You are on page 1of 57

ความไมแนนอนในการวัดเบื้องตน

Introduction to Measurement uncertainty

ดร.นฤดม นวลขาว
narudom@nimt.or.th

เนื้อหาหลักสูตร
1. บทนํา
2. นิยาม
3. แนวคิดพื้นฐาน
4. การประเมินความไมแนนอนมาตรฐาน
5. ความไมแนนอนมาตรฐานรวม
6. ความไมแนนอนขยาย
7. การรายงานความไมแนนอน
8. สรุปขั้นตอนการประเมินความไมแนนอน
2
1.บทนํา
o ธรรมชาติการวัดไมมีการวัดใดที่ไมมคี วามผิดพลาด
o ไมสามารถที่จะกําจัดความผิดพลาดทั้งหมดในการวัด
ออกไปไดทําไดแตลดความผิดพลาดลงจนเปนที่ยอมรับได
o การประเมินความไมแนนอนมีสําคัญตอความเชื่อมั่นในผล
การวัด
9.5 cm ? 63 C ?

3 3

GUM ?
o Guide to the expression of uncertainty
in measurement
o JCGM 100:2008
o Working Group 1 of the Joint
Committee for Guides in Metrology
(JCGM/WG 1)
o JCGM member organizations www.bipm.org/utils/common/documents/jcgm/JCGM_100_2008_E.pdf

(BIPM, IEC, IFCC, ILAC, ISO, IUPAC, IUPAP and OIML).

4 4
วัตถุประสงค
o รักษาระบบ QC และ QA (หนา 101)
(Maintaining quality control and quality assurance in
production)
o ใหเปนไปตามขอบังคับของทางการ
(Complying with and enforcing laws and regulations)
o ใชในงานวิจัย
(Conducting basic research, and applied research and
development, in science and engineering)
5 5

วัตถุประสงค(ตอ)
o การสอบเทียบ
(Calibrating standards and instruments and performing tests
throughout a national measurement system in order to achieve
traceability to national standards
o การพัฒนา รักษา และเปรียบเทียบมาตรฐานอางอิง และวัสดุอางอิงทั้ง
ภายในและตางประเทศ
(Developing, maintaining, and comparing international and national
physical reference standards, including reference materials.)

6 6
2.นิยาม (Definitions)
Measurement (VIM 2.1)
Process of experimentally obtaining one or
more quantity values that can reasonably be
attributed to a quantity
www.bipm.org/utils/common/.../JCGM_200_2008.pdf
การวัด
กระบวนการที่ทําใหไดมาซึ่งคาปริมาณคาหนึ่งหรือมากกวานั้น
ทางการทดลองที่สามารถใชเปนตัวแทนของปริมาณหนึ่งไดอยาง
สมเหตุสมผล
7 7

2.นิยาม (Definitions) - ตอ


Measurand (VIM 2.3) (หนา 102)
Quantity intended to be measured

สิ่งที่ถูกวัด
สิ่งที่เจตนาวัด
(สิ่งที่ตองการวัด ตองการรูคา)

8 8
2.นิยาม (Definitions) - ตอ
Calibration (VIM 2.39) (หนา 103)
operation that, under specified conditions, in a first step, establishes a relation between
the quantity values with measurement uncertainties provided by measurement standards
and corresponding indications with associated measurement uncertainties and, in a
second step, uses this information to establish a relation for obtaining a measurement
result from an indication

การสอบเทียบ
การปฏิบตั ิงานที่อยูภ ายใตเงื่อนไขที่ถูกระบุไว โดยทีใ่ นขั้นแรกสรางความสัมพันธระหวางคา
ปริมาณกับความไมแนนอนการวัดที่ไดจากมาตรฐานการวัด และสิ่งบงชี้ที่สมนัย ซึ่งมาพรอมกับ
ความไมแนนอนการวัดที่เชื่อมสัมพันธ และในขั้นที่สองใชขอมูลนีใ้ นการสรางความสัมพันธอันหนึ่ง
เพื่อใหไดผลการวัดอันหนึ่งจากสิ่งบงชี้สิ่งหนึ่ง

9 9

2.นิยาม (Definitions) - ตอ


True value ( VIM 2.11)
quantity value consistent with the definition of a
quantity

คาจริง
คาปริมาณที่สอดคลองกับนิยามของปริมาณปริมาณหนึ่ง

10 10
2.นิยาม (Definitions) - ตอ
Accuracy (VIM 2.13)
Closeness of agreement between a measured quantity
value and a true quantity value of a measurand

ความถูกตอง
ความใกลเคียงของการเปนไปตามกันระหวางคาปริมาณที่วัดไดคา
หนึ่งกับคาปริมาณจริงคาหนึ่งของสิ่งที่เจตนาวัด

11 11

2.นิยาม (Definitions) - ตอ


Precision (VIM 2.15)
closeness of agreement between indications or measured
quantity values obtained by replicate measurements on the
same or similar objects under specified conditions

ความเที่ยง
ความใกลเคียงของการเปนไปตามกันของคาบงชี้หรือคาปริมาณที่วัดได
จากการวัดซ้ํา ๆ ที่กระทําต อ วัตถุอั นเดิมหรือตอ วัตถุที่คลายกัน ภายใต
เงื่อนไขทีถ่ ูกระบุ

12 12
Accuracy and precision ?
(ความถูกตอง กับ ความเที่ยง)

ถูกตองและเที่ยง
ไมถูกตองและไมเที่ยง เที่ยงแตไมถูกตอง Trueness
http://www.physicsinfo.co.uk

13 13

2.นิยาม (Definitions) - ตอ


Error (VIM 2.16) (หนา 104)
Measured quantity value minus a reference quantity value

ความคลาดเคลื่อน
คาปริมาณที่วัดไดลบดวยคาปริมาณอางอิงคาหนึ่ง
Error = Measured value – Reference value

14 14
2.นิยาม (Definitions) - ตอ
ความคลาดเคลื่อน (error ) แบงได 2 ประเภท
1. ความคลาดเคลื่อนแบบสุม (Random error) เกิดจาก
o ความคลาดเคลื่อนจากผูปฎิบัติการ เชน ขาดความชํานาญการหรือไมมี
ความรู
o การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการทดลอง
o สามารถลดผลกระทบโดยทําการวัดซ้ําหลายๆ ครั้ง
2. ความคลาดเคลื่อนเชิงระบบ (Systematic error) เกิดจาก
o เครื่องมือไมเปนไปตามขอกําหนดทางเทคนิค
o เลือกใชเทคนิค/วิธีการวัดไมถูกตองเพียงพอ
o สามารถลดผลกระทบโดยการเลือกวิธีที่ถูกตองแมนยําที่สุด
15 15

