You are on page 1of 53

Working capital

management
ชานนท์ ชิงชยานุ รก
ั ษ์
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัย
เชียงใหม่
Outlines
 ความสำาคัญของการบริหารเงินทุนหมุนเวียน
 นโยบายการจัดหาเงินทุนหมุนสำาหรับสินทรัพย์
หมุนเวียน
 วงจรเงินทุนหมุนเวียน
 การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
 เงินสด (Cash)
 หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด (Marketable security)
 สินทรัพย์คงเหลือ (Inventory)
 ลูกหนี้ การค้า (Account receivable: A/R)
Working capital
management
 60% ของเวลาในการบริหารทางการเงิน ‘งานประจำา’
 มุ่งตอบคำาถาม 2 ข้อ
 “กิจการควรมีสินทรัพย์หมุนเวียนเท่าใดจึงจะเหมาะสม
และในแต่ละรายการควรมีสัดส่วนเท่าใด ???”
 “กิจการจะจัดหาเงินทุนสำาหรับสินทรัพย์หมุนเวียนอย่างไร ???”
 การบริหารเงินทุนหมุนเวียน คือ การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียนและหนี้
สินหมุนเวียน โดยมีวตั ถุประสงค์ให้ได้รบ
ั ผลตอบแทนตามเป้ าหมายที่
กำาหนด ณ ระดับความเสี่ยงที่เหมาะสม
Long & short term assets
and liabilities
Current Assets: Current Liabilities:
Cash Accounts Payable
Marketable Securities Accruals
Prepayments Short-Term Debt
Accounts Receivable Taxes Payable
Inventory

Fixed Assets: Long-Term Financing:


Investments Debt
Plant & Machinery Equity
Land and Buildings

 โดยเฉลี่ยสัดส่วนสินทรัพย์หมุนเวียนอยู่ท่ีประมาณเท่าใด
ของสินทรัพย์ท้ ังหมด ???
Net working capital
 เงินทุนหมุนเวียน (Working capital)
การลงทุนในสินทรัพย์หมุนเวียนของกิจการ อันประกอบ
ด้วย:
Cash, Marketable receivable, Inventory และ A/R
 เงินทุนหมุนเวียนสุทธิ (Net working capital)
= เงินทุนหมุนเวียน – หนี้ สินหมุนเวียน
The working capital cycle
สินค้าระหว่างการผลิต
Work in progress
วัตถุดบ
ิ สินค้าคงคลัง
Raw materials Finished goods stock
ต้นทุนการดำาเนิ นงาน
Operating cost ขาย
Sale

เจ้าหนี้ การค้า เงินสด ลูกหนี้ การค้า


Trade creditors Cash Trade debtors
Working capital policies
 สถานะเงินทุนหมุนเวียนสุทธิเป็ นบวก
(Positive position)
หนี้ สิน
สินทรัพย์ หมุนเวียน
หมุนเวียน
ทุนหมุนเวียนสุทธิ
หนี้ สิน
ระยะยาว
> 0 าไร
 ผลกำ
สินทรัพย์  สภาพ
และทุน
ประจำา คล่ความเสี
องสูง ่ยง
Working capital policies
 สถานะเงินทุนหมุนเวียนสุทธิเป็ นศูนย์
(Zero position)
สินทรัพย์ หนี้ สิน
หมุนเวียนหมุนเวียน
ทุนหมุนเวียนสุทธิ
หนี้ สิน = 0 าไร
 ผลกำ ปาน
สินทรัพย์  สภาพ ปาน
กลาง
ระยะยาว
ประจำา คล่ความเสี
องสูง ่ยง ปาน
กลาง
และทุน
กลาง
Working capital policies
 สถานะเงินทุนหมุนเวียนสุทธิเป็ นบวก
(Positive position)
สินทรัพย์ หนี้ สิน
หมุนเวียนหมุนเวียน
ทุนหมุนเวียนสุทธิ
สินทรัพย์ หนี้ สิน < 0 าไร
 ผลกำ
ประจำา ระยะยาว  สภาพ
และทุน คล่ความเสี
องสูง ่ยง
Working capital policies
 ลักษณะและทัศนคติของผู้บริหาร
 ประเภทและลักษณะของกิจการ
 ยอดขาย
 สภาพตลาดและการแข่งขัน
 นโยบายการดำาเนิ นงาน
 ความสามารถในการหาเงินทุนเมื่อต้องการ
Current asset investment
policy Conserv 3.3 X
Current assets
ative
(Baht) Average 4.3 X
3
0 Aggressiv6.3 X
2
0 e
0 Policy Turno
1 ver
0
0
0 5 10 15 Sales (Baht)
0
0 00 00
0
Current asset financing
strategies
 แหล่งเงินทุนของกิจการแบ่งถ้าแบ่งตามระยะเวลาของ
การจัดหา
 Short-term financing
 Long-term financing
 กลยุทธ์การจัดหาเงินทุนแบ่งออกเป็ น 3 ประเภทกว้างๆ
 Conservative strategy
 Aggressive strategy
 Hedging strategy (Matching strategy)
Current asset financing
strategies
A conservative Short-
financing policy term
Bah

