้ ่ กาหนดให้
ํ เป็ นแผน A อีกทางเลือกหนึ่ งคือ

แผน B ดําเนินการโดยซื้ อเครื่ องมือผอนแรงราคา 150,000 บาท มีอายุการใช้งาน 10 ปี มูลคาซาก่
เทากบศู ่ จ่ายประจําปี ได้แก่ คาไฟฟ้
่ ั นย์ คาใช้ ่ ่ ่ ารุ ง คาประกน
า คาซอมบํ ่ ั คาภาษี
่ ่
และคาแรง ่ ั
เทากบ
4,000 บาท 11,000 บาท 3,000 บาท และ 33,000 บาท ตามลําดับ และแผน C เป็ นอีกทางเลือกหนึ่ ง
่ สดุราคา 250,000 บาท ใช้งานได้ 10 ปี มูลคาซาก
ดําเนินการโดยซื้ อเครื่ องจักรขนถายวั ่ 50,000 บาท

คาไฟฟ้ ่ ่ ารุ ง คาประกน
า คาซอมบํ ่ ั คาภาษี
่ ่
และคาแรงงานเทากบ ่ ั 6,000 บาท 15,000 บาท 5,000
บาท และ 17,000 บาท ตามลําดับ กาหนดให้ ํ อตั ราผลตอบแทนตํ่าสุ ดร้อยละ 9 ตอปี ่ ควรเลือกลงทุน
แบบใดจึงจะเหมาะสม (ไพบูลย์ แย้มเผือ่ น, 2548)
+
กระแสเงินหมุนเวียน (บาท)

i = 9% per year
ปี
0 1 2 3 ............... 9 10

A = 51,000
- 150,000

(ก) แผน B
+
กระแสเงินหมุนเวียน (บาท)

50,000
i = 9% per year
ปี
0 1 2 3 ............... 9 10

A = 43,000
- 250,000

(ข) แผน C

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 259 ดร. สุรเมศวร์ พิรย


ิ ะวัฒน์
บทที่ 6 เศรษฐศาสตร์วศ
ิ วกรรม (Engineering Economics)

แผน A

คาแรงรายปี = ่
92,000 บาทตอปี

แผน B
่ ยบเทารายปี
คาเที ่ ่
ของเครื่ องมือผอนแรง = 150,000(A/P,9%,10)
= 150,000(0.15582)
= 23,373 บาท
่ จ่ายประจําปี
คาใช้ = 4,000 + 11,000 + 3,000 + 33,000
= 51,000 บาท
่ จ่ายรายปี ของแผน B
รวมคาใช้ = 23,373 + 51,000
= 74,373 บาท

แผน C
่ ยบเทารายปี
คาเที ่ ่ สดุ
ของเครื่ องจักรขนถายวั = 250,000(A/P,9%,10)
= 250,000(0.15582)
= 38,955 บาท
คา่ใช้จ่ายรายปี = 6,000 + 15,000 + 5,000 + 17,000
= 43,000 บาท
่ จ่ายรายปี ของแผน C
รวมคาใช้ = 38,955 + 43,000
= 81,955 บาท

คิดมูลคาซากเป็ นรายปี = 50,000(A/F,9%,10)
= 50,000(0.06582)
= 3,291 บาท

หักด้วยมูลคาซาก = 81,955 – 3,291
่ ยบเทารายปี
มูลคาเที ่ ของแผน C = 78,664 บาท

เมื่อเปรี ยบเทียบทั้ ง 3 ทางเลือก พบวา่ แผน B มีค่าใช้จ่ายรายปี ตํ่าสุ ด ดังนั้ นควรเลือกลงทุน


แผน B

่ จ่ายในการลงทุนซื้ อเครื่ องจักรมาใช้ผลิตอาหารดังแสดงในตารางด้านลาง


ตัวอย่ างที่ 6.17 คาใช้ ่ จง
่ ้ อแบบไหนจึงจะคุม้ คาตอการ
เปรี ยบเทียบความเหมาะสมในการลงทุนซื้ อเครื่ องจักรทั้ ง 2 แบบ วาซื ่ ่

ลงทุน กาหนดให้ ่ ั อยละ 15 ตอปี
อตั ราดอกเบี้ ยเทากบร้ ่

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 260 ดร. สุรเมศวร์ พิรย


ิ ะวัฒน์
บทที่ 6 เศรษฐศาสตร์วศ
ิ วกรรม (Engineering Economics)

รายการ แบบ A แบบ B


ลงทุนขั้ นต้น (บาท) 26,000 36,000
่ ารุ งรักษาตอปี
คาบํ ่ (บาท) 800 300

คาแรงคนงานตอปี ่ (บาท) 11,000 7,000
่ รายได้ (บาท)
คาภาษี - 2,600

มูลคาซาก (บาท) 2,000 3,000
อายุการใช้งาน (ปี ) 6 10

+
กระแสเงินหมุนเวียน (บาท)

2,000
i = 15% per year
ปี
0 1 2 3 4 5 6

A = 11,800
- 26,000

(ก) แบบ A
+
กระแสเงินหมุนเวียน (บาท)

3,000
i = 15% per year

ปี
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

A = 9,900
- 36,000

(ข) แบบ B

่ ยบเทารายปี
มูลคาเที ่ ของเครื่ องจักรแบบ A = -26,000(A/P,15%,6) + 2,000(A/F,15%,6) - 11,800
= -26,000(0.26424) + 2,000(0.11424) - 11,800
= -18,441.76 บาท