2.นิยาม (Definitions) - ตอ


Systematic error (VIM 2.17)
Component of measurement error that in replicate
measurements remains constant or varies in a predictable
manner
ความคลาดเคลื่อนเชิงระบบ
องคประกอบของความคลาดเคลื่อนการวัดโดยที่ในการวัดซ้ําหลายๆ
ครั้งยังมีความคงตัวหรือการแปรผันในลักษณะที่ทํานายได

16 16
2.นิยาม (Definitions) - ตอ
Random error (VIM 2.19)
component of measurement error that in replicate
measurements varies in an unpredictable manner

ความคลาดเคลื่อนเชิงสุม
องคประกอบของความคลาดเคลื่อนการวัดโดยที่ในการวัดซ้ําหลายๆ
ครั้งมีการแปรผันในลักษณะทีไ่ มสามารถทํานายได

17 17

2.นิยาม (Definitions) - ตอ


Correction (VIM 2.53) (หนา 105)
compensation for an estimated
systematic effect
คาแก
การชดเชยสําหรับผลกระทบเชิงระบบ
อันหนึ่งที่ถูกประมาณไว
คาแก = - (ความคลาดเคลื่อน)
18 18
2.นิยาม (Definitions) - ตอ
Repeatability condition (VIM 2.20)
condition of measurement, out of a set of conditions that includes the
same measurement procedure, same operators, same measuring system,
same operating conditions and same location, and replicate
measurements on the same or similar objects over a short period of time
เงื่อนไขการทวนซ้ําได
เงื่ อนไขของการวั ดหนึ่ งจากชุ ด ของเงื่ อ นไขตา งๆ ที่ร วมถึ งวิธีดํ า เนินการวัดเดียวกั น
ผู ป ฏิ บั ติ ง านคนเดี ย วกั น ระบบวั ด เดี ย วกั น ภาวะปฏิ บั ติ ง านเดี ย วกั น และสถานที่
ปฏิ บัติงานเดี ย วกั น และการวั ดซ้ํ า หลายๆครั้ งบนวัตถุ เ ดิม หรื อที่มี ลัก ษณะคลา ยเดิ ม
ในชวงระยะเวลาสั้นๆ ระยะหนึ่ง

19 19

2.นิยาม (Definitions) - ตอ


Reproducibility condition (VIM 2.24)
condition of measurement, out of a set of conditions that
includes different locations, operators, measuring systems, and
replicate measurements on the same or similar objects

เงื่อนไขการทําซํ้าได
เงื่อนไขของการวัดหนึ่งจากชุดของเงื่อนไขตางๆ ที่รวมถึงสถานที่ ท่ีตางกั น
ผูปฏิบัติงานที่ตางกัน ระบบวัดที่ตางกันและการวัดซ้ําหลายๆ ครั้งบนวัตถุเดิม
หรือที่มีลักษณะคลายเดิม
20 20
2.นิยาม (Definitions) - ตอ
Measurement uncertainty (VIM 2.26)
Non-negative parameter characterizing the dispersion of the
quantity values being attributed to a measurand, based on the
information used
ความไมแนนอนการวัด
พารามิเตอรที่ไมใชจํานวนลบที่ใชบง บอกลัก ษณะของการกระจายของคา
ปริมาณตางๆ ของสิ่งที่ถกู วัดสิ่งหนึ่งที่กําหนดไวบนพื้นฐานของขอมูลที่ใช

21 21

2.นิยาม (Definitions) - ตอ


Type A evaluation (VIM 2.28)
evaluation of a component of measurement uncertainty by a
statistical analysis of measured quantity values obtained under
defined measurement conditions

การประเมินแบบ A
การประเมินองคประกอบของความไมแนนอนการวัดโดยการวิเคราะหเชิงสถิติ
แบบหนึ่งของคาปริมาณที่วัดไดตางๆ ซึ่งไดมาภายใตเงื่อนไขการวัดตางๆ ที่ถูก
นิยามไว

22 22
2.นิยาม (Definitions) - ตอ
Type B evaluation (VIM 2.29)
evaluation of a component of measurement uncertainty
determined by means other than a Type A evaluation of
measurement uncertainty

การประเมินแบบ B
การประเมินองคประกอบของความไมแนนอนการวัดโดยหาจากวิธกี ารอื่นๆ ที่
นอกเหนือไปจากการประเมินความไมแนนอนการวัดแบบ A

23 23

3.แนวคิดพื้นฐาน
• ความยาวของแทงโลหะ / อุณหภูมิของลวดตัวนํา
สิ่งที่ถูกวัด (Measurand) / มวลของลูกตุม

• วิธีวัดตรง (Direct method) / วิธีวัดแบบแทนคา


วิธีการ (Method) (Substitution) etc.

• ขั้นตอนการ Set up เครื่องมือ และระหวาง


ขั้นตอนการปฎิบัติ (Procedure) กระบวนการสอบเทียบ

• อุณหภูมิ (Temperature) / ความชื้น


ผลกระทบ (Influences) (Humidity) / etc.

ความไมแนนอนของการวัด • แหลงที่มาของความไมแนนอน (Source of


(Measurement uncertainty) uncertainty)

24 24
3.แนวคิดพื้นฐาน
ตัวอยางแหลงที่มาของความไมแนนอน
1. นิยามที่ไมสมบูรณของปริมาณที่ถูกวัด
2. ความไมสมบูรณของการทําใหเปนจริง (realization)
3. การสุมตัวอยางที่ไมเปนตัวแทนของปริมาณที่ถูกวัด
4. สภาวะแวดลอม
5. ความเหมาะสมของวิธีการ และขั้นตอนการวัด
6. ความละเอียดของเครื่องมือวัด
7. ความลําเอียงของการอานเครื่องมือวัดแบบ analog

25 25

3. แนวคิดพื้นฐาน-ความไมแนนอนของการวัด
GUM ไดจําแนกความไมแนนอนออกตามพื้นฐานของวิธีการ
ประเมินดังนี้
1) การประเมิน Type A (Type A evaluation)
2) การประเมิน Type B (Type B evaluation)

26 26
3. แนวคิดพื้นฐาน-ความไมแนนอนของการวัด
Measurement Measurement error

Type B Type A
Systematic error Random error
1 n
x  xk
n k 1 u ( x) 
s( x )
known Unknown n
systematic error systematic error 1 n
 
n(n  1) k 1
( xk  x ) 2

Uncertainty due
Correction to correction

Addition Quadratic summation


Measurement value  Measurement uncertainty
Measurement result
27 27

4.การประเมินความไมแนนอนมาตรฐาน
(Evaluating Standard Uncertainty)
4.1 รูปแบบทั่วไปของการวัด (Modelling the measurement)
ปริมาณที่สามารถวัดได (measurable quantity) แสดงในรูปของ