financi
t

ng
Long-
term
FC
A
financi
PC
F
A ng
A Ti
Current asset financing
strategies
An aggressive
financing policy
Short-
term
financi
Bah

ng
t

FC Long-
A
PC term
F
A financi
A Ti
ng
Current asset financing
strategies Short-
A matching financing term
policy financi
เงิ นเบิกเกิน
บัญชี, ต
ng
เงินจ่าย
เจ้าหนี้ การ
ค้า, ค่า
Bah

ใช้จ่ายค้าง
t

จ่าย
FC Long-
A
PC term
F
A financi
A Ti
ng
Working capital & the cash
conversion cycle
วงจรดำาเนิ นงาน (Operating cycle)
 ช่วงเวลาของ
การได้รบ
ั วัตถุดิบ + ผลิตสินค้าเพื่อขาย + เก็บ
เงินสดจากลูกค้าได้
 OC = AAI + ACP
ออกคำาสัง่ รับสินค้า ขายสินค้า เก็บเงินสดจาก
ซื้ อ วงจรดำาเนิ นงาน ลูกหนี้

อายุเฉลี่ยสินค้าคง อายุเฉลี่ยลูกหนี้ การค้า


เหลือ
Working capital & the cash
conversion cycle
วงจรเงินสด (Cash cycle)
 = อายุเฉลี่ยสินค้าคงเหลือ + อายุเฉลี่ยลูกหนี้ การค้า -
อายุเฉลี่ยลูกหนี้ การค้า
อายุเฉลี่ยเจ้า วงจรเงินสด
หนี้ การค้า

ออกคำาสัง่ รับสินค้า ขายสินค้า เก็บเงินสดจาก


ซื้ อ วงจรดำาเนิ นงาน ลูกหนี้

อายุเฉลี่ยสินค้าคง อายุเฉลี่ยลูกหนี้ การค้า


เหลือ
Working capital & the cash
conversion cycle
ตัวอย่าง
สมมุตใิ ห้กจ
ิ การมีระยะเวลาเฉลี่ยในการเก็บสินค้า
120 วัน ระยะเวลาเฉลี่ยในการเก็บเงินจากลูกหนี้ 90
วัน และต้องชำาระเจ้าหนี้ ภายใน 30 วัน วงจรกระแส
เงินสดของบริษัทแห่งนี้ เป็ นเท่าใด
Cash turnover
 รอบการหมุนของเงินสด = 365 วัน
วงจร
เงินสด
 หากกิจการมีรอบการหมุนเวียนเงินสดที่สูง
ความต้องการการหาเงินสดมาใช้จะตำ่าลง
AAI, ACP & APP
 ในการหา อายุเฉลี่ยสินค้าคงเหลือ, อายุเฉลี่ยลูกหนี้ การค้า, อายุ
เฉลี่ยเจ้าหนี้ การค้า ซึ่งเป็ นองค์ประกอบในการคำานวณหาวงจร
กระแสเงินสดสามารหาได้จาก ข้อมูลในงบกำาไรขาดทุน และงบดุล
 อายุเฉลี่ยสินค้าคงเหลือ(AAI) = สินค้าคงเหลือ
x 365

