You are on page 1of 22

การวิเคราะห์ระบบการวัดจากข้อมูลในงานมาตรวิทยาด้านมิติ

คณะกรรมการตัดสิน

1 นายกวี บุญสุวรรณ ผูจ้ ดั การทั่วไป


2. นายวิรตั น์ อิง้ ประเสริฐภากร ผูช้ ่วยผูจ้ ดั การฝ่ ายขาย
3. นางสาว ยุพิน สุภาโชค วิศวกรฝ่ ายวิศวกรรมมาตรวิทยา
4. นางสาวชุลีพร ราชสมณะ วิศกรฝ่ ายวิศวกรรมมาตรวิทยา
บริษัท มิตโู ตโย (ประเทศไทย) จากัด

การวิเคราะห์ระบบการวัดจากข้อมูลในงานมาตรวิทยาด้านมิติ
กติกาการแข่งขัน
1. นักศึกษาแสดงบัตรประจาตัวนักศึกษาให้กรรมการแข่งขันก่อนเข้าห้องสอบ
2. นักศึกษารายงานตัวก่อนเริม่ เวลาแข่งขันอย่างน้อย 15 นาที
3. ในกรณีท่ีมีเหตุสดุ วิสยั จากการเดินทางเพื่อเข้าร่วมการแข่งขันทีมแข่งขันจะไม่สามารถเข้าแข่งขันได้เมื่อเวลาผ่านไปแล้ว 30 นาที (ทัง้ นี ้
ขึน้ อยู่กบั ดุลพินิจของคณะกรรมการว่าจะอนุญาตให้เข้าร่วมแข่งขันได้หรือไม่)
4. ให้กรรมการดาเนินการจับสลากเลือกสถานีก่อนที่การแข่งขันจะเริม่ ขึน้
5. ข้อสอบแบ่งออกเป็ นภาคปฏิบตั ิ ภาคคานวณ ภาคนาเสนอข้อมูลและวิเคราะห์โดยจะนาคะแนน ทัง้ 3 ส่วนมารวมกัน
6. ไม่สามารถเปลี่ยนข้อสอบและกระดาษคาตอบได้เมื่อการแข่งขันผ่านไปแล้ว 15 นาที
7. เวลาในการทาข้อสอบภาคปฏิบตั ิกาหนดไว้ 2 ชั่วโมง 30 นาที กาหนดให้วดั ชิน้ งาน 13 ชิน้ (หรือตามจานวนทีมที่สง่ เข้าแข่งขัน) ชิน้ ละ 2
จุดวัด โดยให้ทาการวัดเหมือนกันทัง้ 2 คน แต่ละทีมให้ใช้เวลา 3 นาทีต่อ 1 ชิน้ งาน เมื่อครบเวลา กรรมการจะให้สญ ั ญาณหมดเวลา ผูเ้ ข้า
แข่งขันต้องส่งชิน้ งานให้ทีมต่อไปตามที่กาหนด โดยใช้เวลาส่งงาน 30 วินาที จากนัน้ กรรมการจะให้สญ ั ญาณเริม่ วัดงานพร้อมกัน และวน
ชิน้ งานจนวัดซา้ ครบชิน้ ละ 3 รอบ เมื่อครบเวลาของชิน้ สุดท้าย และกรรมการให้สญ ั ญาณหมดเวลา ผูเ้ ข้าแข่งขันต้องวางเครือ่ งมือและ
ชิน้ งานทัง้ หมดลง

