You are on page 1of 25

การวัดและควบคุมกระบวนการ

เรียบเรียงโดย สยาม จงสุขเกษม

หน่วยที่ 3
อุปกรณ์การวัดระดับ(Level Measurement)

เนื้อหา
1 บทนำ
2 กำรวัดระดับโดยตรง (Direct Level Measurement)
3 กำรวัดระดับทำงอ้อม (Indirect Level Measurement)
o กำรวัดโดยอำศัยหลักกำรทำง Hydrostatic
o กำรวัดโดยอำศัยหลักกำรของ Capacitive
o กำรวัดโดยอำศัยหลักกำรของ Ultrasonic
o กำรวัดโดยอำศัยหลักกำรของ Radar
o กำรวัดโดยอำศัยหลักกำรของ Laser
แนวคิด
ในกระบวนกำรผลิตของโรงงำนอุตสำหกรรมทุกประเภท จะต้องมีกำรจัดเก็บสำรต่ำงๆทั้ง
ที่เป็นวัตถุดิบสำหรับกำรผลิต และผลผลิตที่ได้ รวมถึงอุปกรณ์ในกระบวนกำรผลิต เช่น หอกลั่น
Boiler เป็ น ต้น ที่ จำเป็ น ต้ องมี ก ำรวัด ระดั บ ของสำรที่ ส่ งเข้ำไป เพื่ อป้ อ งกั น กำรมี ส ำรนั้ น มำก
เกินไปหรือน้อยเกินไป ซึ่งจะทำให้ผลผลิตที่ได้ออกมำไม่มีคุณภำพตำมที่ต้องกำร
ดังนั้น กำรวัดระดับ ในกระบวนกำรผลิตจึงมีควำมจำเป็นอย่ำงยิ่ง ส ำหรับเรื่องนี้ จะมำ
เรียนรู้เกี่ยวกับเครื่องมือที่ใช้ในกำรวัดระดับแบบต่ำงๆที่ใช้กันอยู่ในโรงงำนอุตสำหกรรม

จุดประสงค์
เมื่อเรียนจบหน่วยนี้แล้ว นักเรียนสำมำรถ
1. อธิบำยประเภทของกำรวัดระดับได้อย่ำงถูกต้อง
2. จำแนกอุปกรณ์วัดระดับในแต่ละหลักกำรได้อย่ำงถูกต้อง
3. อธิบำยหลักกำรทำงำนของอุปกรณ์กำรวัดระดับโดยตรงได้
4. อธิบำยหลักกำรทำงำนของอุปกรณ์กำรวัดระดับโดยอ้อมได้อย่ำงน้อย 4 ชนิด
5. อธิบำยหลักกำรทำงำนของอุปกรณ์กำรวัดระดับของของแข็งได้อย่ำงน้อย 3 ชนิด

3 -1
การวัดและควบคุมกระบวนการ
เรียบเรียงโดย สยาม จงสุขเกษม
บทนา
กำรวัดระดับนั้นหลักกำรง่ำยๆ คือเป็นกำรหำว่ำค่ำควำมแตกต่ำงของควำมดันทีบ่ ริเวณก้นถังกับ
บริเวณที่มีของเหลวที่เรำสนใจอยู่นั้นมีควำมดันแตกต่ำงกันเท่ำไหร่และนำมำคำนวณเพื่อหำระดับ
ของของเหลวที่เรำสนใจโดยกำรวัดระดับนั้นจะมีลักษณะกำรวัดเพื่อนำไปใช้งำนอยู่ 3 ลักษณะคือ
• Continuous Liquid Level measurement and control เป็ น กำรวั ด ค่ ำระดั บ ของของเหลว
อย่ำงต่อเนื่องเพื่อใช้สำหรับกำรทำกำรควบคุมระดับของของเหลว
• Point Liquid and level detection กำรวั ด ในลั ก ษณะนี้ มี ลั ก ษณะเป็ น Discrete คื อ วั ด ไป
เรือ่ ยๆจนกระทั่งถึงค่ำที่ตรงตำมเงือ่ นไขเท่ำนัน้
• Solids & Dry Products Level Capability กำรวัดสำรที่มีลักษณะเป็นของแห้งหรือของแข็ง
โดยปัจจัยพื้นฐำนที่เรำควรที่จะสนใจก่อนทีจ่ ะเลือกใช้อปุ กรณ์ใดๆในกำรวัดมีดังนี้
•Density and viscosity ควำมหนำแน่น และควำมหนืด
•Chemical composition ควำมเป็นเคมี
•Ambient temperature อุณหภูมิสภำวะแวดล้อม
•Process temperature อุณหภูมใิ น process
•Process pressure ควำมดัน
•Vapor, mist, and dust ไอ, ฝน
•Process conductivity and dielectric constant ควำมนำและไม่นำไฟฟ้ำ
•Vibration กำรสั่นสะเทือน
•Humidity/moisture ควำมชื้น
•Repeatability and accuracy requirement
กำรวัดแบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ
1. กำรวัดระดับโดยตรง (Direct Level Measurement)
2. กำรวัดระดับแบบทำงอ้อม (Indirect Level Measurement)

3 -2
การวัดและควบคุมกระบวนการ
เรียบเรียงโดย สยาม จงสุขเกษม

ตำรำงที่ 3-1 แสดงกำรเลือกใช้ เครื่องวัดระดับแบบต่ำงๆ


ที่มำ : (TRANSACTIONS Volume 4 FLOW & LEVEL MEASUREMENT , 1998 , หน้ำ 73)

