You are on page 1of 30

Determining The Rating Factor

บทที่ 15
การหาค่ าอัตราเร็ว
 การหาค่าเวลาตัวแทน
 นิยาม
 ระบบของการให้อตั ราความเร็ ว
 การใช้ค่าปรับอัตราความเร็ ว
Industrial Work Study,A.j.Suphattra Katesarapong 15-1
Determining The Rating Factor

1.การหาค่าเวลาแทน
(Representative time or Selected time)
 หลังจากจับเวลาครบจานวนรอบตามที่ตอ้ งการแล้วต่อจากนั้นก็จะเลือก
ตัวแทน ของงานย่อยต่าง ๆเพื่อนามาใช้ในการคานวณ
 ซึ่งจะเห็นว่าเวลาจริ งของแต่ละงานย่อย บางครั้งแตกต่างกันมาก ต้อง
ตัดสิ นใจเลือกค่าเวลาตัวแทนเพียงค่าเดียว
 การหาค่าเวลาตัวแทนทาได้ 2 วิธี คือ
– วิธีหาค่าเฉลี่ย (Average)
– วิธีหาค่าฐานนิยม(Modal method)

Industrial Work Study,A.j.Suphattra Katesarapong 15-2


Determining The Rating Factor

2. นิยาม
 การประเมินอัตราความเร็ ว (Rating) คือ กระบวนการซึ่งผู ้
ทาการศึกษาเวลาใช้เปรี ยบเทียบการทางานของคนงาน ซึ่งกาลังถูก
ศึกษาอยูก่ บั ระดับการทางานปกติ ในความรู ้สึกของผูท้ าการศึกษาเวลา
นั้น
 จากคาจากัดความ สามารถแบ่งขั้นตอนการให้ค่าอัตราความเร็ วของ
คนงานออกเป็ น 2 ขั้นตอน
1. การตั้งระดับความเร็ วปกติของคนงาน
Note ความเร็ วปกติ (Normal Pace) คือ อัตราการทางานของคนงาน
เฉลี่ยซึ่งทางานภายใต้การแนะนาที่ถูกต้อง และปราศจากแรงกระตุน้
จากเงินรางวัล
2. การลงความเห็นว่า การทางานของคนงานภายใต้การศึกษานั้น
แตกต่างจากระดับความเร็ วปกติเท่าใด
Industrial Work Study,A.j.Suphattra Katesarapong 15-3
Determining The Rating Factor

3. ระบบของการให้อตั ราความเร็ ว
 วิธีในการประเมินอัตราการทางานมีหลายวิธีดงั นี้
➢ ระบบการประเมินอัตราการทางานตามความชานาญและความพยายาม
(Skill & Effort Rating)
➢ ระบบการประเมินอัตราการทางานด้วยระบบ (Westing House System
of Rating)
➢ ระบบการประเมินอัตราการทางานโดยการสังเคราะห์(Synthetic Rating)
➢ ระบบการประเมินอัตราการทางานตามวัตถุประสงค์(Objective Rating)
➢ ระบบการประเมินอัตราการทางานตามสมรรถนะการทางาน
(Physiological Evaluation of Performance Level)
➢ Performance Rating
Industrial Work Study,A.j.Suphattra Katesarapong 15-4
Determining The Rating Factor

ระบบการประเมินอัตราการทางานตามความชานาญและความ
พยายาม (Skill & Effort Rating)
 เกิดขึ้นในราว ค.ศ. 1916 โดย Charles E. Bedaux
 ได้กาหนดระบบการจ่ายค่าแรงแบบ Bedaux มาใช้ โดยอาศัย
การศึกษาเวลาเป็ นหลัก เวลามาตรฐานถูกแทนด้วยหน่วยด้วย Bs
 การคานวณเวลามาตรฐานของเขาได้รวมค่าอัตราของทักษะและ
ความพยายาม (Skill and Effort) เข้าไปเกี่ยวข้อง รวมทั้งให้เวลาเผือ่
ของการพักให้หายเหนื่อยด้วย Bedaux ใช้ค่าคะแนน 60 สาหรับการ
ทางานที่เป็ นมาตรฐาน
 นัน่ คือ ถ้าพนักงานทางานที่ความเร็ วปกติกใ็ ห้คะแนน 60 Bs ใน 1
ชัว่ โมง หากทางานเร็ วขึ้นก็อาจให้คะแนน 70 Bs ถึง 85 Bs