การวิเคราะห์ระบบการวัดจากข้อมูลในงานมาตรวิทยาด้านมิติ
กติกาการแข่งขัน
8. เวลาในการทาข้อสอบภาคคานวณ วิเคราะห์และจัดทาไฟล์นาเสนอกาหนดไว้ 1 ชั่วโมง 30 นาที เมื่อครบเวลากรรมการจะให้สญ ั ญาณ
หมดเวลาผูเ้ ข้าแข่งขันต้องบันทึกไฟล์ขอ้ มูล Excel และ Power point ลงในโฟลเดอร์ช่ือมหาวิทยาลัยของตนเอง ผูเ้ ข้าแข่งขันสามารถส่ง
ข้อสอบได้หลังจากเวลาแข่งขันผ่านไปแล้ว 30 นาที ผูท้ ่ีสง่ ข้อสอบก่อนกรรมการจะลงบันทึกเวลาณขณะนัน้ และกาหนดให้เวลาที่ใช้ในการ
แข่งขันมีผลต่อการจัดเรียงลาดับคะแนน
9. ภาคนาเสนอข้อมูลกาหนดไว้ทีมละ 10 นาที โดยจะเรียกเรียงตามลาดับจากสถานีงานที่จบั สลากได้ เมื่อครบเวลา กรรมการจะให้
สัญญาณหมดเวลา
10. ฝ่ ายจัดการแข่งขัน จะเตรียมคอมพิวเตอร์ชนิดพกพา ที่มีระบบปฏิบตั ิการ Windows 7 ขึน้ ไป และมีโปรแกรมจัดเก็บผลการวัด
MeasurLink, Microsoft Excel และ Microsoft PowerPoint
11. การใส่คาตอบลงในช่องว่างที่กาหนดให้ใน Excel พืน้ สีเหลืองสาหรับข้อมูลผลการวัด และสีเขียวสาหรับข้อมูลผลการคานวณเท่านัน้
และสามารถเพิ่มชีทใน Excel เพื่อคานวณค่าสถิติ หรือค่าอื่นๆ ได้
12. ห้ามนาข้อสอบและห้ามคัดลอกหรือทาสาเนาต่างๆรวมถึงเครื่องมือและอุปกรณ์ใดๆที่กาหนดใช้ในการแข่งขันออกจากห้องสอบ
13. การแข่งขันภาคปฏิบตั ิให้ผเู้ ข้าแข่งขันใช้ถงุ มือที่ฝ่ายจัดการแข่งขันจัดเตรียมให้ หรือให้ใช้ถงุ มือที่เตรียมมาและได้นาแสดงต่อกรรมการผู้
ควบคุมการแข่งขันแล้วในระหว่างการใช้เครือ่ งมืออุปกรณ์และหยิบจับชิน้ งานทุกกรณี

การวิเคราะห์ระบบการวัดจากข้อมูลในงานมาตรวิทยาด้านมิติ
กติกาการแข่งขัน
14. การทาเครือ่ งมืออุปกรณ์และชิน้ งานตกหล่นหรือทาให้เกิดความเสียหายจะถูกพิจารณาตัดคะแนนจากคณะกรรมการควบคุมการแข่งขัน
15. การขออนุญาตออกจากห้องสอบระหว่างการแข่งขันเช่นไปเข้าห้องสุขา สามารถแจ้งกรรมการคุมสอบได้โดยกรรมการจะเป็ นผูพ้ าผูเ้ ข้า
แข่งขันไปและระหว่างนัน้ ห้ามติดต่อพูดคุยกับผูค้ วบคุมทีมหรือบุคคลอื่นๆ
16. ห้ามนาอุปกรณ์ส่อื สารใดๆเข้าห้องแข่งขันอย่างเด็ดขาด หากตรวจพบจะถูกเชิญออกจากสถานที่แข่งขันในทันที
17. ห้ามผูเ้ ข้าแข่งขันกระทาการเป็ นการรบกวนผูเ้ ข้าแข่งขันอื่น และห้ามผูค้ วบคุมทีมตลอดจนผูท้ ่ีไม่มีสว่ นเกี่ยวข้องกับการแข่งขันเข้าไปยัง
สถานที่แข่งขัน เว้นแต่จะได้รบั อนุญาตจากคณะกรรมการควบคุมการแข่งขัน
18. เนื่องจากเป็ นการแข่งขันเป็ นแบบวิเคราะห์ผลช่วงพักกลางวันไม่อนุญาตให้ผเู้ ข้าแข่งขันออกจากห้องแข่งขัน โดยจะเตรียมอาหาร
กลางวันไว้ให้รบั ประทานในห้องสอบ และในช่วงนาเสนอข้อมูลไม่อนุญาตให้ผเู้ ข้าแข่งขันออกจากห้องแข่งขันจนกว่าทีมตนเองจะจบการ
นาเสนอ
19. หากมีขอ้ สงสัยใดๆให้ยกมือถามคณะกรรมการผูค้ วบคุมการสอบก่อนการเริม่ แข่งขันฯ
20. ในกรณีท่ีผเู้ ข้าแข่งขันไม่ได้บนั ทึกไฟล์ขอ้ มูล 2 ไฟล์ตามที่กรรมการกาหนด กรรมการจะให้คะแนนเป็ น 0 (ศูนย์คะแนน)
21. การตัดสินของคณะกรรมการถือเป็ นที่สนิ ้ สุด