่ ยบเทารายปี
มูลคาเที ่ ของเครื่ องจักรแบบ B = -36,000(A/P,15%,10) + 3,000(A/F,15%,10) - 9,900
= -36,000(0.19925) + 3,000(0.04925) - 9,900
= -16,925.25 บาท

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 261 ดร. สุรเมศวร์ พิรย


ิ ะวัฒน์
บทที่ 6 เศรษฐศาสตร์วศ
ิ วกรรม (Engineering Economics)


จากการวิเคราะห์ขา้ งต้น พบวาควรเลื อกเครื่ องจักรแบบ B เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายเทียบเทาราย

่ ่ องจักรแบบ A
ปี น้อยกวาเครื

6.3.3. การวิเคราะห์ ผลประโยชน์ ต่อเงินลงทนุ (Benefit/cost analysis)


การวิเคราะห์ผลประโยชน์ต่อเงินลงทุน (Benefit/cost analysis or Benefit/cost ratio or B/C
ratio) เป็ นวิธีการที่นิยมใช้ในการวิเคราะห์ความเหมาะสมการลงทุนของโครงการรัฐ เนื่ องจาก

โครงการของรั ฐ บาลนั้ น สวนใหญไมได้ ่ ่ ด าํ เนิ น การเพื่ อแสดงหาผลประโยชน์ แตเป็ ่ นไปเพื่ อ
สาธารณะประโยชน์ ดังนั้ นผลประโยชน์ที่เกดขึ ิ ้ นอาจไมอยู ่ ่ในรู ปของตัวเงิ นที่ รัฐได้ตอบแทน
กลับมา แตจะอยู่ ใ่ นรู ปของประโยชน์ที่ชุมชนได้รับ อาทิ คุณภาพชีวตที ิ ่ดีข้ ึน การประหยัดคาใช้ ่ จ่าย
ในการเดินทาง การเพิ่มรายได้หรื อผลผลิต ความปลอดภัย หรื อสุ ขภาพจิตของคนในชุมชนที่ดีข้ ึน

เป็ นต้น ในการวิเคราะห์ความคุม้ คาในการลงทุ น ผลประโยชน์ที่ได้รับเหลานี ่ ้ จะถูกแปลงให้อยูใ่ น
รู ปของมูลคาเงิ่ นเพื่อเปรี ยบเทียบกบเงิ
ั นที่ลงทุนไปในโครงการเหลานั ่ ้น
จากที่กลาวข้่ างต้นจะเห็นได้ว่าการวิเคราะห์ผลประโยชน์ต่อเงินลงทุนนั้ น มีตวแปรสํ ั าคัญ
อยู่ 2 ตัวแปร ได้แก่ ผลประโยชน์ และเงินลงทุน ผลประโยชน์ (Benefit) ของโครงการ คือ สิ่ งที่เป็ น
ประโยชน์ซ่ ึ งได้รับเพิ่มขึ้ นทั้ งในด้านทรั พย์สินและสวัสดิ การจากโครงการเมื่อเปรี ยบเทียบกบั
สภาพการณ์ที่ยงั ไมมี่ การดําเนินงานตามโครงการ (วัชริ นทร์ วิทยกุล, 2539) ผลประโยชน์ในรู ปของ
สาธารณประโยชน์ อ ัน เนื่ อ งมาจากโครงการรั ฐ สามารถแบงออกได้ ่ เ ป็ น 2 ประเภท ได้แ ก่
ผลประโยชน์ที่ได้รับในรู ปของการเพิ่มรายได้หรื อเพิ่มผลผลิต อาทิ รายได้ที่เพิ่มขึ้ นจากการเกบเงิ ็ น
่ ่
คาผานทาง เป็ นต้น และผลประโยชน์ที่ได้รับในรู ปของการประหยัดคาใช้ ่ จ่ายและลดความเสี ยหาย
อาทิ การตัดถนนเส้นใหมอาจชวยให้่ ่ เดิ นทางถึงที่หมายได้เร็ วขึ้ น เป็ นการประหยัดพลังงานและ
่ จ่ายในการเดินทาง เป็ นต้น
คาใช้
เงินลงทุน (Cost) ของโครงการ คือ คาใช้ ่ จ่ายทั้ งหมดที่ตอ้ งชําระตลอดการดําเนิ นงานตาม
โครงการ จึงเป็ นผลรวมของคาใช้ ่ จ่ายลงทุนเริ่ มแรกของโครงการและคาใช้ ่ จ่ายในการดําเนิ นงาน
่ จ่ายอื่นๆ อันเนื่ องมาจากผลกระทบด้านสิ่ งแวดล้อมและชุมชนที่อยูใ่ นบริ เวณโครงการ
รวมถึงคาใช้
่ จ่ายเพื่อชดเชยการเวนคืนที่ดิน คาใช้
อาทิ คาใช้ ่ จ่ายในการปรับสภาพแวดล้อมของชุมชนหลังการ
่ าง เป็ นต้น (วัชริ นทร์ วิทยกุล, 2539) รายละเอียดปลีกยอยของรายละเอี
กอสร้ ่ ยดเงินลงทุนและ
่ ั
ผลตอบแทนนั้ น จะแตกตางกนไปในแตละโครงการ ่ ่
ซึ่ งจะได้นาํ เสนอตอไปในตั ่
วอยางการคํ านวณ

จากที่กลาวมาทั ้ งหมด สามารวิเคราะห์ผลประโยชน์ต่อเงินลงทุนได้จากสมการตอไปนี ่ ้

B / C ratio =
Benefit (6.7)
Cost

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 262 ดร. สุรเมศวร์ พิรย


ิ ะวัฒน์
บทที่ 6 เศรษฐศาสตร์วศ
ิ วกรรม (Engineering Economics)