X = {X} [X]

X = ปริมาณที่ถูกวัด (measurand)
{X} = คาทีเ่ ปนตัวเลข (value)
[X] = หนวยวัด (unit)

28 28
4.1 รูปแบบทั่วไปของการวัด (Modelling the measurement)
ปริมาณที่ถูกวัด Y ซึ่งเปนปริมาณเอาทพุท (output quantity)
ตัดสินจากปริมาณอินพุท (input quantities) Xi
เมื่อ i = 1, 2, 3,…n โดยฟงกชั่นความสัมพันธ f ดังสมการ

X1

Y f X2

Xn

Y  f  X 1 , X 2 ,..... X N 
29

4.1 รูปแบบทั่วไปของการวัด (Modelling the measurement)


ปริมาณอินพุท (X1, X2, …, Xn) เปนปริมาณที่ไดจากการทําการวัด
หรือจากแหลงอื่นๆ จากภายนอก เชน
• คาวัดซ้ําๆ กัน
• คาแกของเครื่องมือวัด
• คาแกของปริมาณที่มีอิทธิพลตอการวัด
• ใบรับรองการสอบเทียบเครื่องมือวัด
• คาที่ไดจาก Handbook ตางๆ ฯลฯ
30
4.1 รูปแบบทั่วไปของการวัด (Modelling the measurement)
ตัวอยาง
ความตางศักย (V) ปอนใหกับตัวตานทานที่ขึ้นอยูกับอุณหภูมิที่มีความ
ตานทาน (Ro) ที่อุณหภูมิ (to) และมีสัมประสิทธิ์อุณหภูมิเชิงเสนของ
ความตานทาน 
กําลังไฟฟา P (ปริมาณที่ถูกวัด) ที่เกิดขึ้นที่ตัวตานทานที่อุณหภูมิ t
สามารถเขียนเปนสมการได ดังนี้
V2
P  f V , R0 ,  , t  
R0 1   t  t0 
31

4.1 รูปแบบทั่วไปของการวัด (Modelling the measurement)


เนื่องจากปริมาณอินพุท (X1, X2, …, Xn) ถือไดวาเปนปริมาณที่ถูก
วัดเชนกันซึ่งไมสามารถทราบไดอยางแนนอน
ในทางปฏิบัติ จึงใชคาประมาณอินพุท (input estimates)
x1, x2, …, xn แทน X1, X2, …, Xn

ดังนั้น y = f (x1, x2, …, xn)


เมื่อ y คือ คาประมาณเอาทพุท (output estimate)
x1
f x2
y
xn
32
4.2 การประเมินความไมแนนอนมาตรฐาน Type A
1 n
o คาเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic mean) q   qi
n i 1
o สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานการทดลอง
(Experimental standard deviation) 1 n
s (qi )  
n  1 i 1
(qi  q ) 2

o สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคาเฉลี่ย
Standard deviation of mean / s (qi )
s (qi )  u (qi ) 
Standard uncertainty (Type A ) n

(หนา 106)
33

4.2 การประเมินความไมแนนอนมาตรฐาน Type A


Pooled estimate of standard deviation
สําหรับการวัดที่กระทําภายใตการควบคุมทางสถิติและมีขอมูลของ
คุณลักษณะของระบบการวัดเดิมอยูแลว

1 n
s (qi )  
n  1 i 1
(qi  q ) 2 n=จํานวนขอมูลครั้งกอน

s(qi )
s (qi )  u (qi )  m=จํานวนขอมูลครั้งใหม
m
34
4.3 การประเมินความไมแนนอนมาตรฐาน Type B
สามารถประเมินไดจากการตัดสินในเชิงวิทยาศาสตร โดยใชพื้นฐานของขอมูลที่เปนไปได
ของความแปรผันของ Xi ซึ่งรวมไปถึง
• ขอกําหนดทางเทคนิคของผูผลิต
o ความถูกตอง (Accuracy)
o ความเสถียร (Drift / Stability)
o สัมประสิทธิ์การขยายตัวทางอุณหภูมิ
o อื่นๆ
• ขอมูลในใบรับรองการสอบเทียบ
• ความไมแนนอนที่กําหนดไวในขอมูลที่ตองการจาก Handbook เชน Thermal emf
35

4.3 การประเมินความไมแนนอนมาตรฐาน Type B


• ขอกําหนดทางเทคนิคของผูผลิต

(หนา 110)
36
4.3 การประเมินความไมแนนอนมาตรฐาน Type B
• ขอกําหนดทางเทคนิคของผูผลิต

37

4.3 การประเมินความไมแนนอนมาตรฐาน Type B


• ขอมูลในใบรับรองการสอบเทียบ
 ใบรับรองผลการสอบเทียบมวลมาตรฐาน 1 kg วามีคาเทากับ
1 000.000 325 g และมี “ความไมแนนอน 160 mg ที่ระดับ
ความเชื่อมั่น 95 %
 ใบรับรองผลการสอบเทียบ รายงานผลการวัดตัวตานทาน

มาตรฐาน 10  วามีคา 10.000 742  ± 100µ ที่ระดับ


ความเชื่อมั่น 95%

38
39 39

4.3 การประเมินความไมแนนอนมาตรฐาน Type B


การรายงานผลของคา Uncertainty สามารถรายงานไดดังนี้
• รายงานเปนชุดของพิสัย
• รายงานเปนแบบสมการเสนตรง (y=a+bx)
• รายงานเปนแบบ Root Mean Square
ตัวอยาง
Range 0 to 100mm= 0.01mm
>100 to 300 mm = 0.02 mm
>300 to 500 mm = 0.05 mm

40
4.3 การประเมินความไมแนนอนมาตรฐาน Type B
• การรายงานเปนคาคงที่

41

4.4 การแสดงรูปแบบของการประเมินความไมแนนอน
(Graphical illustration of evaluating standard uncertainty)
การประเมินความไมแนนอนมาตรฐาน Type A
เปนการประเมินแจกแจงแบบปกติ (Normal Distribution)
 : คากลางหรือคาเฉลี่ยที่ไดจากผลการวัด n ครั้ง
 : สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ความถี

-3 -2 -1  +1 +2 +3

42 42
4.4 การแสดงรูปแบบของการประเมินความไมแนนอน
(Graphical illustration of evaluating standard uncertainty)
การประเมินความไมแนนอนมาตรฐาน Type B
การแจกแจงแบบสี่เหลี่ยมผืนผา (Rectangular Distribution) เปนความไมแนนอนที่
ไดจากการกระจายของขอมูลที่เทาเทียมกันตลอดพิสัยที่กําหนด
a
2a = range  2 rec   x 2 Pdx
a = semi-range -a