การวิเคราะห์ระบบการวัดจากข้อมูลในงานมาตรวิทยาด้านมิติ
อุปกรณ์ และชิน้ งานทีใ่ ช้ในการแข่งขัน
1. คอมพิวเตอร์ชนิดพกพาที่สามารถเชื่อมต่อกับอุปกรณ์เครือ่ งมือวัดแบบดิจิตอลได้
2. โปรแกรม MeasurLink
3. คาลิเปอร์แบบดิจิตอล (Digital Caliper) พร้อมอุปกรณ์การส่งสัญญาณเข้าคอมพิวเตอร์
4. ไมโครมิเตอร์แบบดิจิตอล (Digital Micrometer) พร้อมอุปกรณ์การส่งสัญญาณเข้าคอมพิวเตอร์
5. ขาจับไมโครมิเตอร์
6. ชิน้ งานสาหรับการแข่งขัน
7. โต๊ะงานเครือ่ งมือวัด

การวิเคราะห์ระบบการวัดจากข้อมูลในงานมาตรวิทยาด้านมิติ
ข้อสอบภาคปฏิบัติ (ส่วนที่ 1 : 20 คะแนน)
1. อ่านคาสั่งให้ครบถ้วนใน 2. การส่งข้อมูลการวัด จะต้อง 3. ชิน้ งานมีทงั้ หมด (13) ชิน้ จุด
ชีทหน้าแรก ส่งผ่านเครือ่ งมือวัดพืน้ ฐาน ตรวจสอบชิน้ ละ 2 ตาแหน่ง ผู้
แบบมีสายไปยังคอมพิวเตอร์ แข่งขันจะต้องวัดทีละคนตามลา
4. พิจารณาความถูกต้อง เท่านัน้ ไม่อนุญาตให้ปอ้ น กับเครือ่ งมือ ไม่สามารถสลับ
ของข้อมูล ข้อมูลผลการวัดด้วยแป้นพิมพ์ ลาดับผูว้ ดั หรือเครือ่ งมือได้