โครงการที่มีค่า B/C ratio มากกวา่ 1 เป็ นโครงการที่น่าลงทุน ถ้า B/C ratio น้อยกวา่ 1 จัด
่ นโครงการที่ไมเหมาะสมตอการลงทุ
วาเป็ ่ ่ น และถ้า B/C ratio เทากบ ่ ั 1 หมายความวาโครงการนั
่ ้น
คุม้ ทุนพอดี ไมได้ ่ กาไรหรื
ํ อขาดทุน
ิ ้ นจากโครงการ และคาใช้
เนื่ องจากผลประโยชน์ที่เกดขึ ่ จ่ายหรื อเงินลงทุนที่ตอ้ งชําระนั้ น
อาจไมได้ ่ เป็ นเหตุการณ์ที่เกดขึ
ิ ้ นในชวงเวลาเดี
่ ยวกนั ดังนั้ นจึงจําเป็ นต้องใช้หลักการแปลงคาเงิ
่ นซึ่ ง

เป็ นมูลคาของผลประโยชน์ และเงินลงทุนให้มาอยู่ในชวงเวลาเดี
่ ั
ยวกนตามหลั กการแปลงค่าเงินที่

ได้กลาวไปแ ล้วในตอนต้น

ตัวอย่ างที่ 6.18 มูลนิธิเพื่อการค้นคว้าวิจยั ทางเทคโนโลยีตอ้ งการพัฒนาคณาจารย์ที่สอนในชนบท



โดยลงทุนขั้ นต้นเป็ นเงิน 1,500,000 บาท เป็ นระยะเวลา 10 ปี โครงการดังกลาวลดการสู ญเสี ยได้ปี
ละ 500,000 บาท มีการเสี ยผลประโยชน์เป็ นคาเชาอุ ่ ่ ปกรณ์จากเอกชนปี ละ 200,000 บาท กาหนดให้ํ
อัตราผลตอบแทนในการลงทุนเทากบร้ ่ ั อยละ 6 ตอปี่ และคาใช้
่ จ่ายในการดําเนินงานเทา่ กบั 50,000
บาทตอปี่ จงวิเคราะห์ความเหมาะสมในการลงทุนของโครงการนี้ ดว้ ยวิธีผลประโยชน์ต่อเงินลงทุน
ั นลงทุนครั้ งแรก และ ข.) เปรี ยบเทียบกบค
โดย ก.) เปรี ยบเทียบกบเงิ ั ่าใช้จ่ายทั้ งหมด (ดัดแปลงจาก
ไพบูลย์ แย้มเผือ่ น, 2548)

่ คิดเป็ นมูลคา่
ผลประโยชน์ที่ได้รับตอปี 500,000 บาท
่ ่ ปกรณ์ต่อปี
เสี ยผลประโยชน์เป็ นคาเชาอุ 200,000 บาท
ผลประโยชน์สุทธิต่อปี 500,000 – 200,000 = 300,000 บาท


ต้นทุนตอปี 1,500,000(A/P,6%, 10)
1,500,000(0.13587) = 203,805 บาท
่ จ่ายในการดําเนินงานตอปี
คาใช้ ่ 50,000 บาท

่ าเนินการ
ผลประโยชน์ที่ได้รับ – ผลประโยชน์ที่เสี ยไป – คาดํ
ก.) B/C =
เงินลงทุนครั้ งแรก
300,000 − 50,000
=
203,805
= 1.23
ผลประโยชน์ที่ได้รับ – ผลประโยชน์ที่เสี ยไป
ข.) B/C =
่ จ่ายทั้ งหมด
คาใช้

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 263 ดร. สุรเมศวร์ พิรย


ิ ะวัฒน์
บทที่ 6 เศรษฐศาสตร์วศ
ิ วกรรม (Engineering Economics)

= 300,000
203,805 + 50,000
= 1.18

จากการวิเคราะห์เปรี ยบเทียบทั้ งสองแนวทาง พบวา่ B/C ratio มีค่ามากกวา่ 1 โครงการนี้ จึง


มีความเหมาะสมในการลงทุน

่ างทางหลวงมีทางเลือก 2 แนวทาง โครงการ A ใช้เงินลงทุน


ตัวอย่ างที่ 6.19 โครงการลงทุนกอสร้
่ าง 4,000,000 บาท กอให้
ในการกอสร้ ่ เกดิ ผลประโยชน์รายปี 125,000 บาท โครงการ B ใช้เงิน
ลงทุนในการกอสร้ ่ าง 6,000,000 บาท กอให้
่ เกดผลประโยชน์
ิ รายปี 100,000 บาท คาบํ ่ ารุ งรักษาตอปี

ของโครงการ A และ B เทากบ ่ ั 200,000 บาท และ 120,000 บาท ตามลําดับ กาหนดให้ ํ อายุการใช้
งานของถนนทั้ งสองโครงการเทากบ ่ ั 20 ปี อัตราดอกเบี้ ยร้อยละ 8 ตอปี
่ จงเปรี ยบเทียบเพื่อคัดเลือก

โครงการที่ เ หมาะสมในการลงทุ น ด้ว ยวิ ธี อตั ราสวนผลประโยชน์ ต่ อเงิ น ลงทุ น (ดัด แปลงจาก
ไพบูลย์ แย้มเผือ่ น, 2548)

โครงการ A
เงินลงทุนขั้ นต้นคิดเป็ นรายปี = 4,000,000(A/P,8%,20)
= 4,000,000(0.10185)
= 407,400 บาท
่ ารุ งรักษารายปี
คาบํ = 200,000 บาท

