You are on page 1of 46

การบริหารจัดการการเงินส่วนบุคคล

หลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการ "ติดเข็มทิศชีวิตการเงินแก่ครู"
วันที่ 16-17 ตุลาคม 2557

ศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน (ศคง.)
ธนาคารแห่งประเทศไทย
การวางแผนการเงิน
ทาไมต้องวางแผนทางการเงิน
ให้มีรายได้เพียงพอ มีเงินเหลือไว้ใช้ยามฉุกเฉิน
กับค่าใช้จ่าย (ค่าครองชีพ) ที่สูงขึ้น

อายุยืนยาว ครอบครัวเล็กลง
มีเงินออมหรือเงินลงทุน
ที่อาจสร้างรายได้ในอนาคต

เป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้เราสามารถจัดการการเงินอย่างเป็นระบบ 3
ใครบ้างที่ต้องวางแผนการเงิน

วัยเด็ก วัยทางาน
บ่มเพาะนิสัย เพื่อให้ใช้จ่าย
การออม อย่างเหมาะสม

วัยสร้างครอบครัว วัยเกษียณ
จัดสรรรายได้ให้ เพื่อไม่ให้เป็นภาระ
เพียงพอกับสมาชิก ของลูกหลาน
ในครอบครัว

4
5 ขั้นตอนการวางแผนการเงิน

มุ่งสู่ความมั่นคงทางการเงิน

5. ทบทวนและปรับปรุงแผน
4. ปฏิบัติตามแผนอย่างเคร่งครัด สร้างวินัยทางการเงิน
3. จัดทาแผนสู่เป้าหมาย ระบุสิ่งที่ต้องทาระยะสั้น/กลาง/ยาว
2. ตั้งเป้าหมายทางการเงิน ยึดหลัก SMART
1. ประเมินฐานะการเงิน
5
4. ปฏิบัติตาม
1. ประเมิน 2. ตั้งเป้าหมาย 3. จัดทา 5. ทบทวนและ
แผน...อย่าง
ฐานะการเงิน ทางการเงิน แผนการเงิน ปรับแผน
เคร่งครัด

มาประเมินตนเองกันเถอะ

ฐานะการเงินของเรา พฤติกรรมการใช้จ่ายของเรา

6
“ทรัพย์สินที่มี”
สะท้อนความมั่งคั่งของบุคคล จริงหรือไม่ ?

ไม่จริง ! “ความมั่งคั่งสุทธิ” ต่างหาก


ที่สะท้อนความมั่งคั่งของบุคคล 7
ความมั่งคั่งสุทธิ

(สินทรัพย์สุทธิ) ที่เราควรมีในวันนี้
เท่ากับ (รายได้ต่อปี * อายุ) / 10

8
กิจกรรม: บันทึกสินทรัพย์และหนี้สิน
• สินทรัพย์สภาพคล่อง • หนี้สินระยะสั้น
.................................. ..................................
.................................. ..................................
• สินทรัพย์เพื่อการลงทุน • หนี้สินระยะยาว
.................................. ..................................
.................................. ..................................
• สินทรัพย์ส่วนตัว รวม ..........................
..................................
..................................
รวม ..........................

ทาแล้วได้อะไร: เพือ่ ประเมินความมั่งคั่งสุทธิที่มีอยู่จริงในวันนี้ (ซึ่งดูแค่สินทรัพย์ที่มีอยู่เท่านั้นไม่ได้