1
When P 
2a
1 a
a
2a 1  x3  a2
 2
rec  x dx    
2

-a
2a  3a   a 3
a
 = คากลาง  rec 
-a = คาขีดจํากัดต่ําสุด 3
a
+a = คาขีดจํากัดสูงสุด ความไมแนนอนมาตรฐาน = u x i  
3

43 43

4.4 การแสดงรูปแบบของการประเมินความไมแนนอน
(Graphical illustration of evaluating standard uncertainty)
การประเมินความไมแนนอนมาตรฐาน Type B
การแจกแจงแบบสามเหลี่ยม (Triangular Distribution) เปนความไมแนนอนที่ไดจาก
การกระจายของขอมูลมีความหนาแนนอยูตรงกลางๆ มากกวาทั้งสองขางของพิสัย
a
2a = range 1
 2 tri   x 2 Pdx
2 -a
a = semi-range
1
When P 
2a
a a
1 1 1  x3  a2
 2
tri   x 2 dx    
2 -a 2a 2  3a   a 6
a
 = คากลาง  tri 
6
-a = คาขีดจํากัดต่ําสุด a
+a = คาขีดจํากัดสูงสุด ความไมแนนอนมาตรฐาน = u x   i
6

44 44
สมรรถนะทางดานมาตรวิทยาและระบบคุณภาพสําหรับวิศวกรไฟฟา

4.4 การแสดงรูปแบบของการประเมินความไมแนนอน
(Graphical illustration of evaluating standard uncertainty)
Type A Type B
ขอกําหนดทางเทคนิคจากผูผลิต
สวนเบี่ยงเบน
มาตรฐานของ รับรองการสอบเทียบ
คาเฉลี่ย
ความละเอียดของเครื่องมือ
ปจจัยอื่น ๆ ขึ้นกับประสบการณ
การกระจายขอมูล การกระจายขอมูล
หรือแบบอื่น ๆ

45 45

• Type B.1
คาความไมแนนอนอันเนื่องเครื่องมือมาตรฐานที่ใช
U 95%
u B1 
k
ความถี

-3 -2 -1  +1 +2 +3

46 46
4.4 การแสดงรูปแบบของการประเมินความไมแนนอน
(Graphical illustration of evaluating standard uncertainty)

ใบรับรองการสอบเทียบ
ผลการสอบเทียบ Platinum Resistance Thermometer ที่จุดสามสถานะของน้ํา
เทากับ 25.583 99  ที่ 273.16 K คาความไมแนนอนที่ระดับความเชื่อมั่น 95 %
(k=2.56) เทากับ 40 
คาความไมแนนอนมาตรฐาน Type B เทากับ

U 40 μΩ
u Rs     15.6 μΩ
k 2.56

เปนการประเมินแจกแจงแบบปกติ (Normal Distribution)

47 47

แบบฝกหัด
o จงหาความไมแนนอนมาตรฐานที่ไดจากใบรับรองผลการสอบเทียบมวล
มาตรฐาน 1 kg มีคาเทากับ 1 000.000 325 g และมี “ความไมแนนอน
160 mg ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 %” (k = 2)

o จงหาความไมแนนอนมาตรฐานที่ไดจากใบรับรองผลการสอบเทียบตัว
ตานทานมาตรฐาน 10  มีคาเทากับ 10.000 742  ± 100 µ ที่
ระดับความเชื่อมั่น 99% (k = 3)

48 48
• Type B.2
คาความไมแนนอนอันเนื่องความละเอียดของเครื่องมือ
Readability
uB 2 
3 1
2a

49 49

4.4 การแสดงรูปแบบของการประเมินความไมแนนอน
(Graphical illustration of evaluating standard uncertainty)

ความละเอียดของเครื่องมือ (Resolution)
เครื่อง Digital Multimeter มีคาหลักนัยสําคัญที่นอยที่สดุ 0.1 V เครื่องมืออานแสดงคาได
119.9 V แตเครื่องมืออาจวัดไดมีคาระหวาง 119.95 V และ 119.85 V
ซึ่งผลของความละเอียด 0.1 V จะเปนเหตุใหเกิดความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นจากการปดคา
ซึ่งคาอยูระหวาง - 0.05 V และ + 0.05 V
ดังนั้นความไมแนนอนมาตรฐานที่เกิดขึ้นจากความละเอียดของเครื่องมือ + 0.05 V
0.1 V 0.05 V
u xres     0.029 V
2 3 3

เปนการประเมินการแจกแจงแบบสีเ่ หลีย่ มผืนผา


(Rectangular Distribution)
50 50
4.4 การแสดงรูปแบบของการประเมินความไมแนนอน
(Graphical illustration of evaluating standard uncertainty)

ความละเอียดของเครื่องมือ (Resolution)
เครื่องชั่งที่อานคาเปน Digital มีคาหลักนัยสําคัญที่นอยที่สดุ 10 mg

คาความไมแนนอนมาตรฐาน Type B เทากับ


10 mg
u xres    2.89 mg
2 3

เปนการประเมินการแจกแจงแบบสีเ่ หลีย่ มผืนผา (Rectangular Distribution)

51 51

4.4 การแสดงรูปแบบของการประเมินความไมแนนอน
(Graphical illustration of evaluating standard uncertainty)

ความสามารถในการอานคาไดของเครื่องมือ (Readability)
เครื่องวัดอุณหภูมิชนิดแทงแกว มีคาหลักนัยสําคัญที่นอยที่สุด 1 C แตความสามารถใน
การอานคาได จะอยูระหวาง 1/2 ถึง 1/20 ของ 1 C
คาความไมแนนอนมาตรฐาน Type B เทากับ
1 C
u xres    0.29 C
2 3
หรือ
1 C
u  xres    0.029 C
20 3
เปนการประเมินการแจกแจงแบบสีเ่ หลีย่ มผืนผา (Rectangular Distribution)
52 52
แบบฝกหัด

จงหาคาความไมแนนอนมาตรฐาน Type B
ที่เปนผลมาจากคาความละเอียดของเครื่องชั่ง

53 53

แบบฝกหัด

จงหาคาความไมแนนอนมาตรฐาน Type B
ที่เปนผลมาจากคาความละเอียดของDigital
Thermometer

54 54
• Type B.3
คาความไมแนนอนอันเนื่องเสถียรภาพหรือการเลื่อนคาของ
เครื่องมือ
Stability
uB3  1

3 2a

55 55

4.4 การแสดงรูปแบบของการประเมินความไมแนนอน
(Graphical illustration of evaluating standard uncertainty)