Industrial Work Study,A.j.Suphattra Katesarapong 15-5


Determining The Rating Factor
ระบบการประเมินอัตราการทางานด้ วยระบบ
(Westing House System of Rating)
 คิดขึ้นโดยบริ ษทั Westing House ในปี 1972
 โดยยึดปัจจัยสาคัญที่มีผลต่อการทางาน 4 ประการ คือ
➢1. ทักษะ (Skill)
คือ ความสามารถในการทางานตามวิธีที่กาหนดให้
➢2. ความพยายาม (Effort)
คือ ความพยายาม ความตั้งใจที่จะทางาน
➢ 3. สภาพแวดล้อม (Condition)
คือ สิ่ งที่อยูร่ อบ ๆ ที่ทางานที่มีผลต่อการทางาน เช่น ความร้อน, แสง
สว่าง, ความชื้น, เสี ยง เป็ นต้น
Industrial Work Study,A.j.Suphattra Katesarapong 15-6
Determining The Rating Factor
ระบบการประเมินอัตราการทางานด้ วยระบบ
(Westing House System of Rating)
➢4. ความสม่าเสมอ (Consistency)
คือ ความสม่าเสมอในการใช้เวลาในการทางานแต่ละรอบ
ค่าคะแนนของปัจจัยทั้ง 4 ถูกกาหนดเอาไว้แล้ว โดยขณะบันทึก
เวลาการทางาน จะประเมินค่าคะแนนของปัจจัยเหล่านี้ดว้ ย ค่าคะแนน
ที่กาหนดไว้ในตาราง

Industrial Work Study,A.j.Suphattra Katesarapong 15-7


Determining The Rating Factor
ตาราง คะแนนขององค์ประกอบต่าง ๆ ในการประเมินอัตราความเร็ ว
ตามวิธีของ Westing House
Skill Effort
+0.15 A1 Superskill +0.13 A1 Excessive
+0.13 A2 +0.12 A2
+0.11 B1 Excellent +0.10 B1 Excellent
+0.08 B2 +0.08 B2
+0.06 C1 Good +0.05 C1 Good
+0.03 C2 +0.02 C2
0.00 D Average 0.00 D Average
-0.05 E1 Fair -0.04 E1 Fair
-0.10 E2 -0.08 E2
-0.16 F1 Poor -0.12 F1 Poor
-0.22 F2 -0.17 F2

Industrial Work Study,A.j.Suphattra Katesarapong 15-8


Determining The Rating Factor
ตาราง คะแนนขององค์ประกอบต่าง ๆ ในการประเมินอัตราความเร็ วตามวิธีของ
Westing House
Conditions Consistency
+0.06 A Ideal +0.04 A Perfect
+0.04 B Excellent +0.03 B Excellent
+0.02 C Good +0.01 C Good
0.00 D Average 0.00 D Average
-0.03 E Fair -0.02 E Fair
-0.07 F Poor -0.04 F Poor

Industrial Work Study,A.j.Suphattra Katesarapong 15-9


Determining The Rating Factor

EX. พนักงานคนหนึ่งใช้เวลาในการประกอบชิ้นงาน 0.5 นาที ถ้าใช้การประเมินค่า


อัตราความเร็ วของการทางาน โดยใช้วิธี Westinghouse System จะเป็ นเท่าไร และ
เวลาพื้นฐานของการทางานนี้มีค่าเท่าไร ถ้าเกณฑ์การประเมินค่าการทางานมีดงั นี้
Excellent skill, B2 = +0.08
Good effort,C2 = +0.02
Good Conditions,C = +0.02
Good Consistency,C = +0.01
T0tal = +0.13
นาค่าการประเมินอัตราความเร็ วของการทางานรวมไปบวกกับ 1 จะได้เป็ น
1.13 หรื อ 113% เป็ นค่าความสามารถในการทางานของคนงาน
 เวลาพื้นฐานของการทางาน = 1.13 0.50 = 0.565 นาที

Industrial Work Study,A.j.Suphattra Katesarapong 15-10


Determining The Rating Factor

ระบบการประเมินอัตราการทางานโดยการสั งเคราะห์ (Synthetic Rating)