การวัดระดับโดยตรง (Direct Level Measurement)


Sight Glass
เป็นอุปกรณ์ที่แสดงกำรบ่งชี้ระดับในถังที่สำมำรถสังเกตด้วยตำ โดยอำศัยหลักกำรง่ำยๆ
คือ ระดับที่อ่ำนได้จำก Sight glass จะเท่ำกับระดับในถัง ย่ำนกำรวัดมำตรฐำนทั่วไปจะใช้วัดระดับ
ไม่ เกิ น 900 mm หำกเกิ น กว่ำ นี้ จะต้ อ งใช้ Sight Glass มำกกว่ ำ 2 อั น มำต่ อ เรี ย งกั น ในลั ก ษณะ
Overlapping กัน

3 -3
การวัดและควบคุมกระบวนการ
เรียบเรียงโดย สยาม จงสุขเกษม

รูปที่ 3-1 Sight glass


ที่มำ : (Lessons In Industrial Instrumentation , 2009 , หน้ำ 669)

รูปที่ 3-2 กำรติดตั้งใช้งำนจริง

(a) (b)
รูปที่ 3-3 (a) Reflex glass type (b) Color or Bullseye level gauge ใช้กับหม้อไอน้ำ
ข้อดี
1. อ่ำนค่ำได้โดยตรง
2. สำมำรถออกแบบพิเศษให้สำมำรถทนควำมดันได้ถึง 10,000 psi และทนอุณหภูมิได้สูงถึง
750oF

3 -4
การวัดและควบคุมกระบวนการ
เรียบเรียงโดย สยาม จงสุขเกษม
3. วัสดุที่ใช้ทำ Sight Glass สำมำรถออกแบบให้ทนต่อสภำพกำรกัดกร่ อนได้เป็นอย่ำงดีเช่น
ใช้พลำสติก หรือแก้ว เป็นต้น
ข้อจำกัดของ Sight Glass
1. กำรอ่ำนค่ำโดยตรงอำจไม่สะดวก เช่นกรณีที่ติดตั้งไว้บนที่สูงหรือด้ำนบนของถัง เป็นต้น
2. ค่ำควำมแม่นยำ (Accuracy) ขึ้นอยู่กับควำมสะอำดของช่องมอง,สภำพของของของไหล
เช่นควำมใสและผู้อ่ำน ซึ่งควบคุมได้ยำก
3. กรณีของเหลวมีสีใส ทำให้ยำกสำหรับกำรอ่ำนค่ำ
4. ในสภำพที่ มี อำกำศหนำวจัด อำจทำให้ของเหลวบริเวณ Sight Glass เกิดกำรแข็งตัว ใน
กรณีที่ Sight Glass ติดตั้งไว้ภำยนอก
5. กำรกระเพื่อมของของเหลว ทำให้กำรอ่ำนค่ำกระทำได้ยำก
Float
เป็นกำรใช้หลักกำรของแรงลอยตัวเป็นหลักคือกำรอำศัยให้ระดับของของเหลวที่เป็นตัวนำ
ให้ลูกลอยที่อยู่ในเครื่องมือวัดนัน้ ๆลอยขึ้นเพื่อบอกถึงควำมสูงของระดับของเหลวนั้นๆ

รูปที่ 3-4 กำรใช้ลูกลอยวัดระดับของเหลวในถัง


ที่มำ : (Process measurement and analysis, 1995 , หน้ำ 475)

รูปที่ 3-5 กำรใช้ลูกลอยร่วมกับสวิตช์


ที่มำ : (TRANSACTIONS Volume 4 FLOW & LEVEL MEASUREMENT , 1998 , หน้ำ 81)

3 -5
การวัดและควบคุมกระบวนการ
เรียบเรียงโดย สยาม จงสุขเกษม

External float chamber

รูปที่ 3-6 กำรติดตั้งลูกลอยรูปแบบต่ำงๆ


ที่มำ : (TRANSACTIONS Volume 4 FLOW & LEVEL MEASUREMENT , 1998 , หน้ำ 82)
ข้อพิจำรณำ
- ถ้ำของเหลวในถังมีก ำรไหลปั่นป่วนหรือกระเพื่ อมมำกใช้ still well หรือ external float
chamber
- ควำมหนำแน่นของของเหลวที่แตกต่ำงกันมีผลเล็กน้อยต่อกำรวัด
- Float ไม่ได้รับผลกระทบจำกควำมดัน
- สำหรับของเหลวที่มีควำมหนืดมำก ไม่ควรใช้ external float chamber เพรำะอำจเกิดกำรอุด
ตันได้
Displacer
เป็นเครื่องมือวัดที่ใช้หลักกำรของอำร์คิมิดิส คือหลักกำรแทนที่ของมวลในของเหลวโดย
ถ้ำมีมวลถูกจมลงไป ในของเหลวหนึ่งๆน้ำหนักของมวลนั้นจะมีค่ำเท่ำกับแรงพยุงตัวที่ของเหลวมี
ต่อมวลที่ถูกแทนที่ โดยกำรทำงำนของ Displacer คือเมื่อระดับของเหลวสู งขึ้นจะทำกำรดันแท่ง
Displacer ให้ลอยขึ้นมำและเรำก็ทำกำรอ่ำนค่ำระดับปัจจุบันได้