รวมเงินลงทุนตอปี = 407,400 + 200,000 = 607,400 บาท
ผลประโยชน์ต่อปี = 125,000 บาท

โครงการ B
เงินลงทุนขั้ นต้นคิดเป็ นรายปี = 6,000,000(A/P,8%,20)
= 6,000,000(0.10185)
= 611,100 บาท
่ ารุ งรักษารายปี
คาบํ = 120,000 บาท

รวมเงินลงทุนตอปี = 611,100 + 120,000 = 731,100 บาท
ผลประโยชน์ต่อปี = 100,000 บาท

่ ั = 731,100 – 607,400 = 123,700 บาท


โครงการ A และ B ลงทุนตางกน

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 264 ดร. สุรเมศวร์ พิรย


ิ ะวัฒน์
บทที่ 6 เศรษฐศาสตร์วศ
ิ วกรรม (Engineering Economics)


จากการวิเคราะห์ พบวาโครงการ ่
B จะมีการลงทุนสู งกวาโครงการ ่ ั 123,700 บาท
A เทากบ
่ และผลประโยชน์ที่ได้รับน้อยกวาโครงการ
ตอปี ่ ่ ดเจนวา่ โครงการ A
A ด้วยเหตุน้ ี จึงเห็นได้อยางชั

มีความเหมาะสมในการลงทุนมากกวาโครงการ B

6.3.4. การวิเคราะห์ อตั ราผลตอบแทน (Rate of return analysis)


ในการลงทุนในโครงการทางวิศวกรรมขนสงนั ่ ้ น มักเป็ นการลงทุนขนาดใหญและใช้ ่ เงิน
ลงทุนเป็ นจํานวนมาก จึงมีความจําเป็ นที่ผลู ้ งทุนจะต้องคํานวณหาอัตราผลตอบแทนที่คุม้ คากบการ ่ ั
ั ต ราผลตอบแทน ตํ่า สุ ด ที ่ส ามารถตอบสนองความพึง พอ
ลงทุ น เมื่ อ นํา ไปเปรี ย บเที ย บกบอั
ใจ (Minimum attractive rate of return, MARR) ซึ่ งสวนมากคา ่ ่ MARR จะกาหนดจาก
ํ อัตรา
ดอกเบี้ ยเงิ นกู้ หรื ออัตราดอกเบี้ ยเงิ นฝาก ในกรณี ที่ผูล้ งทุ นใช้วิธีกู้ยืมเงิ นจากแหลงเงิ
่ นกู้ อัตรา
ผลตอบแทนของโครงการที่ถูกเลือกจะต้องมีค่าสู งกวาอั ่ ตราเงินกู้ เพื่อที่จะมีเงินจากผลตอบแทนที่
เพีย งพอสํา หรั บนํามาชํา ระให้แ หลงเงิ ่ ว ของ
่ น กู้ และในกรณี ที่ เ ป็ นการลงทุ น โดยใช้เ งิ น สวนตั

หนวยงานเอง อัตราผลตอบแทนของโครงการที่ถูกเลือก จะต้องมีค่าสู งกวาอั ่ ตราเงินฝาก เพื่อให้เกดิ
่ าหรับการถอนเงินคงคลังออกจากธนาคาร เพื่อนํามาลงทุนในโครงการดังกลาว
ความคุม้ คาสํ ่ ถ้า
อัตราผลตอบแทนที่คาํ นวณได้ของโครงการมีค่ามากกวา่ MARR กสามารถสรุ ็ ปได้ว่าโครงการ
่ ค วามเหมาะสมในการลงทุ น หรื อ ในกรณี ที่ เ ป็ นการเปรี ย บเที ย บกนหลายโครงการ
ดัง กลาวมี ั
โครงการที่ให้อตั ราผลตอบแทนสู งสุ ดจะเป็ นโครงการที่ได้รับการพิจารณา ทั้ งนี้ อัตราผลตอบแทน
ที่ได้จากการคํานวณนี้ คือ อัตราผลตอบแทนตํ่าสุ ดที่ทาํ ให้มูลคาปั ่ จจุบนั หรื อมูลคาเที่ ยบเทารายปี

ของเงินลงทุน (PWD) มีค่าเทากบมู ่ ั ลคาปั ่ จจุบนั หรื อมูลคาเที
่ ยบเทารายปี
่ ของผลประโยชน์ที่ได้รับ
(PWB) ในกรณี ที่คาํ นวณโดยใช้มูลคา่เทียบเทา่ปั จจุบนั (Present worth, PW) สามารถเขียนเป็ น
สมการได้ดงั นี้

PWD, i% = PWB, i% (6.8)

่ ยบเทารายปี
ในกรณี ที่คาํ นวณโดยใช้มูลคาเที ่ (Equivalent uniform annual worth, EUAW)
สามารถเขียนเป็ นสมการได้ ดังนี้

EUAWD, i% = EUAWB, i% (6.9)


โดยกาหนดให้ ่ ย บเทาปั
PWD คื อ มู ล คาเที ่ จ จุ บ ัน ของเงิ น ลงทุ น (บาท) PWB คื อ มู ล คา่
่ จ จุ บ นั ของผลตอบแทน (บาท) EUAWD คื อ มูลเที ย บเทารายปี
เที ยบเทาปั ่ ของเงิ น ลงทุ น (บาท)
EUAWB คือ มูลคาเที ่ ยบเทารายปี
่ ของผลตอบแทน (บาท) และ i% คือ อัตราผลตอบแทนตํ่าสุ ดที่