56 56
4.4 การแสดงรูปแบบของการประเมินความไมแนนอน
(Graphical illustration of evaluating standard uncertainty)

ขอกําหนดทางเทคนิคจากผูผลิต
ผูผลิตไดกลาวอางคาความเสถียรของตัวเก็บประจุเทากับ 100 ppm ตอป
ถากําหนดใหตัวเก็บประจุสอบเทียบทุกๆ 1 ป ดังนั้นคาความไมแนนอนมาตรฐาน
Type B ที่เปนผลมาจากความเสถียรของตัวเก็บประจุเทากับ

u xdrift  
100 ppm
 57.7 ppm
3

เปนการประเมินการแจกแจงแบบสี่เหลี่ยมผืนผา (Rectangular Distribution)

57 57

• Type B.4
คาความไมแนนอนอันเนื่องสภาพแวดลอม
 อุณหภูมิ
 ความดันบรรยากาศ
 ความชื้น
 ปริมาณ CO2

58 58
59 59

5. ความไมแนนอนมาตรฐานรวม
(Combined standard uncertainty)
5.1 กรณีปริมาณอินพุทไมมีสหสัมพันธกัน
(Uncorrelated input quantities)

5.2 กรณีปริมาณอินพุทมีสหสัมพันธกัน
(Correlated input quantities)

60 60
ความไมแนนอนของเวลาที่หลังตื่นนอน เวลาเขางาน
ตื่น 6.00 นอาบน้ํา 15 นาที 615แตงตัว 15 นาที 6.30
กินขาวเชา 15 นาที 645เดินทาง 1 ชั่วโมง 745เขางาน 8.00 น.
“ความไมแนนอนที่อาจเกิดขึ้น”
ตื่นสาย = 10 นาที, ฝนตก = 10 นาที, รอรถ = 10 นาที, รถติด = 10 นาที

uc  10 2  10 2  10 2  10 2  400  20 ตื่น 5.40 น.


Uncorrelated input quantities
uc  10  10  10  10  40 ตื่น 5.20 น.
Correlated input quantities
61 61

5.1 กรณีปริมาณอินพุทไมมีสหสัมพันธกัน (Uncorrelated input quantities)


ในกรณีที่ปริมาณอินพุททั้งหมดเปนอิสระตอกัน ความไมแนนอนมาตรฐาน
ของ y เมื่อ y เปนคาประมาณของปริมาณที่ถกู วัด Y ไดจากการรวมอยาง
เหมาะสมของคาประมาณอินพุท x1, x2, …, xn คือ uc(y) Combined
standard uncertainty
2
N  f 
u2y     u 2 xi 
i 1  xi 
c

N
  ci u 2  xi 
2

i 1
 f 
ci เรียกวา sensitivity coefficient =  
 xi 
N

c u 2  xi 
2
uc ( y )  i
i 1 62
62
5.1 กรณีปริมาณอินพุทไมมีสหสัมพันธกัน (Uncorrelated input quantities)
Sensitivity Coefficient (Ci )
ใชเพื่อเปลี่ยนจากหนวยวัดอื่นๆ เปน หนวยวัดที่ตองการจะคํานวณ
หาคา Uncertainty เชน Volt เปน oC

T 2
Ci 
c2
T 2
ดังนั้น T ( C )  V  Ci  V 
c2

c2 = 0.014388 mK
63
 คือ ความยาวคลื่น 63

5.1 กรณีปริมาณอินพุทไมมีสหสัมพันธกัน (Uncorrelated input quantities)


ตัวอยางการคํานวณหาคา Ci
คาความไมแนนอนจากการสอบเทียบ Voltmeter มีคา 30 ppm จากนั้นนําเครื่องมือ
ดังกลาวไปใชในการสอบเทียบ โดยทําการวัดสัญญาณ output จาก Radiation
Thermometer ที่มีความยาวคลื่น 0.9 m ไดคา 3 mV ที่อุณหภูมิ 200 oC จง
แปลงคาความไมแนนอนของ Voltmeter เปน oC
 T 2
C  V  Ci  V 
c2

 30 10 6 V   (0.9 10-6 m)  200  273.15K 2 


T ( o C )   3
   

 3 10 V   0.014388 m  K 
 1.4004 10-7 K or 1.4004 10-7 o C
64 64
5.2 กรณีปริมาณอินพุทมีสหสัมพันธกัน (Correlated input quantities)
การมีสหสัมพันธกันระหวางปริมาณ input xi และ xj ตัดสินจาก
correlation coefficient, r(xi, xj)
u x i , x j 
r x i , x j  
u  x i   u x j 

โดยที่ -1  r(xi, xj)  +1


ในกรณีไมมีสหสัมพันธ r(xi, xj) = 0 การเปลี่ยนแปลงในปริมาณอินพุท
หนึ่งจะไมทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในปริมาณอินพุทอื่น
65 65

5.2 กรณีปริมาณอินพุทมีสหสัมพันธกนั (Correlated input quantities)

เขียนไดใหม ดังนี้
N 2 2
xi  2  c c ux ux r x , x 
N 1 N
uc2 ( y )   ci u i j i j i j
i 1 i 1 j  i 1

ในกรณี r(xi,xj) = +1
2
N 
u  y 
2
c  
  ci u xi 
i 1 

N
uc ( y )   ci u xi   c1ux1  c2ux2  ... cN uxN 
i 1
66 66
5.2 กรณีปริมาณอินพุทมีสหสัมพันธกนั (Correlated input quantities)

ตัวอยาง
R1 R2 R3 R10 Rref 10 k

1) Ri (R1,R2,R3,……,R10) แตละตัวมีคาระบุ 1 k
2) ความไมแนนอนมาตรฐานของ Rs คือ u(Rs) = 100 m
r x , x   r R , R   1
i j i j

10
Rref   Ri
i 1

10

uc ( Rref )   u ( Rs)  10 100 mΩ  1 


67 i 1 67

6.ความไมแนนอนขยาย (Expanded uncertainty)


ความไมแนนอนขยาย U ไดจากการคูณความไมแนนอน
มาตรฐานรวม ดวยตัวประกอบครอบคลุม k

U  k  uc  y 

k = coverage factor

68 68
6.ความไมแนนอนขยาย (Expanded uncertainty)

Coverage factor (k) หาไดจาก Effective degree of freedom (eff) ที่ได


จาก Welch-Satterthwaite formula

u y
4
 eff  c 4
N u y

 i

i 1 i

Degree of freedom (i) = n-1


69 69

6.ความไมแนนอนขยาย (Expanded uncertainty)