 เป็ นวิธีที่ใช้การเปรี ยบเทียบความเร็ วในการทางานกับความเร็ ว
มาตรฐานที่กาหนดไว้ ซึ่งความเร็ วมาตรฐานได้จากข้อมูลที่ได้ทราบ
ล่วงหน้าแล้ว
R = P /A
เมื่อ R = ประสิ ทธิภาพการทางานของพนักงาน
P = ความเร็ วมาตรฐานที่ทราบล่วงหน้า
A = เวลาที่พนักงานใช้ในการทางาน
EX ในงานย่อยหนึ่งจับเวลาได้ 0.12 นาที แต่จากความเร็ วมาตรฐาน ที่มี
อยูค่ วรจะทาได้ 0.13 นาที
 ประสิ ทธิภาพในการทางานจะเป็ น (0.13/0.12) = 108%
Industrial Work Study,A.j.Suphattra Katesarapong 15-11
Determining The Rating Factor

ระบบการประเมินอัตราการทางานตามวัตถุประสงค์ (Objective Rating)


 เป็ นผลงานของ M. E. Mundel วิธีการคล้ายกับวิธี Effort Rating แต่
แบ่งการประเมิน เป็ น 2 ขั้นตอน คือ
1. การประเมินประสิ ทธิภาพเฉพาะความเร็ วในการทางานของ
พนักงาน โดยเปรี ยบเทียบกับความเร็ วปกติโดยไม่มีการปรับคะแนน
เรี ยกว่า Observed Pace

Industrial Work Study,A.j.Suphattra Katesarapong 15-12


Determining The Rating Factor

ระบบการประเมินอัตราการทางานตามวัตถุประสงค์ (Objective Rating)


2. ทาการปรับประสิ ทธิภาพ โดยการพิจารณาความยากของงาน (Job
Difficulty) ในด้านต่าง ๆ 6 ด้าน
2.1 การใช้ส่วนต่าง ๆ ของร่ างกาย(Amount of Body Used)
2.2 การใช้แป้นเหยียบ (Foot Pedals)
2.3 การใช้มือทั้งสองข้าง (Bimanualess)
2.4 การใช้สายตาสอดคล้องกับการใช้มือ
(Eye – hand Coordination)
2.5 ความจาเป็ นในการขนย้าย (Handling requirements)
2.6 น้ าหนักที่ยก (Weight)

Industrial Work Study,A.j.Suphattra Katesarapong 15-13


Determining The Rating Factor
EX. ในการจับเวลาของงานหนึ่ งแบ่งการปฏิบตั ิงานออกเป็ นงานย่อย 2 งาน ได้
เวลาตัวแทนของงานย่อยทั้งสอง ดังนี้
งานย่อยที่ 1 = 0.15 นาที
งานย่อยที่ 2 = 0.10 นาที
ได้ให้ค่าอัตราเร็ วและค่าปรับความยากต่าง ๆดังตารางดังนี้
Element 1 Element 2
1. Rating (Scale 100-133) 110 80
2. Difficulties
i) D=5 E=8
ii) F=0 F=0
iii) H=0 H2 =18 จงหาเวลาปกติ (Normal
iv) L=7 J=2 Time) ของงานย่อยที่ 1,2
v) N=0 N=0
vi) 0 22 lb = 25
12 53
Industrial Work Study,A.j.Suphattra Katesarapong 15-14
Determining The Rating Factor

คานวณหาเวลาปกติ (Normal Time) ของแต่ละงานย่อย


อัตราเร็ ว :งานย่อยที่ 1 = 0.15  1.10 = 0.165 นาที
งานย่อยที่ 2 = 0.10 0.80 = 0.08 นาที
งานย่อยที่ 2 เป็ นส่ วนที่มีน้ าหนักเกี่ยวข้องอยูด่ ว้ ย ซึ่งคิดเป็ นปริ มาณ
= 33% ของงาน
0.08
= = 32.6
0.245

