You are on page 1of 70

มาตรวิทยาและการจัดการเครื่องมือวัด

โดย
ดร.ชัยวัฒน์ เจษฎาจินต์
• 1.ความรู้เบือ้ งต้ นทางมาตรวิทยา
1.1 หน่วยเอสไอและการนาไปใช้
1.2 ความสามารถสอบกลับได้
1.3 มาตรฐานระบบคุณภาพที่เกี่ยวข้ องกับมาตรวิทยา
2.การจัดการและการสอบเทียบเครื่องมือวัด
2.1 นิยามและความหมายทีเ่ กี่ยวข้ องกับการสอบเทียบ
2.2 องค์ประกอบของการสอบเทียบ
2.3 ความคลาดเคลือ่ นและค่าแก้ (Error and Correction)
2.4 การจัดการเครื่องมือวัด
ความรู้ เบือ้ งต้ นทางมาตรวิทยา
นิยาม
• มาตรวิทยา : กิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ท่ เี กี่ยวข้ องกับการสอบเทียบ
ปรับตัง้ ความถูกต้ องของเครื่องมือและอุปกรณ์ ท่ ใี ช้ ในการวัดปริมาณหรือ
วิเคราะห์ ทดสอบ
พ.ร.บ. พัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่ งชาติ พ.ศ.2540
• Metrology : science of measurement and its
application
มาตรวิทยา : วิทยาศาสตร์ ของการวัดและการประยุกต์ ใช้
International vocabulary of metrology — Basic and
general concepts and associated terms (VIM)
ประเภทของมาตรวิทยา
• มาตรวิทยาเชิงวิทยาศาสตร์ :
นิยามหน่ วยวัด การทาให้ หน่ วยวัดเป็ นจริงโดยวิธีทางวิทยาศาสตร์ การ
สร้ างห่ วงโซ่ ของการสอบกลับได้
• มาตรวิทยาเชิงกฎหมาย :
การวัดที่เกี่ยวข้ องกับกฎหมายควบคุม ผู้ซอื ้ และผู้ขายยอมรับร่ วมกัน
เกิดความเป็ นธรรมทางด้ านเศรษฐกิจ เช่ น พ.ร.บ. ชั่ง ตวง วัด
• มาตรวิทยาเชิงอุตสาหกรรม :
การทาให้ เกิดความมั่นใจในการวัด เครื่องมือวัดที่ใช้ ในกระบวนการผลิต
และทดสอบ การรองรับตามข้ อกาหนดคุณภาพ
1.1 หน่ วยเอสไอและการนาไปใช้
• SI Unit (International System of Units; Système
international d'unités: SI)
• การก่อตังสนธิ
้ สญ ั ญาเมตริ ก ปี ค.ศ.1875
- สานักงานชัง่ ตวง วัดระหว่างประเทศ (BIPM: International
Bureau of Weights and Measures; Bureau
International des Poids et Mesures) กาหนดหน่วยวัดสากล
