You are on page 1of 2

16 TPA news

Calibration
Calibration

การเปรียบเทียบผลการวัดระหว่างห้องปฏิบัติการ
(Inter-Laboratory Comparisan)
ฝ่ายมาตรวิทยาเสียงและการสั่นสะเทือน
สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ

การ เปรียบเทียบผลการวัดระหว่างห้องปฏิบตั กิ ารเป็นการ


ประเมินและทดสอบความสามารถในการวัดเพื่อ
แสดงขีดความสามารถทางเทคนิคของห้องปฏิบัติการที่เข้าร่วม
● ความหมายของการเปรียบเทียบผลการวัด
ระหว่างห้องปฏิบัติการ
การเปรียบเทียบผลการวัดระหว่างห้องปฏิบัติการ กล่าว
โครงการ การประเมินความสามารถด้วยการจัดให้มีการท�ำการวัด ตามนิยาม ISO/IEC17043:2010 คือ การประเมินความสามารถ
มาตรฐานการวัดเดียวกัน ณ จุดที่ท�ำการวัดเดียวกันโดยห้องปฏิบัติ และประเมินผลการทดสอบ หรือการวัดของห้องปฏิบัติการสองห้อง
การตั้งแต่สองห้องปฏิบัติการขึ้นไป ภายใต้สภาวะการที่ก�ำหนดไว้ ปฏิบัติการ หรือมากกว่านั้นในการวัดตัวอย่างเดียวกัน หรือรายการ
ล่วงหน้า ที่คล้ายคลึงกัน ตามสภาวะที่ได้กำ�หนดไว้แล้ว [1] จะเห็นได้ว่าการ
การเปรียบเทียบผลการวัดระหว่างห้องปฏิบตั กิ ารยังสามารถ เปรียบเทียบผลการวัดระหว่างห้องปฏิบัติการต่างกับการสอบเทียบ
บอกถึงปัญหาภายในห้องปฏิบัติการ อาทิ ระบบการวัดและนำ�ไป ตรงที่การสอบเทียบเป็นการวัดเพื่อเปรียบเทียบระหว่างเครื่องมือวัด
สู่การแก้ไขเท่าที่จำ�เป็น เพื่อพัฒนาคุณภาพของการวัดอันจะเสริม กับมาตรฐานการวัดด้วยความถูกต้องที่สูงขึ้น
สร้างความมัน่ ใจทัง้ ของผูป้ ฏิบตั งิ านเองและของลูกค้าทีม่ าใช้บริการ การเปรี ย บเที ย บผลการวั ด ระหว่ า งห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารมี จุ ด
ในการวัดสาขานั้นๆ ประสงค์หลักอยู่ 7 ประการ คือ
บทความนี้มีเจตนาที่จะมุ่งสร้างความเข้าใจเบื้องต้นเรื่อง (1) เพื่อประเมินความสามารถของห้องปฏิบัติการ
การเปรียบเทียบผลการวัดระหว่างห้องปฏิบตั กิ าร ขัน้ ตอนการเปรียบ (2) เพื่อบ่งชี้ถึงปัญหาที่อาจมีของห้องปฏิบัติการที่เข้าร่วม
เทียบผลการวัดและวิธีการประเมินผลการวัดด้วยการคำ�นวณค่า (3) เพื่ อ ดำ�เนิ น การแก้ ไ ขหากเกิ ด ความผิ ด พลาดในการ
สัดส่วน En (En Ratio) ประเมินผลการวัดและประเมินค่าความไม่แน่นอนในการวัด
(4) เพื่อสร้างความมั่นใจในกระบวนการและเทคนิคการวัด
● สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติกับการเปรียบ ของพนักงานห้องปฏิบัติการ
เทียบผลการวัดระหว่างห้องปฏิบัติการ (5) เพือ่ แสดงความสมเหตุของการประเมินความไม่แน่นอน
สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติในประเทศต่างๆ ทัว่ โลก มีหน้าที่ ของผลการวัดที่ได้จากแต่ละห้องปฏิบัติการ
พัฒนา ทะนุบำ�รุงและถ่ายทอดค่าและความถูกต้องของหน่วยวัดพืน้ (6) เพือ่ แสดงถึงคุณสักษณะของตัวมาตรฐานของห้องปฏิบตั ิ
ฐาน มาตรฐานการวัดแห่งชาติด้านต่างๆ รวมทั้งสำ�หรับปริมาณทาง การนั้นๆ
กายภาพและปริมาณทางเคมี [2] (7) เพื่อแสดงการเปรียบเทียบกันได้ของผลการวัดระหว่าง
สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติให้ความสำ�คัญกับทุกบทบาท ห้องปฏิบัติการ
และพยายามมีส่วนร่วมในการผลักดันโครงสร้างมาตรวิทยาของ
ประเทศให้มีความแข็งแกร่ง ดังนั้น กิจกรรมหลักประการหนึ่งที่ ● ขั้นตอนการเปรียบเทียบผลการวัดระหว่าง
สถาบันมาตรวิทยาทั้งหลายต้องดำ�เนินการ คือ การเปรียบเทียบผล ห้องปฏิบัติการ
การวัดระหว่างห้องปฏิบัติการ [2] องค์ประกอบของการเปรียบเทียบผลการวัด ได้แก่ ห้อง
โดยทั่วไปแล้วการเปรียบเทียบผลการวัดระหว่างห้องปฏิบัติ ปฏิบัติการที่แจ้งความจ�ำนงเข้าร่วมเปรียบเทียบผลการวัดและ
การในทุกสาขาของการวัด ไม่ว่าจะเป็นการวัดทางไฟฟ้า อุณหภูมิ มาตรฐานจร (Travelling Standard) หนึง่ ในห้องปฏิบตั กิ ารทีเ่ ข้าร่วม
มิติ เชิงกล เสียง และการสั่นสะเทือน แสง เคมีและชีวภาพ ในส่วน จะท�ำหน้าที่เป็นผู้ด�ำเนินการเปรียบเทียบผลการวัด (Pilot Labora-
ของการเปรียบเทียบผลการวัดของแต่ละด้านยังได้แบ่งแยกย่อยลง tory) โดยจะออกแบบระเบียบปฏิบัติ (Protocal) ส�ำหรับการเปรียบ-
ไปอีกตามปริมาณการวัด ยกตัวอย่างเช่น การเปรียบเทียบผลของ เทียบผลการวัดเป็นที่ยอมรับร่วมกันระหว่างห้องปฏิบัติการและจัด
การวัด มาตรฐานความต้านทานกระแสตรง มาตรฐานความถี่ของ ล�ำดับการวัดในแต่ละวงรอบของการวัด (Measurement Loop) โดย
นาฬิกาอะตอมรูบิเดียมที่ความถี่ 5 เมกะเฮิรตซ์และมาตรฐานแรง ค่าอ้างอิงนี้อาจได้มาจากค่าเฉลี่ยของผลการวัดของห้องปฏิบัติการ
ดันไฟฟ้ากระแสตรงที่แรงดัน 10 โวลต์ อ้างอิง (Reference Laboratory) หรือค่าเฉลีย่ รวมของผลการวัดของ

