You are on page 1of 224

คูมือการจัดทําโครงการ

สําหรับ

โครงการจัดการขยะมูลฝอย

มีนาคม 2545
ความชวยเหลือพิเศษทางดานวิชาการ

สําหรับโครงการกองทุนสิ่งแวดลอม

ธนาคารเพื่อความรวมมือระหวางประเทศแหงญี่ปุน (JBIC)
(ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 : กันยายน 2545)
รายละเอียดเกี่ยวกับคูมือ
♦ กองทุนสิ่งแวดลอมมีวัตถุประสงคที่จะใหการสนับสนุนทั้งในแงของเงินสนับสนุน
และเงินกู แกองคกรปกครองสวนทองถิ่นสําหรับการจัดสรางระบบบําบัดน้ําเสียรวม
และระบบกําจัดขยะมูลฝอยรวม นอกจากนี้กองทุนฯยังสนับสนุนเงินกูแกองคกร
ปกครองสวนทองถิ่น และรัฐวิสาหกิจในการจัดใหมีระบบควบคุมมลพิษทางอากาศ
ระบบบําบัดน้ําเสียหรือระบบกําจัดขยะมูลฝอยเพื่อใชในกิจการขององคกรดังกลาวดวย

1. วัตถุประสงคของคูมือ

♦ คูมือทางวิชาการฉบับนี้จัดทําขึ้นเพื่อเปนแนวทางใหกับบุคลากรขององคกรปกครอง
สวนทองถิ่นในการดําเนินโครงการจัดการขยะมูลฝอย

2. สวนประกอบของคูมือ

♦ คูมือประกอบดวย 3 สวน คือ สวนที่ 1 ประเด็นสําคัญทีส่ ุดในการจัดทําโครงการ สวน


ที่ 2 การวางแผนโครงการ และสวนที่ 3 โครงการเฉพาะดาน โดยสวนที่ 1 เปน
รายละเอียดเกีย่ วกับประเด็นสําคัญที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นจะตองนํามาพิจารณา
ในการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สวนที่ 2 กลาวถึงหัวขอพื้นฐานที่ตอง
พิจารณาในการวางแผนจัดทําโครงการ เชน ขั้นตอนการจัดทําโครงการ ลักษณะของ
ขยะมูลฝอยชุมชน และการคาดการณปริมาณขยะ สําหรับสวนที่ 3 กลาวถึงหัวขอที่
ตองพิจารณาในการจัดทําโครงการ แตละรูปแบบ
♦ การใชคูมือฉบับนี้ ควรเริ่มจากการศึกษารายละเอียดในสวนที่ 1 และสวนที่ 2 กอน
เพราะเปนหัวขอพื้นฐานสําหรับจัดทําโครงการทุกรูปแบบที่จะนําโครงการไปสู
ความสําเร็จ
♦ ในสวนของการดําเนินโครงการเฉพาะดาน ผูใชคูมืออาจเลือกศึกษาไดจากสวนที่ 3
ทั้งนี้ขึ้นอยูกับประเภทของโครงการที่จะดําเนินการวางแผนเพราะในสวนที่ 3 นี้จะ
ประกอบดว ยโครงการที่เ ฉพาะเจาะจง เช น การลดปริ ม าณขยะมูลฝอย ณ
แหลงกําเนิด การเก็บรวบรวมและขนสง การนําขยะมูลฝอยกลับมาใชใหม เปนตน

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น รายละเอียดเกี่ยวกับคูมือ • 1


3. ประเภทของขยะมูลฝอยที่เปนเปาหมายหลักของคูมือฉบับนี้

♦ คูมือฉบับนี้ใหความสําคัญกับขยะมูลฝอยชุมชน
• คําจํากัดความของขยะมูลฝอยชุมชน
ขยะมูลฝอยชุมชนหมายถึง ขยะมูลฝอยใด ๆ ที่เกิดจากกิจกรรมตาง ๆ ภายใน
ชุมชน เชน จากบานพักอาศัย การดําเนินธุรกิจและการคา สถานประกอบการ
สถานบริการ ตลาดสด สถาบันตาง ๆ รวมทั้งเศษวัสดุจากการกอสราง และรื้อ
ถอนโครงสรางตาง ๆ ทั้งนี้ ไมรวมของเสียอันตรายและมูลฝอยติดเชื้อ
แหลงที่มา : กรมควบคุมมลพิษ, “กฎขอบังคับและแนวทางสําหรับการจัดการขยะมูลฝอย
ชุมชน”, 2541