ต้นทุนสินค้าขาย
 อายุเฉลี่ยของลูกหนี้ การค้า (ACP) = ลูกหนี้ การค้า x
365
ยอดขายเชื่อ
 อายุเฉลี่ยของเจ้าหนี้ การค้า (APP) = เจ้าหนี้ การค้า
x 365
ยอดซื้ อเชื่อ
Cash and marketable
security management
 วัตถุประสงค์ในการบริหารเงินสด คือ ต้องการให้กิจการมี
เงินสดเพียงพอสำาหรับการใช้จา่ ยตลอดเวลา
 เงินสด หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด
 เทคนิ คในการจัดการเงินสด
 Synchronisation of cash flow
 Cash cycle managemnt
 Determination of minimum cash balance
Cash and marketable
security management
การบริหารเงินสดรับให้สอดคล้องกับ เงินสดจ่าย (Synchronisation of cash
flow)
 ใช้งบประมาณเงินสด (Cash budget) เป็ นเครื่องมือในการวางแผนและ
บริหารให้กิจกรรมเงินสดรับและเงินสดจ่ายสอดคล้องกัน

 งบประมาณเงินสดช่วยให้ผู้บริหาร
 ทราบว่าเงินสดรับและจ่ายในแต่ละเดือนมากหรือน้อยเพียงใด
 ทราบว่าระยะเวลาที่กิจการจะมีเงินสดเกินหรือขาดเป็ นระยะสั้นหรือยาวเพียงใด
 ใช้เป็ นสัญญาณในการปรับนโยบายการบริหารเงินทุนหมุนเวียน
 …
Cash and marketable
security management
การบริหารวงจกระแสเงินสดให้มีประสิทธิภาพ (Cash cycle
management)
 การบริหารวงจรเงินสดที่ดต
ี อ
้ งทำาให้กระแสเงินสดรับมี
เพียงพอกับกระแสเงินสดจ่ายตลอดเวลา