รูปที่ 3-7 Displacer

3 -6
การวัดและควบคุมกระบวนการ
เรียบเรียงโดย สยาม จงสุขเกษม

รูปที่ 3-8 ตัวอย่ำง Displacer และอุปกรณ์ประกอบ


ที่มำ : (TRANSACTIONS Volume 4 FLOW & LEVEL MEASUREMENT , 1998 , หน้ำ 83)
ในที่นี้
FS + Fb = Fg FS =suspended force
FS = Fg - Fb Fg = แรงจำกแรงโน้มถ่วง
FS = mg -rfgVd Fb = แรงพยุงจำกของเหลว
m = มวลของ displacer
g = อัตรำเร่งจำกแรงโน้มถ่วง
Vd = ปริมำตรของเหลวที่ถูกแทนที่
rf = ควำมหนำแน่นของของเหลว

การวัดระดับแบบทางอ้อม (Indirect Level Measurement)


การวัดโดยอาศัยหลักการทาง Hydrostatic
Bubbler
เป็นวิธที ี่เรำจะมีหลอดเล็กๆใส่ลงไปในถังภำยในตัวกลำงที่จะวัดและทำกำรใส่อำกำศลงไป
ในหลอดนัน้ โดยถ้ำควำมดันภำยในหลอดยังมำกกว่ำควำมดันในถังที่ตำแหน่งที่เรำสนใจนั้น จะเกิด
ฟองอำกำศขึ้นมำบนผิวของตัวกลำงจนกระทั่งควำมดันของทั้งสองบริเวณมีค่ำเท่ำกันฟองอำกำศก็

3 -7
การวัดและควบคุมกระบวนการ
เรียบเรียงโดย สยาม จงสุขเกษม
จะหำยไปซึ่งถ้ำ Level ต่ำควำมดันต้ำนน้อย Pressure ที่วัดได้ก็จะต่ำแต่ถ้ำ Level มำกควำมดันต้ำน
สูง Pressure ที่ได้ก็จะมำก

รูปที่ 3-9 (a) ใช้วัดกรณีถังเปิด (b) ใช้วัดกรณีถังปิด


ที่มำ : (TRANSACTIONS Volume 4 FLOW & LEVEL MEASUREMENT , 1998 , หน้ำ 79)
ข้อดี
1. ติดตั้งง่ำย
2. เหมำะสำหรับของเหลวที่มีกำรกัดกร่อน
3. ไม่เกิดอันตรำยจำกกำรเกิดปฏิกิริยำภำยใน
4. อุณหภูมิไม่มีผลต่อกำรวัด
ข้อเสีย
1. ต้องมีกำรติดตั้งระบบจ่ำยลม
2. อำจเกิดค่ำผิดพลำดจำกฟองอำกำศที่ข้ำงภำยในท่อ
3. ไม่เหมำะกับกำรใช้กับ Vessels
Different Pressure
วิธีนี้เป็นวิธีที่มีควำม simple และมีกำรใช้อย่ำงแพร่หลำยมำกที่สุดคือ กำรวัดควำมสูงของ
ตัวกลำงที่ต้องกำรวัดโดยกำรวัดค่ำของควำมดันที่แตกต่ำงกันระหว่ำงก้นถังและฝำถังหรือในกรณีที่
ภำชนะนั้ น มี ลั ก ษณะเป็ น ภำชนะเปิ ด เรำสำมำรถที่ จ ะวั ด ควำมดั น ที่ ก้ น ถั งเที ย บกั บ ควำมดั น
บรรยำกำศได้ซึ่งเครื่องมือวัดที่เรำนำมำให้จะเป็นพวก Different Pressure Transmitter หรือ DP cell

3 -8
การวัดและควบคุมกระบวนการ
เรียบเรียงโดย สยาม จงสุขเกษม
แต่กำรใช้ DP cell นั้นต้องระวังเรื่องของอุณหภูมิเพรำะจะมีผลต่อควำมถ่วงจำเพำะของของเหลวซึ่ง
อำจส่งผลให้ค่ำที่วัดได้มีควำมผิดพลำด

รูปที่ 3-10 DP Cell

รูปที่ 3-11 กำรติดตั้ง DP Cell เบื้องต้น


ที่มำ : (Lessons In Industrial Instrumentation , 2009 , หน้ำ 689)
กำรติดตั้ง DP Cell สำหรับวัดระดับของเหลว
5. ต้องกำหนดช่วงวัดเพื่อทำกำรสอบเทียบก่อน ต้องทรำบตำแหน่งของ transmitter เพื่อ
นำมำใช้ในกำรคำนวณ
6. dp cell ต้องได้รับกำรสอบเทียบด้วยอุปกรณ์มำตรฐำน (Pressure standard) ที่เหมำะสม
7. ต้องติดตั้ง Transmitter ในตำแหน่งที่เหมำะสมและต้องไล่อำกำศในท่อควำมดันออก
(Bleed) เพรำะฟองอำกำศที่ค้ำงในท่อจะทำให้กำรวัดผิดพลำดไป
กำรติดตั้ง DP Cell แบบ Dry lag
1. ด้ำนควำมดันสูง (PH) ต้องมีสกรูสำหรับไล่สิ่งอุดตันหรือฟองอำกำศที่อยู่ในท่อ
2. ด้ำนควำมดันต่ำ (PL) ต้องมีอุปกรณ์สำหรับถ่ำยของเหลวที่ควบแน่นใน Dry leg ออก
โดยทั่วไปใช้ Condensate pot
3. กำรติดตั้งแบบ Dry leg นี้ ใช้กับของเหลวที่ไม่อยู่ในสภำวะที่พร้อมจะควบแน่นได้ง่ำย
กำรติดตั้ง DP Cell แบบ Wet lag