ตองการขอมูลเพิ่มเติมโปรดติดตอ
สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม
60/1 ซอยพิบูลวัฒนา 7 ถนนพระราม 6 พญาไท กทม.
10400
โทรศัพท 0-2298-6048-9, 0-2297-8087
โทรสาร 0-271-4239
Website: http://www.onep.go.th

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น รายละเอียดเกี่ยวกับคูมือ • 2


สารบัญ

หนา

รายละเอียดเกี่ยวกับคูมือ 1

สวนที่ 1 ประเด็นสําคัญที่สุดในการจัดทําโครงการ

1. การกําหนดขนาดโครงการที่เหมาะสม เพื่อสถานะทางการเงินที่มั่นคง 1-1

1-1 เปาหมายปริมาณขยะที่ตองกําจัด 1-1


1-2 คาใชจายในการเก็บขน 1-7
1-3 คาใชจายในการกําจัดขยะ 1-8
1-4 คาใชจายทั้งหมด 1-12
1-5 รายได 1-13
1-6 งบประมาณที่ทองถิ่นตองหามาสมทบ 1-16
1-7 ตารางการคํานวณ 1-18

2. การใหความรูดานสิ่งแวดลอมแกชุมชนเพื่อใหโครงการดําเนินไป 2-1
อยางราบรื่น

2-1 การมีสวนรวมของชุมชนในแตละวัน 2-1


2-2 การมีสวนรวมของประชาชนในการเลือกสถานที่ตั้งโครงการ 2-4

สวนที่ 2 การวางแผนโครงการ

3. ความจําเปนตองมีระบบการจัดการขยะมูลฝอย 3-1


หนา

4. การวางแผนระบบการจัดการขยะมูลฝอย 4-1
4-1 สภาพปจจุบันและความจําเปนตองมีโครงการ 4-1
4-2 อัตราการผลิตมูลฝอย 4-2
4-3 ประเภทของโครงการจัดการขยะมูลฝอย 4-4
4-4 แผนภูมิการจัดการขยะมูลฝอย 4-6

5. การใหความรูดานสิ่งแวดลอม 5-1
5-1 ขอมูลที่ควรเตรียมนําเสนอตอประชาชน 5-1
5-2 เทคนิคการใหความรูดานสิ่งแวดลอมแกสาธารณชน 5-2
5-3 การใหความรูดานสิ่งแวดลอมผานการมีสวนรวมของประชาชน 5-4

6. การเลือกสถานที่ตั้งโครงการ โดยคํานึงถึงสิ่งแวดลอม 6-1


สังคม และการมีสวนรวมของประชาชน
6-1 หลักการสําคัญ 6-1
6-2 กระบวนการเลือกสถานที่ตั้งโครงการ 6-2
6-3 การวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม 6-6
6-4 การมีสวนรวมของประชาชน 6-8
6-5 รายงาน 6-11
6-6 การติดตามตรวจสอบ 6-12

7. การวางแผนการจัดเก็บคาธรรมเนียม 7-1

8. การประเมินทางการเงินและทางเศรษฐศาสตร 8-1
8-1 การประเมินทางการเงิน 8-1
8-2 การประเมินทางเศรษฐศาสตร 8-4


หนา

สวนที่ 3 โครงการเฉพาะดาน

9. การลดปริมาณขยะมูลฝอย ณ แหลงกําเนิด 9-1


9-1 ความหมายและความสําคัญของการลดปริมาณขยะมูลฝอย ณ 9-1
แหลงกําเนิด
9-2 การลดปริมาณขยะมูลฝอย ณ แหลงกําเนิดโดยองคกรปกครอง 9-2
สวนทองถิ่น
9-3 การลดปริมาณขยะมูลฝอย ณ แหลงกําเนิดโดยประชาชน 9-3

10. การเก็บรวบรวมและขนสง 10-1


10-1 รถสําหรับเก็บรวบรวมขยะมูลฝอย 10-1
10-2 จํานวนรถและภาชนะรองรับขยะ 10-2
10-3 การเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยโดยภาครัฐและเอกชน 10-4
10-4 การประชาสัมพันธ 10-5
10-5 สถานีขนถาย 10-6

11. การนําขยะมูลฝอยกลับมาใชใหม 11-1


11-1 ความสําคัญของการนําขยะมูลฝอยกลับมาใชใหม 11-1
11-2 ขยะมูลฝอยที่จะนํากลับมาใชใหม 11-2
11-3 การเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยที่สามารถนํากลับมาใชใหมได 11-3
11-4 โรงงานคัดแยกและแปรสภาพวัสดุเพื่อการรีไซเคิล 11-6
11-5 การตลาดสําหรับวัสดุรีไซเคิล 11-9
11-6 การดําเนินงานของภาครัฐและภาคเอกชน 11-10
11-7 โครงการนํารอง 11-10
11-8 การประชาสัมพันธ 11-11