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 265 ดร. สุรเมศวร์ พิรย


ิ ะวัฒน์
บทที่ 6 เศรษฐศาสตร์วศ
ิ วกรรม (Engineering Economics)

่ จจุ บนั หรื อมูลคาเที


ทําให้มูลคาปั ่ ยบเทารายปี
่ ของเงิ นลง ทุนมี ค่าเทากบมู
่ ั ลคาปั
่ จจุ บนั หรื อมูลคา่

เทียบเทารายปี ของผลประโยชน์ที่ได้รับ

ตัวอย่ างที่ 6.20 ลงทุนเป็ นเงิน 1,000 บาท ได้รับเงินในปี ที่ 3 ทั้ งสิ้ น 500 บาท และในปี ที่ 5 อีก 1,500
บาท จงหาอัตราผลตอบแทนของการลงทุนครั้ งนี้ และถ้ากาหนดให้ ํ ่ ั อยละ 12 จง
MARR เทากบร้

สรุ ปวาสมควรจะลงทุ นหรื อไม่ (Blank and Tarquin, 2008; ไพบูลย์ แย้มเผือ่ น, 2548)

+
กระแสเงินหมุนเวียน (บาท)

500 1,500

ปี
0 1 2 3 4 5

- 1,000

จาก PWD, i% = PWB, i%


จะได้ 0 = PWB, i% – PWD, i%
แทนคา่ 0 = 500(P/F,i%,3) + 1,500(P/F,i%,5) – 1,000
สมมติคา่ i เพื่อทําให้สมการข้างต้นเทากบศู
่ ั นย์


สมมติครั้ งที่ 1 กาหนดให้ i = 16%
PWi = 16% = 500(P/F,16%,3) + 1,500(P/F,16%,5) – 1,000
= 500(0.6407) + 1,500(0.4761) – 1,000
= 34.5 บาท ≠ 0


สมมติครั้ งที่ 2 กาหนดให้ i = 17%
PWi = 17% = 500(P/F,17%,3) + 1,500(P/F,17%,5) – 1,000
= 500(0.6244) + 1,500(0.4561) – 1,000
= -3.65 บาท ≠ 0

อัตราผลตอบแทน i ที่ทาํ ให้สมการมีค่าเทากบศู


่ ั นย์น้ นั นาจะอยู
่ ร่ ะหวางอั
่ ตราผลตอบแทน
่ งกลาวได้
16% และ 17% ดังนั้ นจึงสามารถใช้หลักการ Interpolation คํานวณหาคาดั ่ ดังนี้

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 266 ดร. สุรเมศวร์ พิรย


ิ ะวัฒน์
บทที่ 6 เศรษฐศาสตร์วศ
ิ วกรรม (Engineering Economics)

i% 16 i 17
PWi% 34.5 0 -3.65

จากตาราง พบวา่ ถ้า PW ตางกน


่ ั 34.5 – (-3.65) = 38.15 คา่ i จะตาง
่ กนั = 1
ดังนั้ น ่ ั 34.5 – (0) = 34.5 คา่ i จะตางกน
ถ้า PW ตางกน ่ ั = (1/38.15) × 34.5 = 0.904

่ ยบเทาปั
∴ อัตราผลตอบแทนที่ทาํ ให้มูลคาเที ่ จจุบนั ของเงินลงทุนเทากบมู
่ ั ลคาปั
่ จจุบนั ของ
่ ่ ั 16 + 0.904 = 16.904%
ผลตอบแทน มีคาเทากบ
อัตราผลตอบแทน 16.904% > 12% โครงการนี้ จึงมีความเหมาะสมในการลงทุน


ตัวอย่ างที่ 6.21 ลงทุนเป็ นเงิน 500,000 บาท ได้กาไรจากเงิ ่ โดยลงทุน
นลงทุนนี้ 10,000 บาทตอปี
้ านวน 700,000 บาท จงคํานวณหา
เป็ นเวลา 10 ปี และปลายปี ที่ 10 ได้รับผลตอบแทนเป็ นเงินกอนจํ
อัตราผลตอบแทน และถ้ากาหนดให้ ํ ่ ั อยละ 10 ตอปี
MARR เทากบร้ ่ ควรที่จะลงทุนในโครงการนี้
หรื อไม่ (Blank and Tarquin, 2008)

+
กระแสเงินหมุนเวียน (บาท)

700,000
A = 10,000

ปี
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

-
500,000

จาก PWD, i% = PWB, i%


จะได้ 0 = PWB, i% – PWD, i%
แทนคา่ 0 = 10,000(P/A,i%,10) + 700,000(P/F,i%,10) – 500,000
สมมติคา่ i เพื่อทําให้สมการข้างต้นเทากบศู
่ ั นย์


สมมติครั้ งที่ 1 กาหนดให้ i = 5%
PWi = 5% = 10,000(P/A,5%,10) + 700,000(P/F,5%,10) – 500,000
= 10,000(7.7217) + 700,000(0.6139) – 500,000
= 6,946 บาท > 0

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 267 ดร. สุรเมศวร์ พิรย


ิ ะวัฒน์
บทที่ 6 เศรษฐศาสตร์วศ
ิ วกรรม (Engineering Economics)

ํ นดให้ i = 6%
สมมติครั้ งที่ 2 กาห
PWi = 6% = 10,000(P/A,6%,10) + 700,000(P/F,6%,10) – 500,000
= 10,000(7.360) + 700,000(0.5584) – 500,000
= -35,519 บาท < 0