3 -9
การวัดและควบคุมกระบวนการ
เรียบเรียงโดย สยาม จงสุขเกษม
1. กำรติดตั้งแบบ Wet leg ใช้กับของเหลวที่อยู่ในสภำวะพร้อมจะควบแน่นได้ง่ำย
2. ของเหลวใน Wet leg อำจเป็นของเหลวชนิดเดียวกับของเหลวในถังหรือต่ำงชนิดกันก็
ได้ (แต่ต้องมีควำมหนำแน่นมำกกว่ำ) ไม่กัดกร่อน และ มีจุดเยือกแข็งต่ำ
3. โดยทั่วไปมี Vent/Fill valve ทำงด้ำนบนของ Wet leg เพื่อใช้เติมของเหลวใน Wet leg
4. อำจมี Seal pot เพื่อให้มีของเหลวมำกเกินพอสำหรับ Wet leg
5. ด้ำนควำมดันสูง (PH) และ ด้ำนควำมดันต่ำ (PL) ต้องมีส กรูส ำหรับไล่สิ่ งอุดตันหรือ
ฟองอำกำศที่อยู่ในท่อ
6. ถ้ำอุณหภูมิแวดล้อม Wet leg เปลี่ยนแปลงมำก ควำมหนำแน่นของของเหลวใน Wet leg
จะเปลี่ยนไป ทำให้ค่ำที่วัดได้คลำดเคลื่อน
7. กำรรั่วของของเหลวใน Wet leg ทำให้กำรวัดผิดพลำดได้
8. ถ้ำของเหลวใน Wet leg เป็นชนิดเดียวกับของเหลวในถัง ตำแหน่งของ Transmitter ไม่
มีควำมสำคัญ (ไม่มีผลต่อค่ำที่ได้สอบเทียบไว้แล้ว)
การวัดโดยอาศัยหลักการของ Capacitive

รูปที่ 3-12 กำรวัดโดยอำศัยหลักกำร Capacitive


ที่มำ : (TRANSACTIONS Volume 4 FLOW & LEVEL MEASUREMENT , 1998 , หน้ำ 87)

กำรวัดในลักษณะนี้จะเป็นกำรวัดค่ำ Capacitive ระหว่ำงผนังของภำชนะ ซึ่ งในบำงกรณี


อำจจะวัดระหว่ำง ผนังของภำชนะกับแท่งตัวนำที่เรำใส่ลงไปก็ได้ซึ่งกำรทีข่ องเหลวที่เรำต้องกำรวัด
นั้ น มี ระดั บ แตกต่ ำงกั น ก็ จะส่ งผลให้ ค่ ำ Capacitive มี ค่ ำแตกต่ ำงกั น ออกไปด้ วย ซึ่ งกำรวั ด ใน

3 -10
การวัดและควบคุมกระบวนการ
เรียบเรียงโดย สยาม จงสุขเกษม
ลักษณะนี้เรำจะต้องทำกำร Shield GND ของระบบให้เพรำระดับของเหลวนั้นมีควำมสำมำรถใน
กำรนำไฟฟ้ำซึ่งถ้ำมีกำรรั่วไหลของกระแสไฟฟ้ำจะทำให้ได้ค่ำที่ไม่ถกู ต้อง
ข้อดี
1. ใช้ได้กับทั้งของแข็งและของเหลว
2. ไม่มีกำรเคลื่อนที่ของตัววัด
3. นิยมใช้กับสำรกัดกร่อน
ข้อเสีย
1. สำรที่ต้องกำรวัดต้องไม่นำกระแสไฟฟ้ำ
การวัดโดยอาศัยหลักการของ Ultrasonic
เป็นกำรวัดโดยจะทำกำรส่งสัญญำณ Ultrasonic ลงไปที่สื่อกลำงที่เรำต้องกำรวัดและจับ
เวลำระหว่ำง กำรส่งถึงกำรรับภำยในหนึ่งรอบซึ่งค่ำของเวลำก็จะแตกต่ำงกันไปตำมระยะห่ำงของ
ระดับตัวกลำง ที่เรำต้องกำรวัดซึ่งวิธีนี้จะเป็นวิธีที่มีลักษณะเป็น Non Contact คือไม่จำเป็นต้องให้
อุปกรณ์กำรวัด สัมผัสกับสิ่งที่ต้องกำรวัดซึ่งกำรใช้วิธีนี้จะไม่เหมำะกับสำรที่มีลักษณะเป็นโฟม
ฟองหรือมีอปุ กรณ์ต่ำงๆภำยใน Tank

รูปที่ 3-13 (a) กำรวัดโดยอำศัยหลักกำร Ultrasonic (b) เครื่องมือวัดแบบ Ultrasonic


ข้อดี
1. ใช้ได้กับของเหลวทุกชนิด ยกเว้นกลุ่มที่มีสำรแขวนลอย
2. ไม่มีผลกระทบจำกควำมชื้นหรือกำรนำ
ข้อเสีย
1. ของเหลวที่จะวัดต้องมีกำรสะท้อนที่ดีและไม่มีสำรแขวนลอย
2. ไม่เหมำะกับกำรวัดในพื้นที่ที่มีควำมดันสูง
3. ต้องใช้อุปกรณ์เฉพำะเท่ำนั้น