 วิธก
ี ารที่นิยมใช้
 การชะลอการจ่ายเงินสดโดยยืดเวลาการชำาระหนี้
 เพิ่มอัตราการหมุนเวียนของสินค้าคงคลัง
 เร่งกระแสเงินสดรับโดยเร่งเก็บเงินจากลูกหนี้ ให้เร็ว
ขึ้น
Cash and marketable
security management
ตัวอย่าง
บริษทั ABC จำากัด เป็ นผ้ผ ู ลิตและจำาหน่ายอาหาร
สำาเร็จรูปชนิ ดหนึ่ ง ปกติบริษท
ั จะจ่ายค่าซื้ อวัตถุดบิ
ภายใน 30 วัน และกำาหนดให้ลูกค้าของบริษท ั จ่ายชำาระ
สินค้าภายใน 60 วัน จากการพิจารณาของฝ่ ายบริหาร
พบว่า ระยะเวลาเฉลี่ยในการชำาระหนี้ เจ้าหนี้ และระยะ
เวลาเฉลี่ยในการเก็บเงินจากลูกหนี้ ของบริษัท คือ 30
วัน และ 80 วัน ในขณะที่ระยะเวลาเฉลี่ยในการเก็บ
สินค้าคงคลังเพื่อขายคือ 70 วัน
Cash and marketable
security management
ตัวอย่าง (cont’d)
หากผู้บริหารต้องการปรับปรุงวงจรกระแสเงินสดให้มีประสิทธิภาพมาก
ขึ้นโดยมีนโยบายดังนี้
1. ยืดระยะเวลาในการชำาระหนี้ จาก 30 วันเป็ น 45 วัน
2. พยายามขายสินค้าให้เร็วขึ้น โดยเพิ่มการส่งเสริมการขายเพื่อทำาให้
อัตราหมุนเวียนสินค้าสูงขึ้น ระยะเวลาเฉลี่ยในการเก็บสินค้าเพื่อขาย
ลดลงจาก 70 วันเหลือประมาณ 45 วัน
3. พยายามเร่งรัดการชำาระหนี้ จากลูกหนี้ ให้ตรงตามนโยบายสินเชื่อที่
กำาหนด คือ ภายใน 60 วัน
Cash and marketable
security management
การบริหารวงจกระแสเงินสดให้มป ี ระสิทธิภาพ (Cash cycle management)
 “Float” คือ ระยะเวลาของเช็คที่ได้สงั ่ จ่ายจนกระทัง่ ได้รบ
ั เงินสดจากเช็คที่นำา
ไปขึ้นเงิน
 Mailing float
 Processing float
 Transit float
 มูลค่าของระยะเวลาที่กิจการต้องรอรับเงินสดจากลูกค้าในฐานะผู้ขาย
ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Negative float)
 มูลค่าของระยะเวลาที่กิจการในฐานะผู้ซื้อจ่ายเงิน
ผลดีตอ
่ กิจการ (Positive float)
Cash and marketable
security management
การบริหารวงจกระแสเงินสดให้มป
ี ระสิทธิภาพ
(Cash cycle management)
 Lock
ลูกค้าbox collection
ลูกค้า system
ลูกค้า ลูกค้า