อัตราผลตอบแทน i ที่ทาํ ให้สมการมีค่าเทากบศู


่ ั นย์น้ นั นาจะอยู
่ ร่ ะหวางอั
่ ตราผลตอบแทน
่ งกลาวได้
5% และ 6% ดังนั้ นจึงสามารถใช้หลักการ Interpolation คํานวณหาคาดั ่ ดังนี้

i% 5 i 6
PWi% 6,946 0 -35,519

จากตาราง พบวา่ ถ้า PW ตางกน


่ ั 6,946 – (-35,519) = 42,465 คา่ i จะตางกน
่ ั =1
่ ั 6,946 – (0) = 6,946 คา่ i จะตางกน
ดังนั้ น ถ้า PW ตางกน ่ ั = (1/42,465) × 6,946 = 0.16

่ ยบเทาปั
∴ อัตราผลตอบแทนที่ทาํ ให้มูลคาเที ่ จจุบนั ของเงินลงทุนเทากบมู
่ ั ลคาปั
่ จจุบนั ของ
่ ่ ั 5 + 0.16 = 5.16%
ผลตอบแทน มีคาเทากบ
อัตราผลตอบแทน 5.16% < 10% โครงการนี้ จึงไม่เหมาะสมที่จะลงทุน

่ ่ 6.21 จงวิเคราะห์โดยใช้วิธีมูลคาเที
ตัวอย่ างที่ 6.22 จากตัวอยางที ่ ยบเทารา
่ ยปี (ไพบูลย์ แย้มเผือ่ น, 2548)

จาก EUAWD, i% = EUAWB, i%


จะได้ 0 = EUAWB, i% – EUAWD, i%
แทนคา่ 0 = 10,000 + 700,000(A/F,i%,10) - 500,000(A/P,i%,10)
สมมติคา่ i เพื่อทําให้สมการข้างต้นเทากบศู
่ ั นย์


สมมติครั้ งที่ 1 กาหนดให้ i = 5%
EUAWi = 5% = 10,000 + 700,000(A/F,5%,10) – 500,000(A/P,5%,10)
= 10,000 + 700,000(0.07950) – 500,000(0.1295)
= 900 บาท ≠ 0


สมมติครั้ งที่ 2 กาหนดให้ i = 6%
EUAWi = 6% = 10,000 + 700,000(A/F,6%,10) – 500,000(A/P,6%,10)

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 268 ดร. สุรเมศวร์ พิรย


ิ ะวัฒน์
บทที่ 6 เศรษฐศาสตร์วศ
ิ วกรรม (Engineering Economics)

= 10,000 + 700,000(0.07587) – 500,000(0.1359)


= -4,841 บาท ≠ 0

อัตราผลตอบแทน i ที่ทาํ ให้สมการมีค่าเทากบศู


่ ั นย์น้ นั นาจะอยู
่ ร่ ะหวางอั
่ ตราผลตอบแทน
่ งกลาวได้
5% และ 6% ดังนั้ นจึงสามารถใช้หลักการ Interpolation คํานวณหาคาดั ่ ดังนี้

i% 5 i 6
PWi% 900 0 -4,841

จากตาราง พบวา่ ถ้า PW ตางกน


่ ั 900 – (-4,841) = 5,741 คา่ i จะตางกน
่ ั =1
ดังนั้ น ่ ั 900 – (0) = 900 คา่ i จะตางกน
ถ้า PW ตางกน ่ ั = (1/5,741) × 900 = 0.157

่ ยบเทาปั
∴ อัตราผลตอบแทนที่ทาํ ให้มูลคาเที ่ จจุบนั ของเงินลงทุนเทากบมู
่ ั ลคาปั
่ จจุบนั ของ
่ ่ ั 5 + 0.157 = 5.157%
ผลตอบแทน มีคาเทากบ
อัตราผลตอบแทน 5.157% < 10% โครงการนี้ จึงไม่มีความเหมาะสมในการลงทุน

ตัวอย่ างที่ 6.23 เครื่ องจักร 2 ประเภท คือแบบ A และแบบ B มีรายละเอียดคาใช้ ่ จ่ายสําหรับ
เครื่ องจักรทั้ ง 2 ประเภทดังแสดงในตารางด้านลางนี่ ้ จงใช้วิธีวิเคราะห์อตั ราผลตอบแทนของมูลคา่
่ (ไพบูลย์ แย้มเผือ่ น, 2548)
ปั จจุบนั ในการเลือกซื้ อเครื่ องจักรดังกลาว

รายการ แบบ A แบบ B


ลงทุนขั้ นต้น (บาท) 10,000 10,000
่ จ่ายตอปี
คาใช้ ่ (บาท) 2,500 2,700

มูลคาซาก (บาท) 1,000 900
รายได้ต่อปี (บาท) 5,000 5,400
อายุการใช้งาน (ปี ) 5 5
+
กระแสเงินหมุนเวียน (บาท)

A = 2,500 1,000

0 1 2 3 4 5
ปี

- 10,000 แบบ A

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 269 ดร. สุรเมศวร์ พิรย


ิ ะวัฒน์
บทที่ 6 เศรษฐศาสตร์วศ
ิ วกรรม (Engineering Economics)

กระแสเงินหมุนเวียน (บาท)
A = 2,700 900

0 1 2 3 4 5
ปี

- 10,000 แบบ B

แบบ A
ํ ่
กาไรตอปี = 5,000 – 2,500
= 2,500 บาท

กาหนดสมการ
0 = 2,500(P/A,i%,5) + 1,000(P/F,i%,5) – 10,000

สมมติ i = 10%
PWi = 10% = 2,500(P/A,10%,5) + 1,000(P/F,10%,5) – 10,000
= 2,500(3.791) + 1,000(0.6209) – 10,000
= 98.40 บาท
สมมติ i = 11%
PWi = 11% = 2,500(P/A,11%,5) + 1,000(P/F,11%,5) – 10,000
= 2,500(3.696) + 1,000(0.5935) – 10,000
= -165.5 บาท