เพราะอาจกู้เงินมาซื้อ จึงต้องหักด้วยหนี้สินด้วย)
9
ตัวอย่างบันทึกสินทรัพย์และหนี้สิน
สินทรัพย์ หนี้สิน
สินทรัพย์สภาพคล่อง จานวนเงิน หนี้สินระยะสั้น (ไม่เกิน 1 ปี) จานวนเงิน
1. เงินสด 35,000 1. หนีน้ อกระบบ 13,500
2. เงินฝากออมทรัพย์ 53,200 2. หนีบ้ ัตรผ่อนสินค้าบริษัท A 4,000
รวมสินทรัพย์สภาพคล่อง (1) 88,200 3. หนีบ้ ัตรกดเงินสดบริษัท B 6,000
สินทรัพย์เพื่อการลงทุน 4. หนีบ้ ัตรเครดิตธนาคาร X 10,000
1. เงินฝากประจา 24,000 5. หนีบ้ ัตรเครดิตธนาคาร Y 13,000
2. สลากออมทรัพย์ 25,000 รวมหนี้สินระยะสั้น (5) 46,500
รวมสินทรัพย์เพื่อการลงทุน (2) 49,000 หนี้สินระยะยาว
สินทรัพย์ส่วนตัว 1. เงินกูซ้ ื้อบ้าน 950,000
1. บ้าน 1,267,000 2. เช่าซือ้ รถยนต์ 550,000
2. รถยนต์ 600,000 รวมหนี้สินระยะยาว (6) 1,500,000
3. สร้อยคอทองคา 38,000 รวมหนี้สินทั้งสิ้น (7)=(5)+(6) 1,546,500
รวมสินทรัพย์สว่ นตัว (3) 1,905,000 ความมั่งคั่งสุทธิ = สินทรัพย์ – หนี้สิน
รวมสินทรัพย์ทั้งสิ้น (4)=(1)+(2)+(3) 2,042,200 = 2,042,200 – 1,546,500 = 495,700 10
กิจกรรม: จาเป็นแน่ ๆ หรือแค่อยากได้

จาเป็น
(Need)
อยากได้
(ต้องการ / Want)

ทาแล้วได้อะไร: เพือ่ ให้ตัดสินใจเลือก และตระหนักว่าในชีวิตประจาวันมีทั้งรายจ่ายที่จาเป็น (เช่น ปัจจัย 4) และ


รายจ่ายที่ไม่จาเป็น (แม้ว่าจะอยากได้ แต่ถ้าไม่มีก็ยังมีชีวิตอยู่ต่อไปได้)
11
“อีกนานกว่า
จะสิ้นเดือน”
กิจกรรม: เงินหายไปไหน
1. อะไรที่ไม่จาเป็น 2. เงินที่คุณจ่ายซื้อต่อครั้ง
แต่คุณซื้อบ่อย

3. คุณซื้อบ่อย
แค่ไหน
365 246 52 12 24
ทุกวัน ทุกวันทางาน ทุกสัปดาห์ ทุกเดือน อื่น ๆ
4. ใน 1 ปี คุณจ่ายไปเป็นเงิน =

ทาแล้วได้อะไร: เพือ่ ให้เห็นจานวนเงินสาหรับ “รายจ่ายที่ไม่จาเป็น” แต่หากนามาออมไว้ ก็ย่อมจะบรรลุเป้าหมาย


ตามที่วางแผนไว้ได้ง่ายและเร็วขึ้น 12
“อีกนานกว่า
จะสิ้นเดือน”
กิจกรรม: เงินหายไปไหน
1. อะไรที่ไม่จาเป็น 2. เงินที่คุณจ่ายซื้อต่อครั้ง
แต่คุณซื้อบ่อย
กาแฟสด 50

3. คุณซื้อบ่อย
แค่ไหน
365 246 52 12
ทุกวัน ทุกวันทางาน ทุกสัปดาห์ ทุกเดือน อื่น ๆ
4. ใน 1 ปี คุณจ่ายไปเป็นเงิน =

50 365 18,250
ทาแล้วได้อะไร: เพือ่ ให้เห็นจานวนเงินสาหรับ “รายจ่ายที่ไม่จาเป็น” แต่หากนามาออมไว้ ก็ย่อมจะบรรลุเป้าหมาย
ตามที่วางแผนไว้ได้ง่ายและเร็วขึ้น 13
14
15
16
กิจกรรม: บันทึกรายรับ-รายจ่าย
(ประจำ/ไม่ประจำ)

ทาแล้วได้อะไร: เพือ่ ให้เห็นรายละเอียดของรายรับว่ามาจากที่ใด รายจ่ายหมดไปกับเรื่องใดบ้าง เป็นเรื่องจาเป็น/