หนา

12. การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล 12-1


12-1 การฝงกลบ – ภาพรวม 12-1
12-2 การเลือกสถานที่ฝงกลบขยะมูลฝอย 12-3
12-3 การออกแบบระบบฝงกลบ 12-4
12-4 การดําเนินงาน 12-9
12-5 การปดพื้นที่ 12-20
12-6 การพิจารณาทางดานสิ่งแวดลอม 12-21
12-7 การติดตามตรวจสอบ 12-22

13. โครงการอื่น ๆ 13-1


13-1 การหมักทําปุย 13-1
13-2 การเผาในเตาเผา 13-3

ภาคผนวก

ภาคผนวก 1 ขบวนการพัฒนาโครงการ ผ1-1

ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค ผ2-1


2-1 การวางแผนงานโดยรวม ผ2-1
2-2 การใหความรูดานสิ่งแวดลอม ผ2-8
2-3 ที่ตั้งโครงการ กับการพิจารณาดานสังคม สิ่งแวดลอม และการมี ผ2-12
สวนรวมของประชาชน
2-4 การพิจารณาผลกระทบทางสังคม ผ2-15
2-5 การวางแผนการจัดเก็บคาบริการ ผ2-28
2-6 การเก็บรวมรวมและการขนสงขยะมูลฝอย ผ2-31
2-7 การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล ผ2-33


หนา

ภาคผนวก 3 วิธีการประเมินทางเศรษฐศาสตรและทางการเงิน ผ3-1


3-1 วิธีการประเมินทางเศรษฐศาสตร ผ3-1
3-2 การประเมินผลประโยชนทางสิ่งแวดลอม ผ3-10
โดยวิธีผลประโยชน-ตนทุน
3-3 ขอแตกตางระหวางการประเมินทางการเงิน และทางเศรษฐศาสตร ผ3-13
3-4 การใช NPV, B/C ratio และ EIRR ในการพิจารณาโครงการ ผ3-14

ภาคผนวก 4 การประมาณระบบกําจัดมูลฝอย
4-1 ระบบฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล (Sanitary Landfill) ผ4-1
4-2 ระบบการหมักทําปุย (Composting) ผ4-1
4-3 ระบบเตาเผา (Incinerator) ผ4-1

ภาคผนวก 5 เกณฑ มาตรฐาน และแนวทาง ผ5-1


การจัดการขยะมูลฝอยชุมชน

5-1 บทนํา ผ5-1


5-2 นิยาม ผ5-1
5-3 การคัดเลือกพื้นที่ของสถานที่จัดการขยะมูลฝอย ผ5-5
5-4 สถานีขนถายขยะมูลฝอย ผ5-6
5-5 สถานนําวัสดุกลับคืน ผ5-9
5-6 สถานที่กําจัดโดยเตาเผา ผ5-12
5-7 สถานที่หมักทําปุย ผ5-15
5-8 สถานที่ฝงกลบขยะมูลฝอย ผ5-18


หนา

ภาคผนวก 6 มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมที่เกี่ยวของ ผ6-1


6-1 มาตรฐานคุณภาพน้ําบาดาลที่ใชบริโภค ผ6-1
6-2 มาตรฐานน้ําทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม ผ6-2
6-3 มาตรฐานคุณภาพน้ําในแหลงน้ําผิวดิน ผ6-3
6-4 มาตรฐานควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียจากเตาเผามูลฝอยชุมชน ผ6-5

ภาคผนวก 7 เอกสารอางอิง ผ7-1


7-1 การวางแผนงานโดยรวม ผ7-1
7-7 ระบบจัดเก็บคาธรรมเนียม ผ7-1
7-3 การประเมินทางดานเศรษฐศาสตรและการเงิน ผ7-2
7-4 การใหความรูเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม ผ7-2
7-5 การเลือกสถานที่ตั้งโครงการ โดยคํานึงถึงสิ่งแวดลอม สังคม ผ7-2
และการมีสวนรวมของประชาชน
7-6 การลดขยะมูลฝอยที่แหลงกําเนิด ผ7-3
7-7 การเก็บรวบรวมและการขนสง ผ7-3
7-8 การนําขยะมูลฝอยกลับมาใชใหม ผ7-3
7-9 การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล ผ7-3
7-10 การทําปุยหมัก ผ7-4
7-11 การเผา ผ7-4