อัตราผลตอบแทน ⎛ 11 − 10 ⎞ = 10.37%
i = 10 + ⎜ ⎟ × (98.4 − 0)
⎝ 98.4 + 166.5 ⎠

แบบ B
ํ ่
กาไรตอปี = 5,400 – 2,700
= 2,700 บาท

กาหนดสมการ
0 = 2,700(P/A,i%,5) + 900(P/F,i%,5) – 10,000

สมมติ i = 12%

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 270 ดร. สุรเมศวร์ พิรย


ิ ะวัฒน์
บทที่ 6 เศรษฐศาสตร์วศ
ิ วกรรม (Engineering Economics)

PWi = 12% = 2,700(P/A,12%,5) + 900(P/F,12%,5) – 10,000


= 2,700(3.605) + 900(0.5674) – 10,000
= 244.16 บาท
สมมติ i = 13%
PWi = 13% = 2,700(P/A,13%,5) + 900(P/F,13%,5) – 10,000
= 2,700(3.517) + 900(0.5428) – 10,000
= -15.58 บาท

⎛ 13 − 12 ⎞
อัตราผลตอบแทน i = 12 + ⎜ ⎟ × (244.16 − 0) = 12.94%
⎝ 244.16 + 15.58 ⎠

่ ่ องจักรแบบ B ให้อตั ราผลตอบแทนมากกวาอั


จากการวิเคราะห์พบวาเครื ่ ตราผลตอบแทน
ของเครื่ องจักรแบบ A ดังนั้ น ควรเลือกลงทุนเครื่ องจักรแบบ B

ตัวอย่ างที่ 6.24 การลงทุนซื้ อเครื่ องจักร 2 ประเภทคือแบบ A และแบบ B มีรายละเอียดคาใช้ ่ จ่ายใน
การลงทุนดังแสดงในตารางด้านลางนี ่ ้ จงวิเคราะห์เพื่อเปรี ยบเทียบความเหมาะสมในการลงทุนด้วย
การวิเคราะห์อตั ราผลตอบแทนโดยใช้วิธีมูลคาปั ่ จจุบนั วาควรเลื
่ ํ
อกเครื่ องจักรแบบใด กาหนดให้
MARR = 15% ตอปี ่ (ไพบูลย์ แย้มเผือ่ น, 2548)

่ จ่าย
รายการคาใช้ เครื่ องจักร A เครื่ องจักร B
ลงทุนขั้ นต้น (บาท) 8,000 13,000
่ จ่ายตอปี
คาใช้ ่ (บาท) 3,500 1,600

มูลคาซาก (บาท) 0 2,000
อายุการใช้งาน (ปี ) 10 5

ทําการเปรี ยบเทียบการลงทุนระหวางเครื ่ ่ องจักร A และเครื่ องจักร B โดยหาผลตางของ ่


่ ่
จํานวนเงินในแตละชวงเวลาที ่ตรงกนั เนื่ องจากอายุการใช้งานของเครื่ องจักรทั้ ง 2 แบบไมเทากน
่ ่ ั
่ ่นอ้ ยที่สุดของอายุการใช้งานเครื่ องจักรทั้ ง 2 แบบ เป็ นชวงเวลาสํ
จึงพิจารณาใช้ตวั คูณรวมที ่ าหรับ
่ ั 10 ปี ดังนั้ น จะเห็นได้วาการคํ
การวิเคราะห์ ซึ่งในที่น้ ีเทากบ ่ ่ จ่ายของเครื่ องจักร B จะคิด
านวณคาใช้
่ การลงทุนเกดขึ
เสมือนวามี ิ ้ น 2 รอบ เพื่อขยายเวลาการคํานวณออกไปเป็ น 10 ปี ดังแสดงในตาราง
่ ้
ด้านลางนี

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 271 ดร. สุรเมศวร์ พิรย


ิ ะวัฒน์
บทที่ 6 เศรษฐศาสตร์วศ
ิ วกรรม (Engineering Economics)

ปี ที่ ่
กระแสเงินหมุนเวียน กระแสเงินหมุนเวียนการลงทุน ผลตางของกระแสเงิ นหมุนเวียนการ
การลงทุนเครื่ องจักร A เครื่ องจักร B ่ ่ องจักรแบบ A
ลงทุนระหวางเครื
(บาท) (บาท) และ B (บาท)
0 -8,000 -13,000 -5000
1 -3,500 -1,600 +1,900
2 -3,500 -1,600 +1,900
3 -3,500 -1,600 +1,900
4 -3,500 -1,600 +1,900
5 -3,500 -1,600 และ -13,000 + 2,000 +1,900 และ -11,000
6 -3,500 -1,600 +1,900
7 -3,500 -1,600 +1,900
8 -3,500 -1,600 +1,900
9 -3,500 -1,600 +1,900
10 -3,500 -1,600 และ +2,000 +1,900 และ +2,000

เขียนในรู ปของแผนภูมิกระแสเงินหมุนเวียนได้ ดังนี้


+
กระแสเงินหมุนเวียน (บาท)

2,000
A = 1,900

ปี
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

- 5,000

11,000


กาหนดสมการสํ าหรับการคํานวณ
0 = 1,900(P/A,i%,10) + 2,000(P/F,i%,10) – 11,000(P/F,i%,5) – 5,000