- จัดตังคณะกรรมการมาตรวิ
้ ทยาสากล (CIPM: International
Committee for Weights and Measures; Comité
International des Poids et Mesures)
- กาหนดการประชุมนานาชาติด้านมาตรวิทยาทุกๆ 4 ปี (CGPM:
General Conference on Weights and Measures;
Conférence Générale des Poids et Mesures)
หน่ วยฐานเอสไอ (SI base units)
คานาหน้ าหน่ วย(prefixes)
หน่ วยอนุพนั ธ์ (derived units)
Ex. Express in term of SI base units
• Force : F = m•g N = kg•m/s2
• Pressure : P = F/A Pa = N/m2 = (kg•m/s2)/m2 = kg/(m•s2)
• Energy : W = F•l J = N•m = (kg•m/s2)•m = kg•m2/s2
• Power : P = W/t W = J/s = N•m/s = [(kg•m/s2)•m]/s
= kg•m2/s3
• Electric potential : E = P/I V = W/A = (J/s)/A = (N•m/s)/A
= {[(kg•m/s2)•m]/s}/A
= kg•m2/(A•s3)
การใช้ หน่ วย SI
• สัญลักษณ์ หน่ วยเป็ นตัวพิมพ์ เล็กตรง เช่ น m, s, kg
ยกเว้ นมาจากชื่อคนเป็ นตัวพิมพ์ ใหญ่ ตรง N, A, J, H, K เป็ นต้ น
• สัญลักษณ์ หน่ วยเป็ นเอกพจน์ เสมอ
Ex. 100 V 100 Vs 200 K 200 Ks
• สัญลักษณ์หน่วยไม่ใช่ตวั ย่อ ไม่ต้องมีเครื่องหมาย .
Ex. 50 kg 50 kg. 10 mol 10 mol.
• สัญลักษณ์หน่วยที่มาจากการคูณจะเชื่อมด้ วย (•) หรื อ เว้ นวรรค
Ex. N•m หรื อ N m N.m
• ไม่ ควรนาสัญลักษณ์ และชื่อหน่ วยมาเขียนรวมกัน
Ex. W = V•A P = V•A J = N•m J = F•m
• ไม่ ควรใช่ คาย่ อแทนสัญลักษณ์ หน่ วย
Ex. 10 s 10 sec. 1 A 10 Amp.
• การเขียนคานาหน้ าหน่ วยไม่ ต้องมีช่องว่ าง
Ex. mK, kV m K, k V
• ไม่ เขียนคานาหน้ าหน่ วยโดยลาพัง
Ex. m อาจเป็ น มิลลิ หรือ เมตร T อาจเป็ น เทระ หรือ เทสลา
• ไม่ เขียนคานาหน้ าหน่ วยรวมกัน
Ex. 0.001 cm 1 mcm
1.2 ความสามารถสอบกลับได้ (Traceability)
นิยาม
คุณสมบัติของผลการวัด หรื อค่าของมาตรฐานที่สามารถเชื่อมโยงไปถึงระดับการ
อ้างอิงของมาตรฐานแห่งชาติหรื อมาตรฐานสากล โดยไม่มีการขาดช่วงของการ
เปรี ยบเทียบทั้งหมดและมีการระบุความไม่แน่นอนไว้ดว้ ย