1.5 นาที 1.5 นาที 1.5 นาที 1.5 นาที


1.5 นาที 1.5 นาที 1.5 นาที 1.5 นาที
30 วินาที 30 วินาที 30 วินาที

การวิเคราะห์ระบบการวัดจากข้อมูลในงานมาตรวิทยาด้านมิติ
ภาคคานวณวิเคราะห์และจัดทาไฟล์นาเสนอ (ส่วนที่ 2 : 40 คะแนน)
ภาคคานวณวิเคราะห์และจัดทาไฟล์นาเสนอใช้เวลา 1ชั่วโมง 30นาที
ส่วนที่ 2.1 การคานวณค่าทางสถิตใิ นไฟล์ Excel ทีก่ าหนด : 30 คะแนน
1. สามารถหาใช้สมการจาก Microsoft Excel เพื่อคานวณค่าความผันแปรของระบบการวัด สามารถวิเคราะห์ผลลัพธ์จากการคานวณ
พร้อมทัง้ สามารถนาเสนอแนวทางปรับปรุงเพื่อให้ระบบการวัดดีขนึ ้ ได้อย่างเหมาะสม โดยวิเคราะห์ดว้ ยเครือ่ งมือดังต่อไปนี ้
ก. วิเคราะห์ความผันแปรของตาแหน่ง (Location variation) ได้แก่ ความเอนเอียง (Bias)
ข. วิเคราะห์ความผันแปรของความกว้าง (Width variation) ได้แก่ ความสามารถในการวัดซา้ (Repeatability-Equipment Variation; EV),
ความสามารถในการวัดเหมือน (Reproducibility-Appraiser Variation; AV), ความสามารถในการวัดซา้ และความสามารถในการวัด
เหมือน (Repeatability & Reproducibility; GRR), ความผันแปรชิน้ งาน (Part Variation; PV), และความผันแปรรวม (Total Variation; TV)

2. ข้อมูลผลการวัดให้ใส่ในช่องสีเหลือง และผลการคานวณให้ใส่ในช่องสีเขียว สามารถผูกสมการจากช่องนัน้ ๆ หรือเพิ่มชีทเพื่อสร้างสมการ


ได้ แต่ตอ้ งให้ระบุให้ผตู้ รวจข้อสอบทราบว่าผลลัพธ์นนั้ มาจากสมการในช่อง หรือชีทใด

การวิเคราะห์ระบบการวัดจากข้อมูลในงานมาตรวิทยาด้านมิติ
ภาคคานวณวิเคราะห์และจัดทาไฟล์นาเสนอ (ส่วนที่ 2 : 40 คะแนน)
ส่วนที่ 2.2 การวิเคราะห์และจัดทาไฟล์นาเสนอ: 10 คะแนน
มีความมั่นใจในการนาเสนอ และนาเสนอข้อมูลได้ถกู ต้องครบถ้วนตามเวลาที่กาหนด

การวิเคราะห์ระบบการวัดจากข้อมูลในงานมาตรวิทยาด้านมิติ
ภาคนาเสนอข้อมูล (ส่วนที่ 3 : 40 คะแนน)
การนาเสนอข้อมูลทีมละ 10 นาที (ไม่กาหนดรูปแบบการนาเสนอ)
1. มีความมั่นใจในการนาเสนอ และนาเสนอข้อมูลได้ถกู ต้องครบถ้วนตามเวลาที่กาหนด
2. สามารถเสนอแนวทางการปรับปรุงระบบกระบวนการจากข้อมูลการวิเคราะห์ได้ครอบคลุม และมีความเป็ นไปได้ในการแก้ไขปั ญหา

การวิเคราะห์ระบบการวัดจากข้อมูลในงานมาตรวิทยาด้านมิติ
สรุ ปขัน้ ตอนการแข่งขัน
เริม่

ลงทะเบียน : 7:30 น.

ภาคปฎิบตั ิ : เก็บข้อมูลลงใน ตัง้ ชื่อไฟล์ : สถานี00


เมื่อบันทึกข้อสอบ ซอฟแวร์ Measurlink
แล้ว ให้ผเู้ ข้าแข่งขัน 8:00-10:30 น.
แจ้งกรรมการเพื่อ
บันทึกเวลาการ
แข่งขัน ภาคคานวณ วิเคราะห์ และจัดทา บันทึก Excel file และ ตัง้ ชื่อไฟล์ : สถานี00.xlsx / .pptx
ไฟล์นาเสนอ : 10:30-12:00 น. Power point

พักกลางวัน
ภาคนาเสนอข้อมูล : ประกาศผล เฉลยข้อสอบ :
12:45-15:30 น. 16:00-16:30 น.
การวิเคราะห์ระบบการวัดจากข้อมูลในงานมาตรวิทยาด้านมิติ
วิธีการเก็บข้อมูล การส่งออกผลการวัด และตารางการวิเคราะห์ผล
ตัวอย่างการเก็บข้อมูล
Measurlink – เลือกมาตรวิทยาด้านมิติ
ใส่ช่ือสถานีงาน แล้ว เก็บข้อมูล ส่งออกข้อมูล
Real Time Create