3 -11
การวัดและควบคุมกระบวนการ
เรียบเรียงโดย สยาม จงสุขเกษม
4. ใช้ได้กับอุณหภูมิไม่เกิน 170 ๐C
การวัดโดยอาศัยหลักการของ Radar
เป็ น กำรวั ด โดยจะท ำกำรส่ งสั ญ ญำณคลื่ น ควำมถี่ ต่ อ เนื่ อ งค่ ำหนึ่ งซึ่ งนิ ย มให้ เป็ น คลื่ น
Microwave ลงไปยังของเหลวที่เรำต้องกำรจะตรวจจับและรอจนกว่ำคลื่นที่เรำทำกำรส่งลงไปจะ
สะท้อนกลับมำโดยทำกำรจับเวลำ ตั่งแต่ส่งลงไปจนกระทั่งสะท้อนกลับมำแล้วนำไปคำนวณค่ำ
ระดับของของเหลว

รูปที่ 3-14 (a) กำรวัดโดยอำศัยหลักกำร Radar (b) เครื่องมือวัดแบบ Radar


ข้อดี
1. Accuracy สูง
2. ใช้วัดระดับของถุงพลำสติก
ข้อเสีย
1. รำคำแพง
การวัดโดยอาศัยหลักการของ Laser
หลักกำรของกำรใช้ Laser จะเหมือนกับกำรใช้ Ultrasonic และ Microwave คือกำรจับเวลำ
กำรเดินทำงของแสง Laser ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็น Infrared โดยหลักกำรของ Laser นั้นมักจะนำไปใช้
กับสำรทีเ่ ป็นของแข็ง

รูปที่ 3-15 กำรวัดโดยอำศัยหลักกำร Laser


ที่มำ : (TRANSACTIONS Volume 4 FLOW & LEVEL MEASUREMENT , 1998 , หน้ำ 96)

3 -12
การวัดและควบคุมกระบวนการ
เรียบเรียงโดย สยาม จงสุขเกษม
Vibrating level switch
กำรวัดระดับในลักษณะนี้จะต้องประกอบไปด้ วยชุดส้อมเสียงที่ทำกำรสั่นตลอดเวลำซึ่ ง
หลักกำร คือ ควำมถี่ในกำรสั่นของส้อมเสียงนั้นจะเปลี่ยนแปลงไปเมื่ออยู่ในสภำวะที่แตกต่ำง กัน
เช่นเมื่อระดับของสำรนั้นเพิ่มมำท่วมที่ตัวส้อมเสียงควำมถี่ที่ได้ก็จะต่ำงจำกกำรที่ส้อมเสียงสั่นบน
อำกำศ

รูปที่ 3-16 Vibrating level switch และโครงสร้ำงภำยใน


ที่มำ : (Process Measurement and Analysis VOLUME I , 1995 , หน้ำ 557)

รูปที่ 3-17 แสดงกำรติดตั้ง Vibrating level switch


ที่มำ : (Process Measurement and Analysis VOLUME I , 1995 , หน้ำ 558)
ข้อดี
1. ย่ำนกำรวัดกว้ำง
2. รำคำไม่แพง
3 -13
การวัดและควบคุมกระบวนการ
เรียบเรียงโดย สยาม จงสุขเกษม
3. บำรุงรักษำง่ำย
ข้อเสีย
1. วัตถุที่วัดต้องมีขนำดไม่เกิน 10 mm
2. สำรแขวนลอยมีขนำดไม่เกิน 10 mm
Level paddle switch
ลักษณะกำรวั ดแบบนี้ หลั กกำรคือจะปล่อยให้ ใบพั ดทำกำรหมุ นไปเรื่อยๆจนกระทั่ งตัว
สื่อกลำงที่เรำต้องกำรวัดนั้นเพิ่มขึ้นมำจนถึงระดับที่เรำต้องกำรซึ่งจะทำให้ใบพัดหยุดหมุนเรำก็จะ
สำมำรถทรำบได้ ว่ำถึงระดับ ที่เรำต้องกำรแล้วซึ่งวิธีนี้ตัวกลำงที่เรำต้องกำรวัดนั้นจะต้องมีควำม
หนำแน่นค่อนข้ำงมำกพอที่จะทำให้ใบพัดหยุดหมุนได้และกำรติดตัง้ ควรจะติดตั้งให้หำ่ งจำกทำงที่
สำรทีเ่ รำสนใจจะไหลผ่ำน

รูปที่ 3-18 Level Paddle switch และวิธีกำรติดตัง้


ที่มำ : (Process Measurement and Analysis VOLUME I , 1995 , หน้ำ 531)

Level conductivity switch


กำรวัดในลักษณะนี้เหมำะกับกำรวัดสำรที่สำมำรถนำไฟฟ้ำได้ซึ่งเมื่อสื่อกลำงที่เรำต้องกำร
วัดนั้นเพิ่มขึ้นมำจนถึงแท่งตัวนำจนเกิดกำรไหลของกระแสไฟฟ้ ำขึ้นทำให้เรำสำมำรถทรำบได้ว่ำ
ตอนนีส้ ื่อกลำงที่เรำต้องกำรวัดนัน้ เพิ่มมำจนถึงระดับที่ต้องกำรแล้ว

3 -14
การวัดและควบคุมกระบวนการ
เรียบเรียงโดย สยาม จงสุขเกษม

รูปที่ 3-19 Level conductivity switch

รูปที่ 3-20 กำรติดตั้ง Level conductivity switch


ที่มำ : (Process Measurement and Analysis VOLUME I , 1995 , หน้ำ 448)