“the property of the result of a measurement or the


value of a standard whereby it can be related to stated
references, usually national or international standards,
through an unbroken chain of comparisons all having
stated uncertainties.”
According to the Vocabulary in Metrology (VIM)
แผนภูมกิ ารสอบกลับได้

International Comparison
การยอมรับการวัดระดับนานาชาติ Quality System

National Standard
Primary สถาบันมาตรวิทยาแห่ งชาติ Reference Standard
Reference Materials

Secondary ห้ องปฏิบัตกิ ารสอบเทียบ / Reference Standard


ห้ องปฏิบัตกิ ารอ้ างอิงวิเคราะห์ ทางเคมี Working Standard

Working ผู้ประกอบการทีใ่ ช้ เครื่องมือวัด Instruments

ผลิตภัณฑ์
ตัวอย่างการสอบกลับได้
Traceability Chart of Resistance

NIMT Reference Quantum Hall Resistance Standard


Standard
(National Standard)
Group of DC
Resistance Standards

1st-level Working
Standard
Standard Resistor

2nd-level Standard Resistor


Working
Standard

General Measuring
Equipment
Standard Shunt Digital Multimeter Decade Resistor

Electrical Metrology Department 20


Standard
Resistors
การเชื่อมโยงความถูกต้อง
องค์ประกอบของการสอบกลับได้
• ความสามารถสอบเทียบอย่างต่อเนื่องเป็ นลูกโซ่ จากผู้ใช้ งานเครื่ องมือวัดกลับไปยัง
มาตรฐานที่ผ้ เู กี่ยวข้ องยอมรับ
• มีความไม่แน่นอนของการวัด ความไม่แน่นอนของการวัดในแต่ละขันตอนของ ้
ความสามารถสอบกลับได้ จะต้ องคานวณตามวิธีที่กาหนดและรายงานค่า เพื่อให้
สามารถคานวณความไม่แน่นอนรวมของทุกขันตอนได้ ้
• จัดทาเป็ นเอกสาร การสอบเทียบจะต้ องทาตามวิธีดาเนินการทีเ่ ป็ นเอกสารและเป็ น
ที่ยอมรับโดยทัว่ ไป รวมถึงผลของการสอบเทียบก็ต้องทาเป็ นเอกสารเช่นกัน
• ห้ องปฏิบตั ิการหรื อองค์กรที่ทาการสอบเทียบจะต้ องแสดงให้ เห็นถึงความสามารถ
ทางเทคนิค (ISO/IEC 17025)
• อ้ างถึงหน่วยวัด SI ในห่วงโซ่ของการสอบเทียบ
1.3 มาตรฐานระบบคุณภาพที่เกีย่ วข้ องกับมาตรวิทยา
• International Accreditation Forum : IAF
“One Standard, One Test, One Certificate, Accepted
everywhere.”

มอก.17025 GMP
ISO/IEC 17025 HACCP&ISO 22000
ISO9000 ISO 15189
มาตรวิทยา
ISO14000
ISO 13485
มอก.18000 ISO 14971
OHSAS 18000
การจัดการและการสอบเทียบเครื่องมือวัด
2.1 นิยามและความหมายทีเ่ กีย่ วข้ องกับการสอบเทียบ
Calibration Verification
Accuracy Uncertainty
Resolution Specification
Range Nominal Value
Measured Value
Calibration การสอบเทียบ
Verification การทวนสอบ
Accuracy & Uncertainty

Accuracy + 0.5 % of Full Scale (F.S 100 Psi)


Accuracy + 0.5 Psi
Uncertainty + 0.5 Psi

+ 0.5 Psi
Range 100 V
Accuracy + 0.5 % of Reading
Uncertainty + 0.01 V
ถ้านาไปวัดค่าที่ 10 V

100 V

+ 0.05 V + 0.01 V
Specification, Resolution, Nominal Value and Range
นาไปวัดค่าแรงดันไฟฟ้ ากระแสตรง 300 V ค่าที่แสดงผล 300.45 V
- Range 500 V มีความละเอียด Resolution 0.01 V
- มีความถูกต้อง + 0.03 % of reading + 2 counts
[(0.03/100)x300.45]+ 0.02 = + 0.110135 V

Accuracy
Measured 300.45 V + 0.110135 V
Value 300 V 500 V

Resolution
Nominal Value Range
1 kg
60 kg Resolution
20 V
1 Psi Range/
Full Scale 1000 V

100 Psi
2.2 องค์ ประกอบของการสอบเทียบ

บุคลากร สภาวะแวดล้อม – มีการควบคุม อุณหภูมิ ความชื้น


เครื่ องมือ
-มีความรู ้ ความดัน แสง การสั่นสะเทือน
-มีความสามารถ ถูกต้อง เหมาะสม
-ผ่านการฝึ กอบรม
-มีการสอบเทียบ ทวนสอบ
-มีการทดสอบ เครื่ องมือวัด -ตรวจสอบเป็ นประจา
-มอบหมาย
-มีบนั ทึกการใช้
-ตรวจสอบ
การควบคุมคุณภาพ -มีแผนบารุ งรักษา
วิธีการ
-บันทึกการใช้เตรื่ องมือ -มีทารมอบหมายผูร้ ับผิดชอบ
-เป็ นมาตรฐานและยอมรับ
-ทวนสอบเครื่ องมือ -สอบกลับได้ และมีระบุความไม่แน่ นอน
-ตรวจสอบได้
-ทดสอบความชานาญ
-มีความเหมาะสมกับความสามารถ
-ตรวจติดตามภายใน
-เหมาะสมกับเครื่ องวัด
-สอบกลับได้ของข้อมูล
2.3 ความคลาดเคลือ่ นและค่ าแก้ Error and Correction

Error = Measured Value – True Value


Correction = True Value – Measured Value

Standard Measured Error Correction


Value Value Value Value
(oC) (oC) (oC) (oC)

0.0014 0 -0.0014 0.0014

19.9985 20 0.0015 -0.0015


ทองคา 1 บาท 15.16 กรัม
1 กรัม 1320 บาท
( 1บาท ~ 20000 บาท)