เจ้าหน้าที่
ตู้ไปรษณี ย์ นำาเอกสาร
ธนาคารรับ ทางการเงิน
มอบอำานาจ มาเข้าบัญชี
เปิ ดตู้เก็บ ธนาคารสาขาในท้องถิ่นของกิจการที่
เอกสาร สาขา
ทางการเงิน
ธนาคารศูนย์กลางของกิจการ
Cash and marketable
security management
การกำาหนดยอดเงินขั้นสดคงเหลือขั้นตำ่าที่เหมาะสม (Determination of
minimum cash balance)
 เป็ นการกำาหนดจำานวนเงินสดขั้นตำ่าที่เหมาะสม
หากกิจการมีเงินสดเกินความต้องการ ลงทุนในหลักทรัพย์
หากกิจการต้องการเงินสด ขายหลักทรัพย์
 Cash conversion model ที่ช่วย balance ระหว่าง
‘Cost benefit ของการถือเงินสด’ และ ‘การลงทุนในหลัก
ทรัพย์ ’
 Baumol model
 Miller-Orr model
Cash and marketable
security management
Baumol model
 นำาเสนอโดย William J. Baumol
 ใช้คำานวณหาจำานวนเงินสดขั้นตำ่าที่กจ
ิ การต้องมีไว้ต้ งั แต่ตน
้ งวด
เพื่อดำาเนิ นการ
 ข้อสมมุตฐ ิ านที่สำาคัญ คือ
 การรับและจ่ายเงินสดเป็ นไปอย่างสมำ่าเสมอและคาดคะเนได้
 ถ้ามีเงินสดส่วนเกินจะนำาไปลงทุนในหลักทรัพย์ ถ้าเงินสดขาดจะ
ขายหลักทรัพย์ดงั กล่าวเพื่อเปลี่ยนเป็ นเงินสดทันที
 ค่าใช้จ่ายในการกู้ยืมเท่ากันทุกครั้ง
Cash and marketable
security management
Baumol model
 ในตัวแบบนี้ ต้นทุนที่เกี่ยวข้องในการบริหารเงินสด
ได้แก่
 ค่าใช้จา่ ยในการถือเงินสด (Opportunity cost) =
k(C/2)
 ค่าใช้จา่ ยในการจัดหาเงินสด (Conversion cost) =
F(T/C)
 ค่าใช้จา่ ยรวม = K(C/2)
2 × conversion cos t ×+ F(T/C)
demand for cash 2( F )(T )
ECQ = =
 จำานวนที่เหมาะสมที่ก่อให้y เcos
opportunit กิดt ต้นทุนที่ต่ำาทีk่สุด
Cash and marketable
security management
Baumol model
ผู้บริหารการเงินของบริษัท ABC จำากัด ประมาณว่า
 ความต้องการเงินสดเพื่อการใช้จ่ายในเดือนหน้าจะเท่ากับเดือนนี้
คือ 400,000 บาท
 ค่าใช้จ่ายในการเปลี่ยนหลักทรัพย์เป็ นเงินสดของบริษัทโดยเฉลี่ย
เท่ากับ 150 บาท/ครั้ง
 อัตราผลตอบแทนจากการลงทุนในหลักทรัพย์ประมาณ 10% ต่อ
ปี
เงินสดขั้นตำ่าที่กจ
ิ การควรถือไว้เพื่อการดำาเนิ นการต่อเดือนควร
เป็ นเท่าใด ???
Cash and marketable
security management
The Miller-Orr model
 นำาเสนอโดย Merton Miller และ Daniel Orr
 Model ของ Baumol มีข้อเสียคือ สมมุติให้กิจการมีการรับและจ่ายเงินสด
อย่างสมำ่าเสมอ ซึ่งไม่เป็ นจริงในทางปฏิบต
ั ิ
 Miller-Orr model เสนอให้มีการกำาหนดระดับตำ่าสุด(L)และสูงสุด(U)แทน
 หากยอดเงินสดคงเหลือ มีมากจนถึงระดับสูงสุด (U) ให้นำาเงินสดส่วน
เกินไปลงทุนหลักทรัพย์ จนทำาให้ยอดเงินเหลือที่ระดับปกติ (C)
 หากยอดเงินสดคงเหลือ ลดลงถึงระดับตำ่าสุด (L) ให้ขายหลักทรัพย์
เพื่อทำาให้ยอดเงินสดคงเหลือเพิ่มขึ้นกลับไปสู่ระดับปกติ (C)
Cash and marketable
security management
The Miller-Orr model
 ช่วงระหว่างระดับเงินสุดสูงสุด (U) และระดับเงินสดตำ่าสุด
(L) หาได้จาก

3 3×conversion cos t × var iance of daily cash flows


4×daily opportunity cos t

U=L+S
 C = L + S/3
 ยอดเงินสดเฉลี่ย = (4C-L)/3
Cash and marketable
security management
The Miller-Orr model
 บริษัท XYZ จำากัด คาดว่าควรมีเงินสดตำ่าสุด 100,000
บาท ฝ่ ายบริหารได้พิจารณาค่าความแปรปรวนของกระแส
เงินสดในแต่ละวันประมาณ 24,000 บาท โดยมีค่าใช้จ่าย
ในการซื้ อหรือขายหลักทรัพย์ 500 บาทต่อครั้ง ปั จจุบน