องศาอิสระ (degree of freedom)
องศาความอิสระจะสัมพันธกับความไมแนนอนมาตรฐาน
a) จากการประเมินชนิด A (type A evaluation) จะเทากับ n-1 โดยที่ n คือ
จํานวนขอมูลของการวัด
b) จากการประเมินชนิด B (type B evaluation) จะเทากับอนันต (infinity)
เนื่องจากโอกาสของปริมาณที่อยูนอกเหนือขีดจํากัดลาง(lower limit)และ
ขีดจํากัดบน (upper Limit) มีนอยมากๆ
c) การประเมินชนิด B เปนความไมแนนอนขยายที่เปนการกระจายแบบ
t-distribution มากกวาที่จะเปนการกระจายแบบปกติจะทําใหองศาแหงความ
อิสระไมเทากับอนันต
70 70
6.ความไมแนนอนขยาย (Expanded uncertainty)
การใชการกระจายแบบ t-distribution
อยางไรก็ตามในบางกรณีทกี่ ารประเมินชนิด A มีคามากเปนผลใหระดับ
ความเชื่อมั่น (level of confidence) มีนัยสําคัญ ทําใหคาของตัวแปร
ครอบคลุม k (Coverage factor) จะตองอางอิงถึงการกระจายแบบ t-
distribution มากกวาที่จะเปนการกระจายแบบปกติดังนั้นคาตัวแปร
ครอบคลุม ที่คํานวนหามาไดจากตารางการกระจายแบบทีโดยที่ p คือ
โอกาสของความเชื่อมั่น (confidence probability) ซึ่งจะอยูในรูปของ
เปอรเซ็นต
71 71

TINV(0.0455,degree of freedom)

For safety-critical situation, coverage


probability of 95.45% may be more
appropriate.

72 72
ตัวอยาง
o ทําการวัด 4 ครั้ง ได Type A คือ ui(y) = 3.5
Type B ทั้ง 5 คา ซึ่งเทากับ 0.1, 0.1, 0.1, 0.1 และ 0.1 โดยทั้งหมดมีคา
i เทากับ  และ uc(y) = 5.7

 eff 
5.7 4  21.1
3.54  0.14  0.14  0.14  0.14  0.14
4 1     

จากตาราง t-student ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 %


Coverage factor (k) = 2.13
73 73

แบบฝกหัด
o ทําการวัด 4 ครั้ง ได Type A คือ ui(y) = 16.5
Type B ทั้ง 5 คา ซึ่งเทากับ 10, 2, 3, 1 และ 1 โดยทั้งหมดมี
คา i เทากับ และคา uc(y) = 20.8
จากตาราง t-student ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 %
Coverage factor (k) = ?

จากตาราง t-student ที่ระดับความเชื่อมั่น 99 %


Coverage factor (k) = ?

74 74
Uncertainty Budget
• EA-4/02 M: 2013 – Evaluation of the uncertainty of
measurement in calibration
• http://www.european-accreditation.org/publication/ea-4-02-m

75 75

Uncertainty Budget

10 000.105 Ω ± 0.89 ppm

76 76
7.การรายงานความไมแนนอน
(Reporting uncertainty)
o ปริมาณที่ถูกวัดและความไมแนนอนขยายควรจะรายงานในรูป y + U และตามดวย
ระดับความเชื่อมั่น
o ปกติความไมแนนอนจะรายงานในรูป (±) พรอมดวยหนวยวัดของปริมาณที่ถูกวัด
หรือเปนคาสัมพัทธ
o จํานวนตัวเลขที่รายงานควรจะสะทอนใหเห็นถึงความสามารถในการวัดในทางปฏิบัติ
o ความไมแนนอนที่รายงานสามารถปดขึ้นใหไดตัวเลขที่เหมาะสม หรือปดลง ถาไมทํา
ใหลดความเชื่อมั่นของผลการวัดอยางมีนยั สําคัญ
o ควรปดเลขที่ขั้นตอนสุดทายของการคํานวณ
(หนา 112)

77 77

7.การรายงานความไมแนนอน
(Reporting uncertainty) (หนา 113)

o เอกสารวิชาการ เรื่อง ขีดความสามารถของการสอบเทียบและการวัด (Calibration


and Measurement Capability : CMC)
• จํานวนตัวเลขของคาความไมแนนอนขยายของการวัด (Expanded uncertainty) จะตองมี
เลขนัยสําคัญไมเกิน 2 ตําแหนง
• การแสดงรูปแบบเปนคาเดียว (Single Value) ที่เปนตัวแทนตลอดพิสัยของการวัด
• การแสดงรูปแบบ เปน พิสัยการวัด (Range) โดยที่ หองปฏิบัติการสอบเทียบควรมี สมมุติฐาน
ที่เหมาะสมสําหรับการประมาณคาสอดแทรก (interpolate) เพื่อหาคาความไมแนนอน การ
วัดที่อยูระหวางพิสัยนั้น
• การแสดงรูปแบบเปนฟงกชัน (explicit function) หรือพารามิเตอรของเครื่องมือที่ถูกวัด
• การแสดงรูปแบบเปนเมทริกซ (Matrix) ที่ซึ่งปริมาณของคาความไมแนนอนขึ้นกับ ปริมาณ
ของสิ่งที่ถูกวัดและพารามิเตอรที่เกี่ยวของ
• การแสดงรูปแบบกราฟ(Graphical) ในแตละแกนจะตองมีคาความละเอียดเพียงพอ เพื่อที่จะ
แสดงคานัยสําคัญของคาความไมแนนอนอยางนอย 2 นัยสําคัญ

78 78
เลขนัยสําคัญ (Significant Figures)
การบันทึกตัวเลข 13 13.1 13.0 และ 13.00
ตัวเลขทั้งสี่มีจํานวนเลขนัยสําคัญแตกตางกัน