ผูซ้ ้ือที่ไปซื้อ
เครื่ องชัง่ Standard Measured Error Correction ทอง
Value Value Value Value
(g) (g) (g) (g)
15.161 0.001 -0.001 1.32
A 15.160 15.210 0.050 -0.050 66 ขาดทุน
15.260 0.100 -0.100 132
15.159 -0.001 0.001 1.32
B 15.160 15.110 -0.050 0.050 66 กาไร
15.060 -0.100 0.100
132
เครื่ องวัดฉนวน

Standard Measured Error Correction


Value Value Value Value ฉนวน 100 MW
(MW) (MW) (MW) (MW)

A 99.85
100 100.15 0.15 -0.15

B 100.08
100 99.92 -0.08 0.08
สาเหตุความคลาดเคลือ่ น
2.4 การจัดการเครื่องมือวัด

จัดทาแผนสอบเทียบ/ทะเบียนประวัติ

การกาหนดจุดสอบเทียบ
เครื่ องมือวัด
การกาหนดระยะเวลาการสอบเทียบ
การตั้งเกณฑ์การยอมรับ
การทวนสอบ ใบรับรองผลและการ
ประเมินผล
• จัดทาแผนสอบเทียบและประวัติเครื่ องมือ
-สารวจเครื่ องมือทั้งหมด เพื่อทาประวัติ
-ประเมินเครื่ องมือ เพื่อทาแผนสอบเทียบ
-จัดทาแผนสอบเทียบและสอบเทียบตามแผน
-บันทึกผลการสอบเทียบและประเมินผลการสอบเทียบ
-วิเคราะห์เครื่ องมือ ใช้งาน/ปรับแก้/ซ่อมแซม/ลดเกรด/เลิกใช้/
จัดหาใหม่
• ประวัติเครื่ องมือ
-Equipment Name, Manufacturer,
Model, Serial No. and ID No.
-Resolution, Range and Capacity
-Calibration point
-Tolerance Limit
-Calibration Interval
-Calibration Date
-Other
• การกาหนดจุดสอบเทียบ

-สอบเทียบที่จุดใช้งาน
-สอบเทียบให้คลุมช่วงการใช้งาน
-สอบเทียบตามผูผ้ ลิต
-สอบเทียบตามมาตรฐานที่กาหนด
• การกาหนดระยะเวลาสอบเทียบ

-โดยทัว่ ไปกาหนด 1 ปี
-กาหนดตามมาตรฐานที่กาหนดไว้
-เครื่ องมือที่มีความสาคัญ อาจกาหนดให้ระยะเวลาสั้นลง
• การตั้งเกณฑ์การยอมรับ ( Tolerance)

-ตามมาตรฐานที่กาหนด
-ตามวิธีการที่ไม่ใช่มาตรฐาน แต่มีการยอมรับ
-ตามเกณฑ์ที่ลูกค้าเป็ นผูก้ าหนด
• การทวนสอบ ใบรับรองผลและการประเมินผล
ใบรับรองผลประกอบด้วย
ตัวอย่างใบรับรองผล
• ตัวอย่าง Digital Thermometer

• หากนา Digital Thermometer ไปวัดค่าและหน้ าจอแสดงผล 1 ̐C


• ผลการวัด = Reading – Error + Uncertainty
= 1 –(-0.26) + 0.28 ̐C = 1.26 + 0.28 ̐C
= 0.98 to 1.53 ̐C
• ตัวอย่าง Digital Caliper

• หากนา Digital Caliper ไปวัดค่าและหน้ าจอแสดงผล 18 mm


• ผลการวัด = Reading + Correction + Uncertainty
= 18 +(0.02) + 0.0144 mm =18.02 + 0.014 mm
= 18.01 to 18.03 mm
การทวนสอบ