สมมติ i = 12%
PWi = 12% = 1,900(P/A,12%,10) + 2,000(P/F,12%,10) – 11,000(P/F,12%,5) – 5,000
= 1,900(5.650) + 2,000(0.3220) – 11,000(0.5674) – 5,000
= 137.60 บาท

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 272 ดร. สุรเมศวร์ พิรย


ิ ะวัฒน์
บทที่ 6 เศรษฐศาสตร์วศ
ิ วกรรม (Engineering Economics)

สมมติ i = 13%
PWi = 13% = 1,900(P/A,13%,10) + 2,000(P/F,13%,10) – 11,000(P/F,13%,5) – 5,000
= 1,900(5.426) + 2,000(0.2946) – 11,000(0.5428) – 5,000
= -72.2 บาท

อัตราผลตอบแทน ⎛ 13 − 12 ⎞ = 12.66%
i = 12 + ⎜ ⎟ × (137.6 − 0)
⎝ 137.6 + 72.2 ⎠

จากการวิเคราะห์ พบวา่ การลงทุนเครื่ องจักร B เมื่อเทียบกบการลงทุ


ั นเครื่ องจักร A ให้
อัตราผลตอบแทนน้อยกวา่ MARR แสดงให้เห็นวาการเลื่ อกลงทุนเครื่ องจักร B นั้ น ไมคุ่ ม้ คาในการ

ลงทุน ด้วยเหตุน้ ีจึงเลือกลงทุนเครื่ องจักร A

คําถามท้ ายบท
1. จงระบุสมการและสัญลักษณ์ที่สอดคล้องกบคํ ั าตอไปนี
่ ้ Single-sum compound amount factor
Single-sum present worth factor Uniform series present worth factor Capital recovery factor
Sinking fund factor และ Uniform series compound amount factor
2. ฝากเงิน 2,000 บาท ทุกปี เป็ นระยะเวลา 5 ปี อัตราดอกเบี้ ยร้อยละ 10 ตอปี ่ เมื่อถอนเงินออก
่ จงเขี ย นแผนภู มิ ก ระแสเงิ น หมุ น เวี ยนประกอบการคํา นวณ
ทั้ ง หมดจะได้เ งิ น ทั้ งสิ้ น เทาไร
(ไพบูลย์ แย้มผือ่ น, 2548)
3. จงเปรี ยบเทียบทางเลือกการลงทุนของโครงการทางหลวงดังตอไปนี ่ ้ ดวยการวิ
้ เคราะห์มูลคา่
่ จจุบนั การวิเคราะห์มูลคาเที
เทียบเทาปั ่ ยบเทารายปี
่ การวิเคราะห์ผลตอบแทนตอเงิ ่ นลงทุน
และการวิเคราะห์อตั ราผลตอบแทน กาหนดให้ ํ MARR เทากบร้ ่ ั อยละ 8 ตอปี ่ (วัชริ นทร์
วิทยกุล, 2539)

่ จ่าย
รายการคาใช้ ทางเลือก A ทางเลือก B
เงินลงทุนเบื้ องต้น (ล้านบาท) 280 320

มูลคาซาก (ล้านบาท) 80 100
่ าเนินการและบํารุ งรักษารายปี (ล้านบาท)
คาดํ 14 16
่ จ่ายสําหรับผูใ้ ช้ถนนรายปี (ล้านบาท)
คาใช้ 148 140
อายุการใช้งาน (ปี ) 10 10

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 273 ดร. สุรเมศวร์ พิรย


ิ ะวัฒน์
บทที่ 6 เศรษฐศาสตร์วศ
ิ วกรรม (Engineering Economics)

่ างสะพาน 3 แบบ ด้วยการวิเคราะห์มูลคาเที


4. จงเปรี ยบเทียบทางเลือกการกอสร้ ่ ยบเท่ารายปี ดัง
่ ้ กาหนดให้
แสดงข้อมูลการลงทุนของโครงการทั้ ง 3 ในตารางด้านลางนี ํ ่ ั
อตั ราดอกเบี้ ยเทากบ
่ (วัชริ นทร์ วิทยกุล, 2539)
ร้อยละ 10 ตอปี

่ จ่าย
รายการคาใช้ สะพานไม้เดิม สะพานไม้ใหม่ สะพานคอนกรี ต
เงินลงทุนเบื้ องต้น (พันบาท) 18,000 30,000 56,000
่ ารุ งรักษารายปี (พันบาท)
คาบํ 600 400 200

มูลคาซาก (พันบาท) 1,000 0 4,000
อายุการใช้งาน (ปี ) 9 15 22


5. จงเปรี ยบเทียบทางเลือกในการลงทุนระหวางทางเลื อก A และ B ดังแสดงข้อมูลการลงทุนของ
่ ้ ด้วยการวิเคราะห์อตั ราผลตอบแทน กาหนดให้
ทางเลือกทั้ ง 2 ในตารางด้านลางนี ํ MARR
่ ั อยละ 10 ตอปี
เทากบร้ ่ (วัชริ นทร์ วิทยกุล, 2539)

่ จ่าย
รายการคาใช้ ทางเลือก A ทางเลือก B
เงินลงทุนเบื้ องต้น (พันบาท) 7,000 10,000

ราบรับเทียบเทารายปี (พันบาท) 3,800 5,000
่ ยบเทารายปี
รายจายเที ่ (พันบาท) 1,290 2,766

มูลคาซาก (พันบาท) 0 0
อายุการใช้งาน (ปี ) 4 8

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 274 ดร. สุรเมศวร์ พิรย


ิ ะวัฒน์

You might also like