บริษัทได้รบ
ั ผลตอบแทนจากการลงทุนระยะสั้น 0.2% ต่อ
วัน จงพิจารณายอดเงินสดที่เหมาะสมสำาหรับบริษัท
Marketable security
เกณฑ์ในการเลือกลงทุนในหลักทรัพย์ท่ีต้องการ
 ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial risk)
 ความเสี่ยงของอัตราดอกเบี้ย (Interest rate risk)
 สภาพคล่อง (Liquidity)
 ผลตอบแทน (Yields)
Marketable security
ประเภทของหลักทรัพย์ท่ต ี ลาดต้องการ
 ตัว๋ เงินคลัง (Treasury bill)
 ตัว๋ เงินที่ธนาคารรับรอง (Banker’s acceptances)
 บัตรเงินฝาก (Negotiable certificates of deposit)
 ตราสารพาณิ ชย์ (Commercial paper)
 สัญญาซื้ อคืน (Repurchase agreement)
 กองทุนรวมตลาดเงิน (Money market mutual fund)
Accounts receivable
management
 กิจการผลิตสินค้าส่วนใหญ่มีลูกหนี้ และสินค้าคงเหลือรวมกันมี
มูลค่าประมาณ 80% ของมูลค่าสินทรัพย์หมุนเวียนรวม
 ลูกหนี้ เกิดจากการที่กิจการมีนโยบายสินเชื่อ ซึ่งเป็ นการตัดสิน
ใจที่เกี่ยวข้องทั้งทางด้านการเงินและการตลาด
 นโยบายขายเชื่อทำาให้:
ลูกหนี้ การค้า ยอดขาย กำาไรส่วนเกิน(P – V.C.)
ผลประโยชน์จากการขายเชื่อ = จำานวนยอดขายที่เพิ่มขึ้น x กำาไรส่วน
เกินต่อหน่วย
Accounts receivable
management
 อย่างไรก็ตามการให้สินเชื่อก็มต ี ้นทุนตามมา
ได้แก่
 ต้นทุนเงินลงทุนในลูกหนี้ การค้า
 ต้นทุนส่วนลดเงินสด
 ต้นทุนที่เกิดจากหนี้ สูญที่เกิดขึ้น
 ต้นทุนในการบริหารลูกหนี้ และเรียกเก็บหนี้
Accounts receivable
management
ต้นทุนเงินลงทุนในลูกหนี้ การค้า
 ต้นทุนที่เกิดจากการที่กิจการต้องใช้เงินทุนส่วนหนึ่ งเพื่อมาลงทุน
ในสินค้าแก่ลูกหนี้ การค้าก่อนที่จะถึงกำาหนดชำาระเงิน
 เงินก้อนนี้ มีต้นทุน: 1. กิจการต้องจ่ายดอกเบี้ย หากเงินที่นำามาลงทุน
เป็ นเงินกู้
2. กิจการเสียโอกาสนำาเงินไปลงทุนเพื่อให้ได้ผลตอบแทน
 ต้นทุนเงินลงทุนในลูกหนี้ เท่ากับ
ต้นทุนค่าเสียโอกาส หรือ อัตราดอกเบี้ย x จำานวนเงินลงทุนใน
A/R
Accounts receivable
management
ต้นทุนส่วนลดเงินสด
 อัตราส่วนลดที่กิจการเสนอให้แก่ลูกหนี้ ที่ชำาระเงินภายใน
ระยะเวลาที่กำาหนดให้ได้ส่วนลด
 เพื่อกระต้น
ุ ให้ลูกหนี้ ชำาระเงินสดเร็วขึ้น
 กิจการต้องพิจารณาเปรียบเทียบระหว่างผลประโยชน์ท่ีได้
รับจากการชำาระหนี้ ที่เร็วขึ้นกับต้นทุนส่วนลดเงินสดที่
กิจการต้องเสียไป
 ต้นทุนส่วนลดเงินสด เท่ากับ
อัตราส่วนลดเงินสดที่กิจการกำาหนดให้ x มูลค่าการขายเชื่อที่ชำาระ
ภายในกำาหนด
Changing credit terms
บริษัท Dodd tool จำากัด ขายสินค้า $10 ต่อหน่วย ยอดขายปี ที่แล้ว
เป็ นการขายเชื่อทั้งหมดจำานวน 60,000 หน่วย ต้นทุนผันแปร $6
ต่อหน่วย ต้นทุนคงที่รวม คือ $120,000
กิจการกำาลังพิจารณาผ่อนปรนมาตรฐานสินเชื่อ ซึ่งคาดว่าจะทำาให้
หน่วยของยอดขายเพิ่มขึ้น 5% โดยยืดระยะเวลาเก็บหนี้ เฉลี่ยจาก
30 วันเป็ น 45 วัน หนี้ สูญจะเพิ่มขึ้นจาก 1% เป็ น 2% ขณะที่
กิจการต้องการ rate of return หรือ opportunity cost ในการลงทุน
ในลูกหนี้ 15%
บริษัท Dodd tool จำากัดควรผ่อนปรนมาตรฐานสินเชื่อหรือไม่ ???
Changing credit terms
+ กำาไรที่เพิ่มขึ้นจากยอดขาย
จำานวนยอดขายที่เพิ่มขึ้น x กำาไรส่วนเกินต่อหน่วย
- ต้นทุนเงินลงทุนในลูกหนี้ ที่เปลี่ยนแปลง
ต้นทุนเสียโอกาส x (จำานวนเงินลงทุนใน A/R ใหม่ - จำานวนเงินลงทุนใน A/R
ปั จจุบัน)
- ต้นทุนที่เกิดจากหนี้ สูญที่เปลี่ยนแปลง
(อัตราหนี้ สูญใหม่ x ยอดขายใหม่) - (อัตราหนี้ สูญปั จจุบัน x ยอดขายปั จจุบัน)
- ต้นทุนของส่วนลดเงินสด
(อัตราส่วนลดเงินสดที่กิจการกำาหนดให้ x มูลค่าการขายเชื่อที่ชำาระภายในกำาหนด)
= กำาไร / ขาดทุน
Changing credit terms
บริษัท Dodd tool ขายสินค้า $10 ต่อหน่วย ยอดขายปี ที่แล้วเป็ นการขายเชื่อ
ทั้งหมดจำานวน 60,000 หน่วย ต้นทุนผันแปร $6 ต่อหน่วย ต้นทุนคงที่รวม คือ
$120,000
กิจการกำาลังพิจารณาเปลี่ยนเงื่อนไขสินเชื่อโดยให้ส่วนลดเงินสด 2% สำาหรับลูก
หนี้ การค้าที่มาชำาระภายใน 10 วันหลังการซื้ อ (2/10 net 30)ซึ่งคาดว่าจะทำาให้
หน่วยของยอดขายเพิ่มขึ้น 5%
กิจการคาดว่าลูกหนี้ จะเลือกรับส่วนลด 60% ของยอดขาย ระยะเวลาการเก็บหนี้
เฉลี่ยของกิจการจะลดลงเป็ น 15 วันจากเดิม 30 วัน หนี้ สูญจะลดลงจากระดับ
1% เป็ น 0.5% ของยอดขาย
บริษัท Dodd tool จำากัดควรเปลี่ยนมาตรฐานสินเชื่อหรือไม่ ???
Credit and collection
policies
 นโยบายสินเชื่อ (Credit policies) คือ แนวทาง
ปฏิบต ั ิเกี่ยวกับการพิจารณาให้สินเชื่อ
 เงื่อนไขการให้สินเชื่อประกอบด้วย
 มาตรการในการพิจารณา – 5 C
 วงเงินสินเชื่อ
 อัตราเงินลดเงินสดและระยะเวลา
 ระยะเวลาการให้สินเชื่อ
Credit and collection
policies
 นโยบายการเก็บเงิน (Collection policies) คือ แนวทางการ
เร่งรัดและติดตามหนี้ สินที่กิจการกำาหนดขึ้น