การพิจารณาโดยทัว่ ไปจะแบ่งเป็ น 3 กรณี


กรณี 1 Uncertainty > Tolerance
กรณี 2 Uncertainty + Correction < Tolerance
กรณี 3 Uncertainty + Correction > Tolerance
• กรณี 1 Uncertainty > Tolerance
Standard Reading Correction Uncertainty Tolerance
Value ( oC) Value ( oC) Value ( oC) ( oC) ( oC)

50 49.50 0.50 +0.30 +0.25

ไม่ผา่ น

+0.25
ปรับแก้/ซ่อมแซม/ลดเกรด/เลิกใช้/จัดหาใหม่
• กรณี 2 Uncertainty + Correction < Tolerance
Standard Reading Correction Uncertainty Tolerance
Value ( oC) Value ( oC) Value ( oC) ( oC) ( oC)

50 49.95 0.05 +0.30 +0.50

Uncertainty + Correction = 0.35

+0.50
ผ่าน

ใช้งานตามปกติ
• กรณี 3 Uncertainty + Correction > Tolerance

Standard Reading Correction Uncertainty Tolerance


Value ( oC) Value ( oC) Value ( oC) ( oC) ( oC)

50 49.75 0.25 +0.30 +0.50

Uncertainty + Correction = 0.55

+0.50 ผ่าน

ใช้งานได้ แต่ตอ้ งรวมค่าแก้


• ขัน้ ตอนการจัดการเครื่องมือวัด

-ทาทะเบียนประวัติ
เครื่ องวัด -แผนการสอบเทียบ
-กาหนดจุดสอบเทียบ
-กาหนดเกณฑ์การยอมรับ

-ส่งสอบเทียบตามแผน

-ใบรับรองการสอบเทียบ
-ทวนสอบเครื่ องวัด

ใช้งานตามปกติ/รวมค่าแก้ ปรับแก้/ซ่อมแซม/ลดเกรด/เลิกใช้/จัดหาใหม่
• ตัวอย่ าง Micrometer
Micrometer Range 0-25 mm มีค่าแก้ = 0 mm
ที่ 25 mm มีค่าความไม่แน่นอน + 0.000 9 mm
มีค่าความถูกต้อง 24.999 1 mm to 25.000 9 mm
ผลิตภัณฑ์ที่ตอ้ งการวัดมีขนาด 25 mm ต้องการความถูกต้อง 0.005 mm

Uncertainty + Correction = 0.0009+0 = 0.0009 mm


Tolerance = 0.005 mm
0.0009 mm < 0.005 mm ผ่าน
• ตัวอย่ าง Voltmeter
ถ้านา Voltmeter ไปวัดค่า 2.7 V
ค่าที่แสดงคือ 2.704 V ( 2.703 V to 2.705 V )
Error = 0.004 V, Correction = -0.004 V
ความไม่แน่นอน 0.001 V
Uncertainty + Correction = 0.005 V
Tolerance = 0.011 V
0.005 V < 0.011 V ผ่าน
• ตัวอย่ าง pH Meter
%Slope Electrode = (Slope Electrode/Slope Ideal Electrode)x100

Slope Electrode = DmV/DpH = -59.2


Slope Ideal Electrode = -59.16 mV/pH @ 25 ºC

% Slope Electrode = (-59.2/-59.16)*100 = 100.068 % ผ่าน

% Slope Electrode
95-102 % ดีมากใช้งานได้ดี
90-95 % ดีสาหรับเบส พอใช้สาหรับกรด
85-90 % พอใช้
< 85 % ไม่ดี
• ตัวอย่ าง Liquid in Glass Thermometer
เครื่ องวัดถูกนาไปใช้งานที่เกณฑ์ยอมรับ +0.1 ºC ถ้านาไปใช้ที่ 100 ºC
Uncertainty + Correction = 0.02 +0.2 = 0.22 ºC
Tolerance 0.1 ºC
0.22 ºC > 0.1 ºC ผ่าน แต่ตอ้ งมีค่าแก้
• ตัวอย่ าง Pressure Gauge
เกณฑ์การยอมรับ 0.1 bar ที่ 0-60 bar
At 60 bar
Uncertainty = 0.18 bar
Uncertainty > Tolerance
0.18 bar > 0.1 bar ไม่ผา่ น
Thank You

You might also like