กำรวัดระดับในถังที่มีขนำดใหญ่อย่ำงเช่น ถังเก็บน้ำมันหรือสำรต่ำงๆที่มีขนำดใหญ่มำกๆ
โดยวิธีกำรวัดระดับของเหลวในถังขนำดใหญ่นนั้ มีดงั นี้
• Manual gauging เป็นวิธีที่ไม่นิยมใช้สำหรับถังที่มีขนำดใหญ่มำกๆ กำร manual gauging
คือกำรใช้ Dip stick หรือแท่งไม้อะไรซักแท่งหนึ่งที่มี scale หรือมีกำรขีดจุดอ้ำงอิงไว้หย่อน ลงไป
ในถังแล้วทำกำรเช็คว่ำระดับถึงขนำดที่ต้องกำรหรือไม่

3 -15
การวัดและควบคุมกระบวนการ
เรียบเรียงโดย สยาม จงสุขเกษม
• Float and tape gauging เป็นวิธีกำรวัดวิธีแรกๆที่ถูกคิดค้นขึ้นมำเพื่อวัดระดับของเหลวใน
ถังขนำดใหญ่โดยวิธีนี้จะเป็นกำรนำเทปขนำดยำวโดยด้ำนหนึ่งติดอยู่กับทุ่นลอยอีกด้ำนหนึ่งติดอยู่
กับรอกที่เชื่อมต่อกับชุดสำหรับดึงรอกโดยที่เทปจะมีกำรเจำะรูให้มีควำมห่ำงขนำดเท่ำๆกันซึ่งเมื่อ
เรำทำกำรหย่อนเทปลงไปเรำก็ จะทำกำรนับจำนวนรูบนเทปด้วยจนกระทั่ งทุนลอยถึงระดับของ
ของเหลวแล้วเอำมำทำกำรหำค่ำระดับปัจจุบัน

รูปที่ 3-21 Float and tape gauging


ที่มำ : (Process Measurement and Analysis VOLUME I , 1995 , หน้ำ 538)

• Servo level gauging กำรวัดระดับในถังขนำดใหญ่โดยอำศัยหลักกำรของแรงลอยตั วและ


กำรควบคุมกำรทำงำนของ Servo motor โดยกำรวัดวิธีนี้จะเป็นไปดัง รูปที่ 22 คือที่ด้ำนหนึ่งของ
servo gauge ที่อยู่ติดกับของเหลวจะทำกำรติดตั้ง Displacer เอำไว้ส่วนอีกด้ำนหนึ่งจะเป็นส่วนของ
Servo motor และชุดควบคุมโดยหลักกำรคือถ้ำระดับของของเหลวอยู่ในระดับที่อ้ำงอิงปกติ servo
motor จะไม่มีกำรทำงำนใดๆเกิ ดขึ้นแต่เมื่อระดับของของเหลวมี กำรเปลี่ยนแปลงไปจะส่ งผลให้
แรงตึงของสำยที่ยึดติดกับตัว Displacer มีกำรเปลี่ยนแปลงซึ่งจะทำให้ระบบพยำยำมที่จะทำให้แรง
ตึงกลับมำเท่ำเดิมโดยกำรควบคุมกำรทำงำนของ servo motor จนกว่ำแรงตึงจะกลับมำมีค่ำสมดุล
แล้วทำกำรจับเอำควำมเปลี่ยนแปลงของ servo motor นัน้ มำคำนวณเป็นระดับปัจจุบัน

รูปที่ 3-22 Tank servo gauging


3 -16
การวัดและควบคุมกระบวนการ
เรียบเรียงโดย สยาม จงสุขเกษม
• Radar gauging วิธนี กี้ ็จะเป็นวิธีเหมือนกับที่ได้กล่ำวไปแล้วขัน้ ต้นคือกำรส่งสัญญำณคลื่น
ควำมถี่ หนึ่งๆ ลงไปในถั งในแนวตั้งฉำกกั บผิวของของเหลวแล้วจับเวลำระหว่ ำงที่ สั ญญำณถู ก
ส่งออกไปจนกระทั่งกลับมำที่ตัวรับและนำค่ำเวลำที่เปลี่ยนแปลงไปนั้นมำคำนวณเพื่อแสดงผลลัพธ์
ออกมำเป็นระดับของของเหลวปัจจุบนั

รูปที่ 3-23 Radar level gauging

• Hydrostatic level gauging เป็นวิธีกำรวัดโดยอำศัยควำมดันที่แตกต่ำงกันระหว่ำงแรงดัน


ที่ก้นถังกับฝำถังเพื่อนำมำคำนวณหำระดับของของเหลว

รูปที่ 3-24 Hydrostatic level gauging

3 -17
การวัดและควบคุมกระบวนการ
เรียบเรียงโดย สยาม จงสุขเกษม

แบบทดสอบก่อนเรียน
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
1. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของกำรนำเอำเครื่องมือวัดระดับใช้
ก. วัดระดับของเหลวอย่ำงต่อเนื่อง เพื่อใช้ควบคุมระดับของของเหลว
ข. วัดไปเรื่อยๆจนกระทั่งถึงค่ำที่ตรงตำมเงื่อนไข
ค. วัดสำรที่มีลักษณะเป็นของแห้งหรือของแข็ง
ง. ถูกทุกข้อ
2. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยในกำรเลือกใช้เครื่องมือวัดระดับ
ก. กำรสั่นสะเทือน ข. อุณหภูมิสภำพแวดล้อม
ค. ควำมหนำแน่นของสำร ง. อัตรำกำรไหลของของไหล
3. กำรวัดระดับแบ่งออกเป็นกี่ลักษณะ อะไรบ้ำง
ก. 2 ลักษณะ คือ Direct level measurement และ Indirect level measurement
ข. 2 ลักษณะ คือ Direct level measurement และ Discrete level measurement
ค. 2 ลักษณะ คือ Discrete level measurement และ Indirect level measurement
ง. 2 ลักษณะ คือ Discrete level measurement และ Continuous level measurement
4. จำกรูปเป็นเครื่องมือวัดระดับแบบใด