ต้องการอย่างละเท่าใด รายรับเพียงพอกับรายจ่ายหรือไม่ และมีเงินออมต่อเดือนมากน้อยเพียงใด 17
ปฏิทินช่วยจา รายรับรายจ่ายในอนาคต

18
4. ปฏิบัติตาม
1. ประเมิน 2. ตั้งเป้าหมาย 3. จัดทา 5. ทบทวนและ
แผน...อย่าง
ฐานะการเงิน ทางการเงิน แผนการเงิน ปรับแผน
เคร่งครัด

ตั้งเป้าให้ชัด...สอดรับกับความสามารถทางการเงิน
เป้าหมายที่ดี...ตามหลัก SMART
Specific...ชัดเจน
Measurable...วัดผลได้
Achievable…ทาสาเร็จได้
Realistic…เป็นไปได้
Time Bound…มีกรอบเวลาที่แน่ชัด
ฉันจะเก็บเงินให้ได้ภายในปีนี้
ฉันมีรายได้เดือนละ 20,000 บาท ในปีหน้าฉันจะเป็นเจ้าของคฤหาสน์มูลค่า 100 ล้านบาท
ฉันจะเก็บเงินให้ได้ 50,000 บาท ภายใน 2 ปี เพื่อซื้อรถมอเตอร์ไซค์
ฉันจะเก็บเงิน 10 % ของเงินเดือนทุกเดือน เป็นเวลา 1 ปี เพื่อพาครอบครัวไปท่องเที่ยว
19
ตัวอย่าง: เป้าหมายการเงินระยะกลาง
ท่องเที่ยว 58,000 บาท

20
ตัวอย่าง: เป้าหมายการเงินระยะยาว
เงินที่ต้องเตรียมไว้ เพื่อให้มีใช้จ่ายหลังเกษียณเดือนละ 25,000 บาท
แนวคิดที่ 1: นาเงินออมมาใช้จ่าย

•เงินที่ควรมี = ค่าใช้จ่ายต่อเดือนหลังเกษียณ x 12 เดือน x จานวนปีที่คาดว่าจะมีชีวิตหลังเกษียณ


= (25,000 x 12) x 20 = 6,000,000 บาท
แนวคิดที่ 1 ใช้จ่ายจากเงินที่มีอยู่ ณ วันเกษียณจนหมด (ไม่ได้นาไปออม/ลงทุนให้เกิดดอกผล)

แนวคิดที่ 2: นาดอกผลของเงินออมและเงินลงทุนมาใช้จ่าย

•เงินที่ควรมี = ค่าใช้จ่ายต่อเดือนหลังเกษียณ x 12 เดือน


อัตราผลตอบแทนเฉลี่ยของเงินออมและเงินลงทุน (% ต่อปี)
อัตราผลตอบแทนเฉลี่ย
5% ต่อปี เงินที่ควรมี = (25,000 x 12) / 0.05 = 6,000,000 บาท
3% ต่อปี เงินที่ควรมี = (25,000 x 12) / 0.03 = 10,000,000 บาท
แนวคิดที่ 2 นาเงินที่มีอยู่ ณ วันเกษียณไปออม/ลงทุน เพื่อให้ได้ดอกผลมาใช้จ่าย
- ถ้าผลตอบแทนเฉลี่ย 5% ต่อปี เงินที่ควรมี ณ วันที่เกษียณ = 6 ล้านบาท และเงินก้อนนี้จะเหลือไว้เป็นมรดกให้ลูกหลาน

21
4. ปฏิบัติตาม
1. ประเมิน 2. ตั้งเป้าหมาย 3. จัดทา 5. ทบทวนและ
แผน...อย่าง
ฐานะการเงิน ทางการเงิน แผนการเงิน ปรับแผน
เคร่งครัด