3
2

การวิเคราะห์ระบบการวัดจากข้อมูลในงานมาตรวิทยาด้านมิติ
ตัวอย่างการเก็บข้อมูล
Measurlink – เลือกมาตรวิทยาด้านมิติ เก็บข้อมูล
ใส่ช่ือสถานีงาน แล้ว ส่งออกข้อมูล
Real Time Create (Demo)

การวิเคราะห์ระบบการวัดจากข้อมูลในงานมาตรวิทยาด้านมิติ
ตัวอย่างการเก็บข้อมูล
Measurlink – เลือกมาตรวิทยาด้านมิติ
ใส่ช่ือสถานีงาน แล้ว เก็บข้อมูล ส่งออกข้อมูล
Real Time Create

การวิเคราะห์ระบบการวัดจากข้อมูลในงานมาตรวิทยาด้านมิติ
ตัวอย่างการส่งออกข้อมูล

เก็บข้อมูลรอบที่ 1
จานวนทีมเข้าแข่งขัน

เก็บข้อมูลรอบที่ 2

เก็บข้อมูลรอบที่ 3

การวิเคราะห์ระบบการวัดจากข้อมูลในงานมาตรวิทยาด้านมิติ
ตัวอย่างใบคานวณ
MSA Average and Range method
Instrument: Caliper Sample
Average
Appraiser/Trial 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13
Actual result 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10
1
Appraiser 1 2
3
Averange (A) X̅A =
Range (A) R̅ A =
Bias %Bias =
1
Appraiser 2 2
3
Averange (B) X̅B =
Range (B) R̅ B =
Bias %Bias =

X̿ =
Sample Avergae
Rp =
(R̅ A + R̅ B)/Appraiser R̿ =
Constant X̅max - X̅min X̅Diff =
Observations in sample,n D3 D4 A2 R̿ x D4 UCLR =
3 R̿ x D3 LCLR =
X̿ + A2*R UCLX =
Constant X̿ - A2*R LCLX =
Measurement Factors Analysis Trials d2*EV K1 % Total Variation % Contribution
Repeatability - Instrument Variation (EV) %EV = %EV =
=

Reproducibility - Appraiser Instrument Variation (AV) Appraiser d2*AV K2 %AV = %AV =


=

Repeatability & Reproducibility (R&R) %R&R = %R&R =


=

Part Variation (PV) Samples d2*PV K3 %PV = %PV =


=

Total Variation (TV)


=

Number of Discrete Categories (ndc)


=

การวิเคราะห์ระบบการวัดจากข้อมูลในงานมาตรวิทยาด้านมิติ
ตัวอย่างไฟล์นาเสนอ

การวิเคราะห์ระบบการวัดจากข้อมูลในงานมาตรวิทยาด้านมิติ
สมการและตารางสาหรับการแข่งขัน

การวิเคราะห์ระบบการวัดจากข้อมูลในงานมาตรวิทยาด้านมิติ
สมการและตารางสาหรับการแข่งขัน

มีตารางให้ในไฟล์คานวณผล

การวิเคราะห์ระบบการวัดจากข้อมูลในงานมาตรวิทยาด้านมิติ
สมการและตารางสาหรับการแข่งขัน

มีตารางให้ในไฟล์คานวณผล
Acceptance criteria GRR% and ndc
GRR% ndc Result
Less than 10% More than 14 categories Generally considered to be an acceptable measurement system
10% to 30% 4.5 to 14 categories May be acceptable for some application
More than 30% Less than 4.5 categories Considered to be unacceptable

การวิเคราะห์ระบบการวัดจากข้อมูลในงานมาตรวิทยาด้านมิติ
Thank you for attending

การวิเคราะห์ระบบการวัดจากข้อมูลในงานมาตรวิทยาด้านมิติ

You might also like