เลข 13 นั้นมีนัยสําคัญ 2 ตัว


เลข 13.1 และ 13.0 มีนัยสําคัญ 3 ตัว
เลข 13.00 มีนัยสําคัญ 4 ตัว

79 79

หลักการพิจารณาจํานวนเลขนัยสําคัญ
เลขทุกตัว ถือเปนเลขที่มีนยั สําคัญ ยกเวน
(1) เลข 0 ( ศูนย ) ที่อยูซายมือสุดหนาตัวเลข เชน
0.1 มีเลขนัยสําคัญ 1 ตัว
0.01 มีเลขนัยสําคัญ 1 ตัว
0.0152 มีเลขนัยสําคัญ 3 ตัว
(2) เลข 0 ( ศูนย ) ที่อยูระหวางตัวเลขถือเปนเลขนัยสําคัญ เชน
101 มีเลขนัยสําคัญ 3 ตัว
1.002 มีเลขนัยสําคัญ 4 ตัว
(3) เลข 0 ( ศูนย ) ที่อยูทายแตอยูในรูปเลขทศนิยม ถือวาเปนเลขนัยสําคัญ เชน
1.20 มีเลขนัยสําคัญ 3 ตัว
2.400 มีเลขนัยสําคัญ 4 ตัว
80 80
หลักการพิจารณาจํานวนเลขนัยสําคัญ
เลขทุกตัว ถือเปนเลขที่มีนยั สําคัญ ยกเวน
(4) เลข 0 ( ศูนย ) ที่ตอทายเลขจํานวนเต็ม ถาจะนับเปนเลขนัยตองระบุไว เชน
120 มีเลขนัยสําคัญ 2 ตัว
120 มีเลขนัยสําคัญ 3 ตัว
200 มีเลขนัยสําคัญ 1 ตัว
200 มีเลขนัยสําคัญ 2 ตัว
200 มีเลขนัยสําคัญ 3 ตัว
(5) เลข 10 ที่อยูในรูปยกกําลัง ไมเปนเลขนัยสําคัญ เชน
4
1.30 x10 มีเลขนัยสําคัญ 3 ตัว
6
2.501 x10 มีเลขนัยสําคัญ 4 ตัว

81 81

การปดเศษของจํานวน
ถามีคามากกวาหรือเทากับ 5 ตัวเลขที่อยูหนาใหปดคาเพิ่มอีกหนึ่งคา และ ถามี
คานอยกวา 5 ใหปดเศษทิ้ง
เชน 1.2364
ตองการตัวเลขที่มีเลขนัยสําคัญเทากับ 2
คําตอบคือ 1.2364 >>>>1.2
ถาตองการตัวเลขที่มีเลขนัยสําคัญเทากับ 3 คําตอบคือ 1.2364 >>>>1.24

82 82
การบวก และการลบเลขนัยสําคัญ
ใหบวก-ลบ แบบวิธีทางคณิตศาสตรกอน
ผลลัพธที่ไดตองมีตําแหนงทศนิยมละเอียดเทากับปริมาณเลขนัยสําคัญที่นอย
ที่สุด

ตัวอยาง 5.46 + 2.378 = 7.838 (ยังไมใชคําตอบ)


ความละเอียดของเลขนัยสําคัญนอยที่สดุ มีทศนิยม 2 ตําแหนง

ดังนั้น 5.46 + 2.378 = 7.84

83 83

การคูณ และการหารเลขนัยสําคัญ
ใหคูณ - หาร แบบวิธีทางคณิตศาสตรกอน
ผลลัพธที่ไดตองมีจํานวนเลขนัยสําคัญเทากับจํานวนเลขนัยสําคัญของตัวคูณหรือ
ตัวหารที่นอยที่สุด

ตัวอยาง 325.4 x 4.7 = 1,656.28 (ยังไมใชคําตอบ)

ผลลัพธจะตองมีจํานวนเลขนัยสําคัญเทากับ 2 ตัว
325.4 x 4.7 = 1.7 x 103

84 84
ตัวอยาง
1) ด.ญ.พลอยชมพูใชเครื่องวัดเสนผานศูนยกลางของเหรียญบาทได 1.29
เซนติเมตร เขาควรรายงานพื้นที่หนาตัดเทาไร

วิธีทาํ A = r2 = (22/7)(1.29/2)2 = 1.3063 cm2


ผลลัพธจะมีเลขนัยสําคัญเทากับ 3 ตัว
ดังนั้น เขาควรบันทึกคาพื้นที่หนาตัดเทากับ
1.31 cm2

85 85

ตัวอยาง
2) จากสมการ x = A + BC โดยที่คา A=0.8 หนวย B=3.06 หนวย
C=20.30 หนวย คา x ที่คํานวณไดควรรายงานคาเทาไร

วิธีทาํ x = A + BC = 0.8 + (3.06)(20.30)


= 62.918 หนวย

เลขนัยสําคัญของ A คือ ทศนิยม 1 ตําแหนง


ดังนั้น x ที่คํานวณได จะมีคา 62.9 หนวย

86 86
แบบฝกหัด
1) จงบอกเลขนัยสําคัญของตัวเลขตอไปนี้
a) 1.20x103
b) 0.551 F/F
c) 10.5 K
d) 100 V
e) 3.98675
f) 12398756
g) 3.14
h) 0.15 %

87 87

แบบฝกหัด
ผลการวัด 5 ครั้ง ดังตาราง

ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4 ครั้งที่ 5


100.000 0 V 100.000 2 V 100.000 3 V 100.000 5 V 100.000 1 V

จงรายงานคาเฉลี่ยของผลการวัด 5 ครั้ง ตามหลัก


การพิจารณาเลขนัยสําคัญ

88 88
แบบฝกหัด
1) จากสมการ U = k · uc
โดยที่คา k = 1.96 หนวย และ uc = 3.06 หนวย
U ที่คํานวณไดควรรายงานคาเทาไร

2) จากสมการ U = k · uc
โดยที่คา k = 2.0 หนวย และ uc = 3.06 หนวย
U ที่คํานวณไดควรรายงานคาเทาไร

3) จากสมการ U = k · uc
โดยที่คา k = 2 หนวย และ uc = 3.06 หนวย
U ที่คํานวณไดควรรายงานคาเทาไร
89 89

แบบฝกหัด
รายงานผลการสอบเทียบพรอมกับคาความไมแนนอนใดถูกตองและ
เหมาะสม
a) 100.000 V + 0.008 V
b) 100.000 V + 0.008 4 V
-6
c) 100.000 V + 80 · 10
d) 100.000 V + 8 %
e) 100.000 V + 0.008 812 5 V
f) 100 V + 8 %

90 90
8.สรุปขั้นตอนการประเมินความไมแนนอน
(Summary of procedure for evaluating and expressing uncertainty)

Type A / Determining
Mathematical
Type B Combined
Model uncertainty
evaluation

Determining
Reporting Coverage factor
expanded
uncertainty (k)
uncertainty

91 91

ตัวอยางการคํานวณความไมแนนอนของการวัด
สอบเทียบแรงดันไฟฟากระแสตรงของแหลงจายไฟ 100 V

(23+1) C
UUC (50+15) %RH
Thermal emf : < 0.3 V/ C
Standard Accuracy : 0.001 V

ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4 ครั้งที่ 5


100.000 0 V 100.000 2 V 100.000 3 V 100.000 5 V 100.000 1 V

92 92
สอบเทียบแรงดันไฟฟากระแสตรงของแหลงจายไฟ 100 V

สิ่งที่ถูกวัด (Measurand) • แรงดันไฟฟากระแสตรง

วิธกี าร (Method) • วิธวี ัดตรง (Direct method)