ก. Float ข. Bubbler
ค. Displacer ง. Sight glass
5. จำกรูปเป็นเครื่องมือวัดระดับแบบใด

3 -18
การวัดและควบคุมกระบวนการ
เรียบเรียงโดย สยาม จงสุขเกษม
ก. Float ข. Bubbler
ค. Displacer ง. Sight glass
6. กำรวัดระดับโดยใช้เครื่องมือวัดแบบ Float ใช้หลักกำรใดในกำรวัด
ก. ใช้หลักควำมดันแตกต่ำง ข. ใช้หลักกำรของแรงลอยตัว
ค. ใช้หลักกำรแทนที่ของมวลในของเหลว ง. ใช้หลักกำรเปลี่ยนค่ำควำมจุ
7. ข้อใดกล่ำวถึงเครื่องมือวัดระดับโดยใช้หลักกำรเปลี่ยนค่ำควำมจุถูกต้อง
ก. ในเครื่องมือวัดต้องมีแผ่นตัวนำ 2 แผ่นเท่ำนั้น
ข. ของเหลวภำยในภำชนะต้องเป็นตัวนำไฟฟ้ำเท่ำนั้น
ค. ภำชนะที่ใส่ของเหลวที่ต้องกำรวัดต้องเป็นตัวนำเท่ำนั้น
ง. ภำชนะที่ใส่ของเหลวที่ต้องกำรวัดต้องเป็นฉนวนเท่ำนั้น
8. ข้อใดไม่ใช่เครื่องมือวัดระดับที่อำศัยกำรจับเวลำกำรเดินทำงของสัญญำณ
ก. Radar ข. Laser
ค. Vibrating ง. Ultrasonic
9. จำกรูปเป็นเครื่องมือวัดระดับแบบใด

ก. Vibrating ข. Paddle
ค. Conductivity ง. Ultrasonic
10. เครื่องมือวัดระดับแบบใดที่ไม่จำเป็นต้องสัมผัสกับของเหลว
ก. Float ข. Displacer
ค. Ultrasonic ง. Conductivity
11. จำกรูปเป็นเครื่องมือวัดระดับแบบใด

3 -19
การวัดและควบคุมกระบวนการ
เรียบเรียงโดย สยาม จงสุขเกษม
ก. Float ข. Displacer
ค. Ultrasonic ง. Conductivity
12. ข้อใดเป็นข้อจำกัดของเครื่องมือวัดระดับแบบ Sight glass
ก. กำรติดตั้งยำก
ข. กำรอ่ำนค่ำโดยตรงอำจไม่สะดวก
ค. ยำกสำหรับกำรอ่ำนค่ำ กรณีของเหลวมีสีใส
ง. กำรใช้ในสภำพแวดล้อมที่ต่ำงกันมำกระหว่ำงภำยในและภำยนอก
13. ข้อใดไม่ใช่กำรวัดระดับแบบ Direct level measurement
ก. ก้ำนวัดระดับน้ำมัน ข. ตำแมวมองระดับ
ค. ไฟเตือนระดับน้ำมัน ง. ลูกลอยช่วยอ่ำนระดับในหลอดแก้ว
14. จุดอ้ำงอิงของกำรวัดแบบควำมดันแตกต่ำงในระบบถังปิดคือข้อใด
ก. ควำมสูงของถัง ข. ควำมดันบรรยำกำศ
ค. จุดต่อท่อแยกควำมดัน ง. ควำมดันในถังเหนือของเหลว
15. เครื่องมือวัดระดับชนิดใดที่ไม่สำมำรถใช้วัดระดับของของแข็งได้
ก. Bubbler ข. Paddle
ค. Ultrasonic ง. Conductivity

3 -20
การวัดและควบคุมกระบวนการ
เรียบเรียงโดย สยาม จงสุขเกษม

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน

1. ก. ถูกทุกข้อ
2. ง. อัตรำกำรไหลของของไหล
3. ก. 2 ลักษณะ คือ Direct level measurement และ Indirect level measurement
4. ง. Sight glass
5. ค. Displacer
6. ข. ใช้หลักกำรของแรงลอยตัว
7. ค. ภำชนะที่ใส่ของเหลวที่ต้องกำรวัดต้องเป็นตัวนำเท่ำนั้น
8. ค. Vibrating
9. ข. Paddle
10. ค. Ultrasonic
11. ง. Conductivity
12. ก. กำรติดตั้งยำก
13. ค. ไฟเตือนระดับน้ำมัน
14. ง. ควำมดันในถังเหนือของเหลว
15. ก. Bubbler