 เป็ นงานที่ตอ
้ งทำาเมื่อลูกหนี้ ไม่ปฏิบต
ั ิตามสัญญา
 ออกหนั งสือเตือน โทรศัพท์ติดต่อ ออกไปพบลูกหนี้ ด้วย
ตนเอง ดำาเนิ นการตามกฎหมาย
 หากนโยบายการให้สินเชื่อดี จะช่วยลดปั ญหาในส่วนนี้ ได้
Inventory management
 วัตถุประสงค์ในการบริหารสินค้าคงเหลือ คือ การรักษา
ระดับสินค้าคงเหลือให้อยู่ในระดับที่ เหมาะสม เพื่อให้การ
ดำาเนิ นงานของกิจการเป็ นไปอย่างต่อเนื่ อง
 ถ้ามากเกินไป ถึงแม้จะสามารถตอบสนองความ
ต้องการลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่มีต้นทุนค่า
เสียโอกาสและสินค้าอาจล้าสมัย
 ถ้าน้อยเกินไป สินค้าขาดมือ กิจการอาจสูญเสียลูกค้า
ได้
Inventory management
techniques
 การควบคุมการลงทุนในสินค้าคงเหลือ ผ้จ
ู ัดการ
ทางการเงินต้องแก้ไขปั ญหา 2 ประการด้วยกัน
คือ
 ปริมาณการสัง่ ซื้ อ
 จุดสัง่ ซื้ อสินค้า
EOQ
 เทคนิ คการสัง่ ซื้ อที่นิยมใช้ คือ “ปริมาณการสัง่
ซื้ อที่ประหยัดที่สุด (Economic order quantity:
EOQ)”
 ในตัวแบบนี้ ต้นทุนที่เกี่ยวข้องได้แก่
 ต้นทุนในการเก็บรักษาสินค้า = C(Q/2)
 ต้นทุนในการสัง่ ซื้ อสินค้ารวม = O(S/Q)
2× S ×O
EOQ =
C
EOQ