No. 183 March 2012



TPA news 17
Calibration

ทุกๆ ห้องปฏิบัติการ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะสมบัติของมาตรฐานจร


และโดยการตกลงกันของห้องปฏิบัติการที่เข้าร่วมการเปรียบเทียบ
ผลการวัดครั้งนั้น โดยห้องปฏิบัติการที่เป็นผู้ให้ค่าอ้างอิงจะเป็นห้อง
ปฏิบัติการแรกที่เริ่มวัดในแต่ละวงรอบของการวัด
ในกรณีที่มีผู้เข้าร่วมเปรียบเทียบผลการวัดจำ�นวนมากมี
ความจำ�เป็นที่จะต้องจัดวงรอบของการวัดเพื่อให้มาตรฐานจรถูกส่ง
กลับมายังห้องปฏิบัติการอ้างอิงเพื่อวัดค่า ซึ่งผลการวัดเหล่านี้จะ
เป็นสิ่งยืนยันเสถียรภาพและการเปลี่ยนค่าของมาตรฐานจรว่ายังมี
ความเหมาะสมในการเป็นมาตรฐานของการเปรียบเทียบอยู่หรือไม่
รูปที่ 2 ตัวอย่างสติกเกอร์ทใี่ ช้ในการตรวจติดตามการแระแทกของมาตรฐานจร
ตัวอย่างเช่น มีหอ้ งปฏิบตั กิ ารทีเ่ ข้าร่วมเปรียบเทียบผลการวัดทัง้ หมด
10 ห้องปฏิบัติการ อาจแบ่งวงรอบของการวัดออกเป็น 3 วงรอบ โดย
● การประเมินผลจากการเปรียบเทียบผลการ
วงรอบของการวัดรอบที่ 1 และ 2 ประกอบด้วยห้องปฏิบตั กิ าร จำ�นวน
วัดระหว่างห้องปฏิบัติการ
3 ห้องปฏิบัติการ วงรอบของการวัดวงรอบสุดท้ายประกอบด้วยห้อง
การประเมินผลการวัดใช้แบบจำ�ลองทางสถิติตามแนวทาง
ปฏิบัติการจำ�นวน 4 ห้องปฏิบัติการ ดังตัวอย่างวงรอบในรูปที่ 1
ของคณะกรรมการทางวิชาการระหว่างประเทศฝ่ายเทคนิคไฟฟ้า