กิจกรรม: เป้าหมายและแผนการเงินของฉัน
• .......................................
เป้าหมายระยะยาว (มากกว่า 3 ปี)
• เช่น บ้านใหม่ ส่งลูกเรียน เพื่อเกษียณ
• .......................................
เป้าหมายระยะกลาง (1- 3 ปี)
• เช่น ท่องเที่ยว เรียนต่อ ปลดหนี้
• .......................................
เป้าหมายระยะสั้น (น้อยกว่า 1 ปี)
• เช่น เงินออมเผื่อฉุกเฉิน โทรศัพท์ใหม่

เป้าหมาย
จานวนเงินที่ต้องการ บาท
ภายในระยะเวลา เดือน
แผนการเงิน ต้องทาอย่างไรให้บรรลุเป้าหมาย
ออมเงิน เดือนละ บาท เป็นเวลา เดือน
ทาแล้วได้อะไร: เพื่อให้เห็นว่าในแต่ละช่วงชีวิต เรามีหลายเป้าหมายทางการเงินหลายอย่าง
จึงต้องจัดลาดับความสาคัญ และต้องคานึงถึงระยะเวลาและความสามารถในการเก็บเงินให้สัมพันธ์กันด้วย
22
4. ปฏิบัติตาม
1. ประเมิน 2. ตั้งเป้าหมาย 3. จัดทา 5. ทบทวนและ
แผน...อย่าง
ฐานะการเงิน ทางการเงิน แผนการเงิน ปรับแผน
เคร่งครัด

สารพันวิธี...สร้างวินัยทางการเงิน
• บันทึกรายรับ-รายจ่ายอย่างสม่าเสมอ
• เมือ่ มีรายได้เข้ามา กันเงินออมไว้ก่อน
ที่เหลือค่อยนามาใช้จ่าย
• สะสางหนี้สินระยะสั้น ตัวบั่นทอน
ความสามารถในการออม
• ถือเงินสดแค่พอใช้จ่าย และ
งดใช้บัตรเครดิตถ้าคิดว่าห้ามใจตัวเอง
ไม่ได้หรือมีภาระหนี้มากแล้ว
• ลดการไปห้าง ร้านค้า หรือ ตลาดนัด
กาหนดวันช้อปปิ้งของครอบครัว
23
4. ปฏิบัติตาม
1. ประเมิน 2. ตั้งเป้าหมาย 3. จัดทา 5. ทบทวนและ
แผน...อย่าง
ฐานะการเงิน ทางการเงิน แผนการเงิน ปรับแผน
เคร่งครัด

มีอะไรบ้างที่ทาไม่ได้ และต้องปรับปรุง

24
25
การออมและการวางแผนภาษี
ทาไมต้องออมเงิน
ออม...เพื่อเป้าหมายทางการเงิน
• เริ่มปลดหนี้นอกระบบหรือ
หนี้ที่มีดอกเบี้ยสูง
• เริ่มปลดจากหนี้ก้อนเล็ก

เพื่อปลดหนี้ • เช่น เจ็บป่วย ตกงาน


• เริ่มอย่างน้อย 5 – 10%
• ควรมีอย่างน้อย 6 เดือน
ของรายได้
ของค่าใช้จา่ ยประจา
• ออมต่อเนื่องอย่าง
สม่าเสมอ เพื่อ เพื่อใช้จ่าย
ยามเกษียณ เป้าหมาย ฉุกเฉิน
การออม

เพื่อซื้อของ • เปลี่ยนเป้าหมายที่อยากได้
• กระจายความเสี่ยง เพื่อลงทุน
• เลือกผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสม
ที่อยากได้ เป็นแผนการเก็บเงิน
• เก็บเงินอย่างต่อเนื่อง
กับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ไม่ครบ ไม่ซื้อ
27
ออมเงินเท่าไรให้เหมาะสม