Total
cost
Carrying
Cos cost C x
t (Q/2)
Ordering
cost O x
EO Quanti
(S/Q)
Q ty
Inventory management
techniques
 สมมุติว่าบริษัท ABC จำากัดคาดว่าความต้องการ
ของสินค้าของลูกค้าในหนึ่ งปี เท่ากับ 5,000
หน่วย ค่าใช้จ่ายในการสัง่ ซื้ อครั้งละ 200 บาท
และค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาสินค้าเท่ากับ 2
บาทต่อหน่วย อยากทราบว่าปริมาณสินค้าที่
บริษัท ABC จำากัดควรทำาการสัง่ ซื้ อที่เหมาะสม
ที่สุดเป็ นเท่าใด ???
Reorder point
Inventory
replenished

EO
Q Stock to be
depleted
Safet Inventory order during
y point delivery time
stock
Actual
delivery time
Inventory management
techniques
 ROP = LT (d) + SS
 ROP = จุดสัง่ ซื้ อสินค้า
 LT = ระยะเวลาการสัง่ สินค้าและรับสินค้า (lead time)
 d = อัตราการใช้หรือขายสินค้าในช่วงระยะเวลาหนึ่ ง
 SS = สินค้าสำารองเพื่อความแปลอดภัย
 สมมุติว่าบริษัท ABC จำากัดคาดว่าความต้องการของสินค้าของ
ลูกค้าในหนึ่ งปี เท่ากับ 5,000 และในแต่ละปี บริษัทเปิ ดดำาเนิ นการ
50 สัปดาห์ มีระยะเวลาในการสัง่ ซื้ อและรับสินค้าเท่ากับ 2
สัปดาห์ นอกจากนั้ นบริษัทมีนโยบายเก็บสินค้าสำารองเพื่อความ
ปลอดภัยเท่ากับ 200 หน่วย อยากทราบว่าบริษัทควรสัง่ สินค้าเมื่อ
มีสินค้าคงเหลือเท่าใด ???
Conclusion
 ความสำาคัญของการบริหารเงินทุนหมุนเวียน
 นโยบายการจัดหาเงินทุนหมุนสำาหรับสินทรัพย์
หมุนเวียน
 วงจรเงินทุนหมุนเวียน
 การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
 เงินสด (Cash)
 หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด (Marketable security)
 สินทรัพย์คงเหลือ (Inventory)
 ลูกหนี้ การค้า (Account receivable: A/R)

You might also like