You are on page 1of 9

แผนบริหารจัดการกาซธรรมชาติ

พ.ศ. 2558 - 2579


(Gas Plan 2015)

22 ตุลาคม 2558
2
หล ักการของการจ ัดทําแผน
การใชก๊้ าซธรรมชาติของประเทศมีแนวโน ้มสูงขึน ้ ขณะทีป ่ ริมาณการผลิตในประเทศกลับลดลง ประเทศจึงต ้องพึง่ พา
LNG นํ าเข ้ามากขึน ื้ เพลิงสูงขึน
้ ทําให ้ต ้นทุนราคาเชอ ี่ งทีจ
้ อีกทัง้ มีความเสย ่ ะขาดวัตถุดบ
ิ ป้ อนอุตสาหกรรมปิ โตรเคมี

้ ละการจ ัดหาก๊าซธรรมชาติตามแผนเดิม
ความต้องการใชแ

แนวโนมตามแผนเดิม
• การผลิตกาซในประเทศเริ่มลดลง
ตั้งแตป 2560
• โรงแยกกาซเริ่มรับกาซไดต่ํากวา
50% ของกําลังรับ ในป 2572
LNG • อัตราการนําเขา LNG เพิ่มขึ้น
เฉลี่ย 19.9%/ป
• ตองพึ่งพา LNG นําเขา 100%
ตั้งแตป 2577
• นําเขา LNG มากถึง 5,500 ลาน
ลบ.ฟุตตอวัน หรือ 40 ลานตันตอ
ป ตั้งแตป 2573

แผนก๊าซมีเป้ าหมายเพือ ้
่ บริหารจัดการด ้านการใชและการจั ดหาก๊าซธรรมชาติของประเทศ ตามแนวทาง 4 ด ้าน คือ

้ า
1) ชะลอการเติบโตของการใชก ๊ ซธรรมชาติ

2) ร ักษาระด ับการผลิตจากแหล่งในประเทศให้ยาวนานขึน
3) จ ัดหาและบริหารจ ัดการ LNG
้ ฐานเพือ
4) พ ัฒนาโครงสร้างพืน ่ รองร ับการนําเข้า LNG
3
้ า
1. ชะลอการเติบโตของการใชก ๊ ซธรรมชาติ

ลดการพึง่ พาก๊าซในการผลิตไฟฟ้ าโดย


กระจายเชอ ื้ เพลิง ตามแผน PDP 2015

จาก 64% ลดลงเหลือ 37% ในปี 2579 37%


64%

ประหยัดพลังงานของก๊าซในอุตสาหกรรมจากแผน
EEP 2015
ปี 2579 ลดการใชพลั ้ งงานได ้ประมาณ 89,672 GWh และ ลดการ
สร ้างโรงไฟฟ้ าได ้ประมาณ 10,000 MW [เป้ าหมาย – ลด EI ลง
30% จาก ปี 2553]

พัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกตามแผน
AEDP 2015
- เพิม ั สว่ นไฟฟ้ าจากพลังงานทดแทน จาก 8% เป็ น 20%
่ สด
- สง่ เสริมการผลิตไฟฟ้ าจากเชอ
ื้ เพลิงขยะ ชวี มวล ก๊าซชวี ภาพ
แสงอาทิตย์และลม
- พัฒนาพลังงานหมุนเวียนตามรายภูมภ
ิ าค (Zoning)
4
้ า
ประมาณความต้องการใชก ๊ ซธรรมชาติรองร ับ PDP2015 - กรณีฐาน

5

2. ร ักษาระด ับการผลิตจากแหล่งในประเทศให้ยาวนานขึน

เร่งรัดการเปิ ดให ้ยืน ิ ธิสํารวจและผลิตปิ โตรเลียมรอบใหม่ เพือ


่ ขอสท ่ เพิม
่ โอกาสในการ
สํารวจหาปิ โตรเลียมและสง่ เสริมการลงทุน
- การประเมินเบือ
้ งต ้นคาดว่ามีปริมาณทรัพยากร ก๊าซธรรมชาติ 1–5 ล ้านล ้าน ลบ.ฟุต และ นํ้ ามันดิบ 20-50
ล ้านบาร์เรล
- เกิดการลงทุนไม่น ้อยกว่า 5,000 ล ้านบาท

หาแนวทางบริหารจัดการแหล่งก๊าซธรรมชาติทส ั ปทานจะสน
ี่ ม ิ้ อายุใน
่ ให ้การผลิตแหล่งก๊าซสําคัญเป็ นไปอย่างต่อเนือ
ปี ’65-66 เพือ ่ ง
- แหล่งดังกล่าวผลิตก๊าซธรรมชาติ ร ้อยละ 76 ของกําลังการผลิตก๊าซธรรมชาติของประเทศ