3 -21
การวัดและควบคุมกระบวนการ
เรียบเรียงโดย สยาม จงสุขเกษม

แบบทดสอบหลังเรียน
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
1. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของกำรนำเอำเครื่องมือวัดระดับใช้
ก. วัดระดับของเหลวอย่ำงต่อเนื่อง เพื่อใช้ควบคุมระดับของของเหลว
ข. วัดไปเรื่อยๆจนกระทั่งถึงค่ำที่ตรงตำมเงื่อนไข
ค. วัดสำรที่มีลักษณะเป็นของแห้งหรือของแข็ง
ง. ถูกทุกข้อ
2. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยในกำรเลือกใช้เครื่องมือวัดระดับ
ข. กำรสั่นสะเทือน ข. อุณหภูมิสภำพแวดล้อม
ค. ควำมหนำแน่นของสำร ง. อัตรำกำรไหลของของไหล
3. กำรวัดระดับแบ่งออกเป็นกี่ลักษณะ อะไรบ้ำง
ก. 2 ลักษณะ คือ Direct level measurement และ Indirect level measurement
ข. 2 ลักษณะ คือ Direct level measurement และ Discrete level measurement
ค. 2 ลักษณะ คือ Discrete level measurement และ Indirect level measurement
ง. 2 ลักษณะ คือ Discrete level measurement และ Continuous level measurement
4. จำกรูปเป็นเครื่องมือวัดระดับแบบใด

ข. Float ข. Bubbler
ค. Displacer ง. Sight glass
5. จำกรูปเป็นเครื่องมือวัดระดับแบบใด

3 -22
การวัดและควบคุมกระบวนการ
เรียบเรียงโดย สยาม จงสุขเกษม
ก. Float ข. Bubbler
ค. Displacer ง. Sight glass
6. กำรวัดระดับโดยใช้เครื่องมือวัดแบบ Float ใช้หลักกำรใดในกำรวัด
ข. ใช้หลักควำมดันแตกต่ำง ข. ใช้หลักกำรของแรงลอยตัว
ค. ใช้หลักกำรแทนที่ของมวลในของเหลว ง. ใช้หลักกำรเปลี่ยนค่ำควำมจุ
7. ข้อใดกล่ำวถึงเครื่องมือวัดระดับโดยใช้หลักกำรเปลี่ยนค่ำควำมจุถูกต้อง
ก. ในเครื่องมือวัดต้องมีแผ่นตัวนำ 2 แผ่นเท่ำนั้น
ข. ของเหลวภำยในภำชนะต้องเป็นตัวนำไฟฟ้ำเท่ำนั้น
ค. ภำชนะที่ใส่ของเหลวที่ต้องกำรวัดต้องเป็นตัวนำเท่ำนั้น
ง. ภำชนะที่ใส่ของเหลวที่ต้องกำรวัดต้องเป็นฉนวนเท่ำนั้น
8. ข้อใดไม่ใช่เครื่องมือวัดระดับที่อำศัยกำรจับเวลำกำรเดินทำงของสัญญำณ
ข. Radar ข. Laser
ค. Vibrating ง. Ultrasonic
9. จำกรูปเป็นเครื่องมือวัดระดับแบบใด

ข. Vibrating ข. Paddle
ค. Conductivity ง. Ultrasonic
10. เครื่องมือวัดระดับแบบใดที่ไม่จำเป็นต้องสัมผัสกับของเหลว
ข. Float ข. Displacer
ค. Ultrasonic ง. Conductivity
11. จำกรูปเป็นเครื่องมือวัดระดับแบบใด

3 -23
การวัดและควบคุมกระบวนการ
เรียบเรียงโดย สยาม จงสุขเกษม
ข. Float ข. Displacer
ค. Ultrasonic ง. Conductivity
12. ข้อใดเป็นข้อจำกัดของเครื่องมือวัดระดับแบบ Sight glass
ก. กำรติดตั้งยำก
ข. กำรอ่ำนค่ำโดยตรงอำจไม่สะดวก
ค. ยำกสำหรับกำรอ่ำนค่ำ กรณีของเหลวมีสีใส
ง. กำรใช้ในสภำพแวดล้อมที่ต่ำงกันมำกระหว่ำงภำยในและภำยนอก
13. ข้อใดไม่ใช่กำรวัดระดับแบบ Direct level measurement
ข. ก้ำนวัดระดับน้ำมัน ข. ตำแมวมองระดับ
ค. ไฟเตือนระดับน้ำมัน ง. ลูกลอยช่วยอ่ำนระดับในหลอดแก้ว
14. จุดอ้ำงอิงของกำรวัดแบบควำมดันแตกต่ำงในระบบถังปิดคือข้อใด
ข. ควำมสูงของถัง ข. ควำมดันบรรยำกำศ
ค. จุดต่อท่อแยกควำมดัน ง. ควำมดันในถังเหนือของเหลว
15. เครื่องมือวัดระดับชนิดใดที่ไม่สำมำรถใช้วัดระดับของของแข็งได้
ข. Bubbler ข. Paddle
ค. Ultrasonic ง. Conductivity

3 -24
การวัดและควบคุมกระบวนการ
เรียบเรียงโดย สยาม จงสุขเกษม

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน

1. ก. ถูกทุกข้อ
2. ง. อัตรำกำรไหลของของไหล
3. ก. 2 ลักษณะ คือ Direct level measurement และ Indirect level measurement
4. ง. Sight glass
5. ค. Displacer
6. ข. ใช้หลักกำรของแรงลอยตัว
7. ค. ภำชนะที่ใส่ของเหลวที่ต้องกำรวัดต้องเป็นตัวนำเท่ำนั้น
8. ค. Vibrating
9. ข. Paddle
10. ค. Ultrasonic
11. ง. Conductivity
12. ก. กำรติดตั้งยำก
13. ค. ไฟเตือนระดับน้ำมัน
14. ง. ควำมดันในถังเหนือของเหลว
15. ก. Bubbler

3 -25

You might also like