Industrial Work Study,A.j.Suphattra Katesarapong 15-15


Determining The Rating Factor

เปิ ดตารางจะได้ค่า Basic Value = 23 และค่าเพิ่มเกิน 5% อีก 1.9


รวมกันเป็ นค่าปรับน้ าหนัก = 25
นาค่าประเมินอัตราเร็ วของการทางานแต่ละงานย่อยไปบวกกับ 1 จะได้
งานย่อยที่ 1 = 1 + 0.12 = 1.12
งานย่อยที่ 2 = 1 + 0.53 = 1.53
เวลาปกติของงานย่อยที่ 1 = 0.165  1.12
= 0.185 นาที
เวลาปกติของงานย่อยที่ 2 = 0.08  1.53
= 0.122 นาที

Industrial Work Study,A.j.Suphattra Katesarapong 15-16


Determining The Rating Factor

ตารางค่าปรับ Difficulty Adjustment ของ Mundel

Industrial Work Study,A.j.Suphattra Katesarapong 15-17


Determining The Rating Factor
ตารางแปลงน้ าหนักเป็ นค่าปรับ

Industrial Work Study,A.j.Suphattra Katesarapong 15-18


Determining The Rating Factor

Industrial Work Study,A.j.Suphattra Katesarapong 15-19


Determining The Rating Factor

ระบบการประเมินอัตราการทางานตามสมรรถนะการทางาน
(Physiological Evaluation of Performance Level)
 เป็ นการวัดค่าประสิ ทธิภาพโดยวิธีทางสรี ระ
 เป็ นการวัดอัตราการเต้นของหัวใจ หรื อ ใช้การวัดค่าออกซิเจนที่ใช้
ในการทางาน
 คนเราเมื่อทางานด้วยความเร็ วเพิ่มขึ้น จะทาให้หวั ใจเต้นเร็ วขึ้นและ
บริ โภคออกซิเจนเพื่อใช้ในการสร้างพลังงานมากขึ้น

Industrial Work Study,A.j.Suphattra Katesarapong 15-20


Determining The Rating Factor

ระบบการประเมินอัตราการทางานตามสมรรถนะการทางาน
(Physiological Evaluation of Performance Level)
วิธีน้ ีจะต้องใช้เครื่ องมือและอุปกรณ์วดั พิเศษในการวัด วิธีน้ ีเป็ นที่นิยมใน
การวัดประสิ ทธิภาพการทางานในเชิง Human Factor (หรื อ บางครั้งเรี ยก
Ergonomics)
 การวัดทาได้เพียงวัดชีพจรของคนงานก่อนและหลังการทางานและ
ช่วงเวลาที่คอยให้ชีพจรเต้นช้าลงจนสู่ ระดับปกติ หลังจากหยุดการทางาน
แล้ว แล้วนาไปเปรี ยบเทียบกับมาตรฐานที่มีอยู่

Industrial Work Study,A.j.Suphattra Katesarapong 15-21


Determining The Rating Factor

พัก, หยุด ทางาน ยังไม่ ทางาน

Industrial Work Study,A.j.Suphattra Katesarapong 15-22


Determining The Rating Factor

Performance Rating
 เป็ นวิธีที่นิยมมากที่สุด คือ เป็ นการใช้ความเร็ วในการทางานของ
คนงานเป็ นตัวตัดสิ นโดยอาจคิดเป็ น % เป็ นแต้ม/ชม. หรื อ หน่วยวัดอื่น
ๆ ก็ได้ ส่ วนใหญ่จะอาศัยสเกลการปรับค่าอัตราความเร็ ว (Rating Scale)
ซึ่งมีอยูห่ ลายชนิดด้วยกัน
 Normal pace หมายถึง อัตราความเร็ วปกติของคนงาน ซึ่งเทียบกับ
มาตรฐานที่ได้กาหนดไว้ภายใต้สภาพการทางานที่เหมาะ และปราศจาก
แรงกระตุน้ ของเงินรางวัล หากมีการใช้ระบบการจ่ายเงินจูงใจ (incentive
scheme) แล้ว โดยทัว่ ไประดับการทางานของคนงานเฉลี่ยจะสู งขึ้น
กว่าเดิมประมาณ 25 ถึง 35 % ระดับการทางานเฉลี่ยที่สูงขึ้นนี้เรี ยกว่า
“Average incentive pace” ซึ่งเป็ นระดับที่คนงานทัว่ ไปสามารถจะ
ทางานได้
Industrial Work Study,A.j.Suphattra Katesarapong 15-23
Determining The Rating Factor