ออมเงิน เงินออม ภาระหนี้ ภาระหนี้


อย่างน้อย 1 ใน 4 ไม่ควรเกิน 1 ใน 3
ของรายได้ต่อเดือน ของรายได้ต่อเดือน

เงินออมเผื่อฉุกเฉิน

6 เท่าของ
เงินออม ค่าใช้จ่ายที่จาเป็น
ในแต่ละเดือน
28
ออมเงินแล้วได้อะไร
พลังของดอกเบี้ยทบต้น
ฝากเงิน 10,000 บาท อัตราดอกเบี้ย = 4% ต่อปี (จ่ายดอกเบี้ยปีละ 1 ครั้ง)
ถ้าไม่ถอนเลย ครบ 3 ปี เงินจะเพิ่มพูนขึ้นเป็นกี่บาท
ดอกเบี้ยทบต้น 4%
บำท 11,249
11,000 10,816 433

10,500 10,400 416


400 ดอกเบี้ย
10,000 10,816
10,400 เงินต้น
9,500 10,000
9,000
1 2 3 ปี
เงินที่ได้รับ = เงินต้น + ดอกเบี้ย สรุป
= เงินต้น + (เงินต้น*อัตราดอกเบี้ย) 1. ดอกเบี้ย 4% ก็คือ 0.04
สิ้นปีที่ 1 10,000 + (10,000 x 0.04) = 10,400 2. เงินที่ได้รับสิ้นปีแรก จะเป็นเงินต้นของปีถัดไป
สิ้นปีที่ 2 10,400 + (10,400 x 0.04) = 10,816 3. สูตรคิดเร็ว ถ้าไม่ถอนทั้งเงินต้นและดอกเบี้ยเลย
เงินที่ได้รับสิ้นปีที่ n = เงินต้น x ( 1+อัตราดอกเบี้ยต่อปี) จานวนปี
สิ้นปีที่ 3 10,816 + (10,816 x 0.04) = 11,249 เงินที่ได้รับสิ้นปีที่ 3 = 10,000 x ( 1+0.04) 3
... 29
ออมเงินแล้วได้อะไร
พลังของดอกเบี้ยทบต้น
ฝากเงิน 10,000 บาท อัตราดอกเบี้ย = 4% ต่อปี (จ่ายดอกเบี้ยปีละ 1 ครั้ง)
ถ้าไม่ถอนเลย ครบ 10 ปี เงินจะเพิ่มพูนขึ้นเป็น ... บาท
14,802
10,000 x (1+0.04)10 15,000
569

14,000
ดอกเบี้ย (4%)
13,000
เงินต้น
14,233
12,000
11,249
10,000 x (1+0.04)3 10,816 433
10,000 x (1+0.04)2 11,000
10,400 416
10,000 x (1+0.04)1 400 10,400
10,816

10,000
1 2 3 ...
4... 510
เงินที่จะได้คืน = เงินต้น x ( 1+อัตราดอกเบี้ยต่อปี) จานวนปี
... 30
ออมก่อน...รวยก่อน
สายรุ้ง 15,000 x ( 1.0530 + 1.0529 … + 1.0521) = 525,623
วัลลภ 15,000 x ( 1.0520 + 1.0519 … + 1.0511) = 322,687

31
ออมเงิน...อย่างฉลาด

32
ออมเงิน...จนงอกเงยเป็น 2 เท่า
จานวนปีที่เงินจะงอกเงยเป็น 2 เท่า = 72
อัตราดอกเบี้ยหรือผลตอบแทน

อัตราผลตอบแทน จานวนปีที่เงินจะงอกเงยเป็นเท่าตัว
1% 72 ปี
3% 24 ปี
5% 15 ปี
10% 7 ปี
15% 5 ปี
20% 4 ปี
33
อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง
Real Interest Rate

ดอกเบี้ยเงินฝาก หรือผลตอบแทนจากการลงทุนในรูปตัวเงินที่เราได้รับ
ยังไม่ใช่ผลตอบแทนที่แท้จริง ต้องหักผลกระทบจากเงินเฟ้อออกก่อน

อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง = อัตราดอกเบี้ยในรูปตัวเงิน - อัตราเงินเฟ้อ


(Real Interest Rate) (Nominal Interest Rate) (Inflation Rate)