ขั้นตอนการปฎิบัติ • ขั้นตอนการ Set up เครื่องมือ และ


(Procedure) ระหวางกระบวนการสอบเทียบ

• อุณหภูมิ / ความละเอียดและความถูกตอง
ผลกระทบ (Influences)
ของเครื่องมือวัด และอื่นๆ

93 93

ตัวอยางการคํานวณความไมแนนอนของการวัด
Mathematical Model

Vx  Vstd  Vstd  Vemf  Vres

Vx  แรงดันไฟฟากระแสตรงที่ตอ งการทราบคา
Vstd  แรงดันไฟฟามาตรฐานที่อานไดจาก DMM
Vstd  คาความถูกตอง(Accuracy)จากผูผลิตของ DMM
Vemf  Thermal EMF
Vres  ความละเอียดที่อานไดจาก DMM

94 94
ตัวอยางการคํานวณความไมแนนอนของการวัด
a) คาเฉลี่ย 100.000 22 V
6
190 10 V
b) Type A u V   5
 86  10 V
std
6

c) Type B evaluation
1) ความละเอียดของเครื่องมือ Digital Multimeter
0.0001 V
u Vres    2.9 105 V
2 3

2) คาความถูกตอง(Accuracy)จากผูผลิตของเครือ่ งมือ Digital Multimeter


0.001 V
u Vacc    5.8 10 4 V
3

u Vemf  
0.000 000 3 V
3) Thermal EMF  173  109 V
3
95 95

การคํานวณความไมแนนอนของการวัด
Determining Combined uncertainty
กรณีปริมาณอินพุทไมมีสหสัมพันธกัน (Uncorrelated input quantities)
N  f 
c u 2  xi  ci   
2
uc ( y ) 

i
i 1 x
 i

Vx  Vstd  Vstd  Vemf  Vres


Vx Vx Vx Vx
c1  1 c2  1 c3  1 c4  1
Vstd Vstd Vemf Vres

uc Vx   c12u12 Vstd   c22u22 Vstd   c32u32 Vemf   c42u42 Vres 

96 96
การคํานวณความไมแนนอนของการวัด
Determining Combined uncertainty

uc Vx   86 10   577 10   173 10   2.9 10  V


6 2 6 2 9 2 5 2

uc Vx   584  10 6 V

 eff 
584 10  6 4

86 10   577 10   173 10   2.9 10 


6 4 6 4 9 4 5 4

5 1   
 eff  8511

97 97

ตัวอยางการคํานวณความไมแนนอนของการวัด
จากตาราง t-student ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 %
Coverage factor (k) = 2

U Vx   k  uc Vx   2  584  10 6 V  1.2  10 3V

98 98
ตัวอยางการรายงานความไมแนนอนของการวัด
Reporting uncertainty

100.000 2 V + 0.001 2 V
1.2  10 3V
100 V
100.000 2 V + 12 V/V

12  10 6 V
-6
1V
100.000 2 V + 12 x 10

99 99

END

100 100
QA & QC
Specification
Upper Limit
B D
True value
A
Lower Limit
C

Measured value with expanded uncertainty

101 101

(3)
(1)
Measurand ?

(2)

102 102
การสอบเทียบ
เครื่องสอบเทียบทางไฟฟา

เครื่องมือมาตรฐาน

เครื่องมือที่ตองการสอบเทียบ
ดิจติ อลมัลติมิเตอร

103 103

ความคลาดเคลื่อน

เครื่องมือมาตรฐาน : 10.00027 V

เครื่องมือที่ตองการสอบเทียบ : 9.9979 V

Error ?
104 104
คาแก

เครื่องมือมาตรฐาน : 10.00027 V

เครื่องมือที่ตองการสอบเทียบ : 9.9979 V

Correction ?

105 105

การประเมินความไมแนนอนมาตรฐาน Type A
(Type A evaluation)

ครั้งที่ 1 2 3 4 5 คาเฉลี่ย STDV Type A Unit


คาที่วัดได 10.03 10.02 10.03 9.99 10.06 10.03 0.025 0.011 V
จากการวัดแรงดันไฟฟากระแสตรงจํานวน 5 ครั้ง คํานวณคา Type A
s qi  0.025V
u qi   s q     0.011V
n 5

106 106
การแสดง/รายงานผล
o แสดงในรูปสัมบูรณ (Absolute)
s qi  0.025V

u qi   s q 
n

5
 0.011V

o แสดงในรูปสัมพัทธ (Relative)
0.011V
u qi    100  0.11%
10V

107 107

การแสดง/รายงานผล
o แสดงในรูปสัมพัทธ (Relative)
 ppm (part per million) ในลานสวน
 % (Percentage) เปอรเซ็นท
1 ppm = 1x10-6
-6
10 ppm = 10x10
100 ppm = 100x10-6
-6 -3
1000 ppm = 1000x10 = 1x10 x100 = 0.1 %
10000 ppm = 10000x10-6 = 1x10-2x100 =1%

108 108
แบบฝกหัด
จงแปลงหนวยของความไมแนนอน
Relative uncertainty  Absolute uncertainty
o 100.000 2 V + 0.001 2 V
o 10.000 185 pF + 1.4 F/F
o 1 000.000 85 kg + 50 mg
o 1.000 55 pF + 14 x 10-6
o 9.998 V + 0.15 %

109 109

แบบฝกหัด
กรณีเครื่องมือวัดแบบ digital
• อานคา 600.0 V
• Accuracy :  (0.1% of rdg + 3 dgt)
• 0.1% of rdg ถา reading มีคา 600.0 V
0.1% ของ 600 V = ? V
• 1 digit หรือ count หมายถึง หลัก
สุดทายที่อานได เชน ที่ 600 V
มี resolution 0.1 V ดังนั้น 3 dgt = ? V
• Accuracy =  (0.60 V + 0.3 V) = 0.90 V
หรือ (0.90 V/600 V)x100 = 0.15 %

110 110
แบบฝกหัด
กรณีเครื่องมือวัดแบบ digital
• อานคา 220.0 V
• Accuracy :  (0.1% of rdg + 3 dgt)
• 0.1% of rdg ถา reading มีคา 220.0 V
0.1% ของ 220 V = ? V
• 1 digit หรือ count หมายถึง หลัก
สุดทายที่อานได เชน ที่ 220.0 V
มี resolution 0.1 V ดังนั้น 3 dgt = ? V
• Accuracy =  (0.22 V + 0.3 V) = 0.52 V
หรือ (0.52 V/220 V)x100 = 0.24 %
111 111
111

112 112
• http://www.tisi.go.th/images/stories/lab/lab_pdf/TLA-03-00.pdf

113 113

END

114 114

You might also like