Industrial Work Study,A.j.Suphattra Katesarapong 15-24


Determining The Rating Factor

 สมมุติวา่ ระดับปกติของเรากาหนดไว้ที่ 100% ระดับเฉลี่ยเมื่อ


จ่ายเงินจูงใจอยูท่ ี่ 125% เราจะคาดได้วา่ คนงานประมาณ 2 ใน 3 ของ
ทั้งหมด จะมีรายได้อยูร่ ะหว่าง 15% จากค่าเฉลี่ยนี้
 และจะมีเพียง 3 หรื อ 4 % ของคนงานซึ่งจะมีรายได้สูงกว่า 150%
 และอีก 3 หรื อ 4 % ซึ่งตจะอยูต่ ่ากว่า 100%
 และคนงานซึ่งทางานช้าที่สุดจะทาได้ในอัตราเพียงครึ่ งเดียว ของ
คนงานที่ทางานได้เร็ วที่สุด

Industrial Work Study,A.j.Suphattra Katesarapong 15-25


Determining The Rating Factor

Rating Scale ที่นิยมใช้มีอยูด่ ว้ ยกัน 4 แบบ คือ


1. Scale 100 – 133 มีอตั ราปกติอยูท่ ี่ 100 และ Average incentive pace
อยูร่ ะหว่าง 115 – 145 และค่าเฉลี่ยของทั้งกลุ่มอยูท่ ี่ 130 และมีแต้ม
สู งสุ ดอยูท่ ี่ 200
2. Scale 60 – 80 มีอตั ราปกติอยูท่ ี่ 60 และ Average incentive pace
อยูร่ ะหว่าง 70 – 80 มีแต้มสู งสุ ดอยูท่ ี่ 120
3. Scale incentive 125% จะมีลกั ษณะ scale คล้ายคลึงกับแบบที่หนึ่ง
แต่ได้กาหนดค่าเฉลี่ยของการใช้ระบบเงินจูงใจไว้ที่ 125% เป็ น
เกณฑ์ (bench mark) และจะจ่ายเงินรางวัล 25% ของรายได้พ้นื ฐาน
ทันทีที่คนงานทางานได้ระดับนี้
4. Scale 0 – 100 มี Average incentive pace อยูท่ ี่ 100% เป็ นเกณฑ์
ดังนั้นอัตราปกติจะอยูท่ ี่ประมาณค่า 75 – 80%
Industrial Work Study,A.j.Suphattra Katesarapong 15-26
Determining The Rating Factor

Industrial Work Study,A.j.Suphattra Katesarapong 15-27


Determining The Rating Factor

Industrial Work Study,A.j.Suphattra Katesarapong 15-28


Determining The Rating Factor

4. การใช้ ค่าปรับอัตราเร็ว
 ค่า Rating Factor คือ ค่าปรับอัตราความเร็ วซึ่งจะนาไปคูณกับค่าเวลา
ตัวแทนเพื่อหาค่าเวลาปกติ หรื อเวลาพื้นฐานต่อไป

EX จากการศึกษาโดยใช้นาฬิกาจับเวลาได้ค่าเวลาตัวแทน = 0.80 นาที ถ้า


จากการสังเกตให้ค่าอัตราเร็ วกับคนงานโดยใช้สเกล 100 – 133% = 110%
เวลาปกติ = 0.80  (110/100) = 0.88 นาที

EX จากการศึกษาเวลาได้เวลาตัวแทน = 1.20 นาที ถ้าให้อตั ราความเร็ ว =


75 แต้ม บนสเกล 60 – 80
เวลาปกติ = 1.20  (75/60) = 1.50 นาที

Industrial Work Study,A.j.Suphattra Katesarapong 15-29


Determining The Rating Factor

Quiz
1. พนักงาน 3 คน ใช้เวลาในการประกอบชิ้นงานหนึ่งชิ้นในเวลา 5 นาที
ถ้าใช้การประเมินค่าอัตราความสามารถของการทางานแบบ
Westinghouse System ได้ค่าองค์ประกอบทั้ง 4 ดังนี้
 Skill B1
 Effort C1
 Condition C
 Consistency A
จงประเมินค่าอัตราเร็ วของการทางานตามวิธีของWestinghouse
System

Industrial Work Study,A.j.Suphattra Katesarapong 15-30

You might also like