34
35
การคุ้มครองเงินฝาก

บทบาทหน้าที่ของสถาบันคุ้มครองเงินฝาก (สคฝ.)
1. เก็บเงินนาส่งจากสถาบันการเงินไว้เป็นกองทุนคุ้มครองเงินฝาก
2. จ่ายคืนเงินฝากให้แก่ผู้ฝากเมื่อสถาบันการเงินถูกปิดกิจการ
ประโยชน์ของการคุ้มครองเงินฝาก
• ผู้ฝากเงิน ได้รับการคุ้มครองเงินฝาก โดยเฉพาะผู้ฝากรายย่อยซึ่งเป็นผู้ฝากส่วนใหญ่ในระบบ
• สถาบันการเงิน แข่งขันเสรีตามกลไกตลาด มีต้นทุนทางการเงินที่เหมาะสม และเปิดเผยข้อมูล
ทางการเงิน ตลอดจนเสริมสร้างความมั่นคงและเสถียรภาพของระบบสถาบันการเงิน
• รัฐบาล ลดภาระการใช้เงินภาษีของประชาชนเพื่อจ่ายคืนผู้ฝาก ไม่ต้องออกมาตรการแก้ไขเพิ่มเติม
36
การคุ้มครองเงินฝาก
เงินฝากที่ได้รับความคุ้มครองจาก สคฝ.
สถาบันการเงินผู้รับฝาก: ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน และบริษัทเครดิตฟองซิเอร์
ผู้ฝาก: บุคคลธรรมดา และนิติบุคคล
ประเภทเงินฝาก: กระแสรายวัน ออมทรัพย์ ประจา บัตรเงินฝาก และใบรับฝากเงิน ที่เป็นเงินบาท
ไม่รวม เงินฝากเงินบาทของผู้มีถนิ่ ที่อยูน่ อกประเทศ เงินฝากที่มอี นุพนั ธ์แฝง เงินฝากระหว่างสถาบันการเงิน

กรณีที่ไม่ได้รบั การคุม้ ครองจาก สคฝ.: เงินฝากกับสถาบันอืน่ เช่น SFIs สหกรณ์ออมทรัพย์ / ผลิตภัณฑ์อื่นที่อาจ


เข้าใจผิดว่าเป็นเงินฝาก เช่น พันธบัตร หุน้ กู้ ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใช้เงิน เช็ค สลากออมทรัพย์ เงินลงทุนในกองทุนรวม
37
38
ลอตเตอรี VS สลากออมทรัพย์

?????

ลอตเตอรี = ลอตเตอรี =

29 เม.ย. 57 1 พ.ค. 57 29 เม.ย. 60


สลากออมทรัพย์ =

39
ลอตเตอรี VS สลากออมทรัพย์
 จ่ายทั้งหมด (15 ปี)
= 4 ล้านบาท
 จ่ายต่อปี...
267,000 บาท
 จานวนครั้ง...
24 ครั้ง/ปี
 ซื้อต่อครั้ง...
11,100 บาท

40
41
ในแต่ละผลิตภัณฑ์ทางการเงิน

ที่มา: www.start-to-invest.com 42
ตัวอย่างรูปแบบการลงทุนการจัดทัพลงทุน
(Asset Allocation)
รับความเสี่ยงได้น้อยมาก รับความเสี่ยงได้น้อย

หุ้น 10%

หุ้น 30%
เงินฝำก
เงินฝำก
และ
และ
ตรำสำร
ตรำสำร
หนี้
หนี้
70%
90%

ที่มา: TSI และ AFET


43
ตัวอย่างรูปแบบการลงทุนการจัดทัพลงทุน
(Asset Allocation)
รับความเสี่ยงได้ปานกลาง รับความเสี่ยงได้สูง

เงินฝำก
และ
เงินฝำก ตรำสำร
และ หนี้
หุ้น 50% ตรำสำร 30%
หนี้
50% หุ้น 70%

ที่มา: TSI และ AFET


44
Website แนะนา
เรื่องการลงทุน

• www.start-to-invest.com
• www.tsi-thailand.org
• www.settrade.com
• www.wealthmagik.com
• www.thaimutualfund.com
• www.morningstarthailand.com
45
www.1213.or.th
www.facebook.com/hotline1213

You might also like