(International Electrotechnical Commission: IEC) และองค์กร
ระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (International Organization
for Standardization: ISO) วิธกี ารประเมินผลวิธหี นึง่ ทีใ่ ช้กนั ทัว่ ไปคือ
การคำ�นวณค่าสัดส่วน En ดังแสดงไว้ในสมการด้านล่าง [1]

โดยที่
Xlab คือ ผลการวัดของห้องปฏิบัติการที่เข้าร่วมเปรียบเทียบ
รูปที่ 1 แสดงวงรอบการส่งมาตรฐานจรใน 3 วงรอบของการวัดส�ำหรับ ผลการวัด
ห้องปฏิบัติการ จ�ำนวน 10 ห้องปฏิบัติการ Ulab คือ ค่าความไม่แน่นอนของผลการวัดของห้องปฏิบต ั กิ าร
ที่เข้าร่วมเปรียบเทียบผลการวัด
การรับส่งมาตรฐานระหว่างห้องปฏิบัติการจะจัดให้มีการส่ง Xref คือ ค่าอ้างอิงของการเปรียบเทียบผลการวัด
เอกสารยืนยันว่ามาตรฐานนั้นมีสภาพทางกายภาพที่ใช้งานได้ ไม่มี Uref คือ ค่าความไม่แน่นอนของ Xref
การแตกหัก โดยเอกสารดังกล่าวจะรวมอยู่ในระเบียบปฏิบัติของ ค่าสัดส่วน En ทีไ่ ด้จากการวิเคราะห์ของแต่ละห้องปฏิบตั กิ าร
การเปรียบเทียบผลการวัด หรืออาจจะมีการติดสติกเกอร์เพื่อตรวจ จะมีความหมายดังต่อไปนี้
ติดตามการกระแทกของมาตรฐานจร ดังตัวอย่างที่แสดงในรูปที่ 2 เมือ่ ขนาดของสัดส่วน En มีคา่ น้อย หรือเท่ากับ 1 หมายความ
เมื่อห้องปฏิบัติการทำ�การวัดจนครบทุกห้องปฏิบัติการและ ว่า ผลการวัดนั้นสอดคล้องกับค่าอ้างอิง แต่ถ้าขนาดสัดส่วน En
รายงานผลการวัดมายังห้องปฏิบตั กิ ารทีเ่ ป็นผูด้ ำ�เนินการเปรียบเทียบ มากกว่า 1 แสดงว่าผลการวัดนั้นไม่สอดคล้องกับค่าอ้างอิง
ผลการวัด ผูด้ ำ�เนินการรวบรวมผลการวัด วิธกี ารวัดและการประเมิน ผลสำ�เร็จของการเปรียบเทียบ ผลการวัดระหว่างห้องปฏิบัติ
ค่าความไม่แน่นอน แล้วผูด้ ำ�เนินการจะประมวลผลการเปรียบเทียบ การไม่ได้เป็นเพียงแค่การตัดสินจากค่าสัดส่วน En เท่านั้น แต่คือ
ผลการวัดระหว่างห้องปฏิบัติการ วิธีการที่ใช้ในการเปรียบเทียบ การบรรลุวัตถุประสงค์ของการเปรียบเทียบผลการวัดที่ได้กล่าวไว้
ผลการวัดและการประเมินค่าความไม่แน่นอนในการวัดด้วย การ ก่อนหน้านี้ TPA news

รายงานผลการดำ�เนินการดังกล่าว จัดทำ�ในรูปแบบของรายงานที่
เป็นลายลักษณ์อักษรและการรายงานในรูปแบบของการนำ�เสนอ ที่มา: จากวารสาร Metrology Info Vol.12, No.58 สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ
และอภิปรายกลุ่ม

March 2012 No. 183●

You might also like