- จํ า เป็ นต ้องหาข ้อยุต แ ิ้ สุด อายุสัม ปทาน


ิ ละได ้แนวทางบริห ารจั ด การฯให ้ได ้ 5 ปี ก่อ นส น
(ภายในปี 2560) มิฉะนั น ั ปทานฯจะหยุดลงทุนเจาะหลุมและตัง้ แท่นหลุมผลิตเพิม
้ ผู ้รับสม ่

่ สง่ เสริมการใชก๊้ าซอ่าว


จัดทําแผนการลดปริมาณก๊าซธรรมชาติทไี่ ม่ผา่ นโรงแยกก๊าซ เพือ
ไทยให ้เกิดประโยชน์สงู สุด และรักษาอายุแหล่งก๊าซในอ่าวไทยให ้นานขึน ้
- ก๊า ซธรรมชาติจ ากอ่า วไทยมีอ งค์ป ระกอบที่ม ีคุณ ค่า เมื่อ ผ่ า นโรงแยกก๊ า ซจะได ้วั ต ถุด บ ้
ิ ที่ส ามารถใช ใน
อุตสาหกรรมปิ โตรเคมี

- ก๊าซธรรมชาติผลิตจากอ่าวไทย 80% ผ่านโรงแยกก๊าซ อีก 20% สง่ ตรงเข ้าโรงไฟฟ้ า จึงควรลดสดั สว่ นก๊าซ
่ ง่ ตรงเข ้าโรงไฟฟ้ านี้ โดยนํ า LNG มาเสริม เฉพาะในชว่ งที่ LNG มีราคาลดลง
อ่าวไทยทีส

6
แผนการจัดหาก๊าซธรรมชาติระยะยาว (กรณีฐาน)

LNG
เมียนมาร์
11%
2558 29% 2579
18% ใน
LNG
ประเทศ
71% 71%

เปรียบเทียบก ับแผนเดิม
ƒ ยืดอัตราการผลิตทีร่ ะดับปั จจุบน
ั ได ้ 7-8 ปี
• แหลงกาซในประเทศเริ่มลดลงในป 2568
ƒ มีกา๊ ซอ่าวไทยป้ อนโรงแยกก๊าซเพือ
่ เป็ นวัตถุดบ
ิ น
• โรงแยกกาซรับกาซไมต่ํากวา 50% ของกําลังรับ จนถึงป
อุตสาหกรรมปิ โตรเคมีจนถึงปลายแผน
2579
ƒ การเติบโตของการนํ าเข ้า LNG ลดลง 9.9%/ปี
• อัตราการนําเขา LNG เพิ่มขึ้นเฉลี่ย 10%/ป
จากแผนเดิม
• พึ่งพา LNG นําเขา 71% ในป 2579
ƒ ั สว่ นการพึง่ พา LNG ลดลง 29% ในปี 2579
สด
• นําเขา LNG สูงสุดที่ 24 ลานตันตอป ในระยะ 20 ปขางหนา
ƒ ลดการนํ าเข ้า LNG ลงกว่า 20 ล ้านตันต่อปี
7
3. การหาแหล่งและการบริหารจ ัดการ LNG ทีม ่ ป ิ ธิภาพ
ี ระสท
้ ฐาน และกติกาทีส
4. มีโครงสร้างพืน ่ อดร ับก ับแผนจ ัดหา

ล ้านตันต่อปี คาดการณ์ความต้องการ LNG


30 LNG Terminal: มาบตาพุด จ.ระยอง
กําลังรับ LNG Terminal:
25 ระยะที่ 1: 5 MTPA
เริม
่ เดินเครือ
่ ง ปี 2554
20 ระยะที่ 2: เพิม่ เป็น 10 MTPA
ในปี 2560
15 ปี 2560 : LNG ระยะที่ 2
(10MTA)
À
10

0
2558 2563 2568 2573 2578

ความต ้องการ LNG กรณีฐาน LNG Terminal ระยะที่ 1&2

ระยะ 20 ปี ข ้างหน ้า ความต ้องการ LNG นํ าเข ้ามีแนวโน ้มสูงขึน


้ (เพิม
่ เป็ น 24 ล ้านตัน/ปี จากปั จจุบน
ั 2 ล ้านตัน/ปี ) โดย
คาดว่ามูลค่าการนํ าเข ้าจะสูงถึงประมาณ 400,000 ล ้านบาท/ปี

แผนการดําเนินงาน
1. จัดหา LNG และพัฒนาโครงสร ้างพืน
้ ฐานเพือ
่ รองรับให ้เพียงพอต่อความต ้องการ ตามแผนกรณีฐาน
2. สง่ เสริมให ้เกิดการแข่งขันในธุรกิจ LNG โดยเพิม่ จํานวนผู ้จัดหาและจําหน่าย และกํากับให ้ Third
Party Access :TPA เกิดขึน ้ อย่างเต็มรูปแบบ ทัง้ ระบบท่อสง่ ก๊าซและ LNG Terminal
3. จัดตัง้ หน่วยงาน เพือ
่ ให ้การสนับสนุนและกํากับดูแลด ้านการจัดหา LNG
8
9

You might also like