คํายอ

MP แผนแมบท
FS การศึกษาความเหมาะสมและความเปนไปได
DD การออกแบบรายละเอียด

GDP ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ

JBIC ธนาคารเพื่อความรวมมือระหวางประเทศแหงญี่ปุน
JICA องคกรความรวมมือระหวางประเทศของญี่ปุน
SAPI ความชวยเหลือพิเศษในการดําเนินโครงการ

MOSTE กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม


OEPP สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม
OEF สํานักงานกองทุนสิ่งแวดลอม
PCD กรมควบคุมมลพิษ
NEB คณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ
DIW กรมโรงงานอุตสาหกรรม

IEE การประเมินดานสิ่งแวดลอมเบื้องตน
EIA การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม

BOD ปริมาณออกซิเจนที่จุลินทรียต องการใชในการยอยสลายสารอินทรียในน้ํา


COD ปริมาณออกซิเจนใชในการยอยสารเจือปนในน้ําโดยการใชสารเคมี
DO คาออกซิเจนละลาย
SS ของแข็งแขวนลอย
VSS ของแข็งแขวนลอยระเหย


สวนที่ 1

ประเด็นสําคัญทีส่ ุดในการจัดทําโครงการ
1. การกําหนดขนาดโครงการที่เหมาะสมเพื่อสถานะทางการเงินที่มั่นคง
ในประเด็นตางๆ ที่ใชในการจัดทําโครงการซึ่งประกอบดวย ประเด็นทางดานเทคนิค, สังคม, สิ่งแวดลอม
และเศรษฐศาสตรนั้นอาจกล าวไดวาประเด็นทางการเงินมีความสําคัญมากที่สุดประเด็นหนึ่งที่องคกร
ปกครองสวนทองถิ่นตองพิจารณา เพราะในบางกรณีพบวาการกอสรางองคประกอบตางๆมีขนาดใหญ
เกินไปจนสง ผลใหโครงการลมเหลวทางการเงินได ดังนั้นการปองกันไมใหมีการออกแบบโครงการที่มี
ขนาดใหญเกินไปจึงเปนหนาที่ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
ในบทนี้จะกลาวถึงประเด็นสําคัญที่สุดในการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย เพื่อนําไปสูการออกแบบ
กอสรางโครงการที่มีขนาดเหมาะสม และมีความมั่นคงทางการเงินแกโครงการ

1-1 เปาหมายปริมาณขยะมูลฝอยที่ตองกําจัด

ประชากร

♦ จํานวนประชากรในอนาคตสามารถคาดการณไดจากสูตรตอไปนี้
Pn = Po (1+r)n
• ประชากรในปที่ n = ประชากรในปปจจุบัน x (1+r)n
เมื่อ r = อัตราการเพิ่มประชากรเฉลี่ย (เชน 0.02, 0.03)
Pn = จํานวนประชากรในปที่ n
Po = จํานวนประชากรในปปจจุบัน
สิ่งที่ตองตรวจสอบ!
เพื่อหลีกเลี่ยงการคาดการณจํานวนประชากรมากเกินความเปนจริง หากทาน
ยังไมมนั่ ใจในตัวเลขอัตราการเพิ่มประชากรในพื้นทีข่ องทาน กรุณาเลือกใช
ตัวเลขอัตราการเพิ่มประชากรที่มีคานอยกอน

โปรดทราบ!
สูตรที่นํามาเสนอนีเ้ ปนตัวอยางการคาดการณจํานวนประชากรวิธหี นึ่งเทา
นั้น ทานสามารถเลือกใชสูตรอื่นๆ เชน สูตรของสมการเสนตรง ฯลฯ หรือจะ
ปรับเปลี่ยนคาอัตราการเพิ่มประชากร “r” สําหรับชวงเวลาตางๆ ได เพื่อให
เหมาะสมกับลักษณะเฉพาะของแตละพื้นที่

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 1.การกําหนดขนาดโครงการที่เหมาะสม


เพื่อสถานะทางการเงินที่มั่นคง • 1-1
ตัวอยางการคาดการณจํานวนประชากรในอนาคต (กรณีใช r = 0.02 และ r = 0.03 เมื่อประชาชนในป
ปจจุบัน เทากับ 50,000 คน)
120,000

100,000

r = 0.03
80,000
ประชากรคาดการณ

60,000
r = 0.02
40,000

ประชากรในปจจุบัน = 50,000 คน
20,000

0
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22
ปที่

คําอธิบาย: รูปนี้แสดงแนวโนมจํานวนประชากรที่คํานวณจากสูตร Pn = Po(1+r)n


เมื่อ r = 0.02 และ 0.03 บนสมมติฐานวา Po = 50,000 คน

ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น

♦ เราสามารถคํานวณหาอัตราการเกิดขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในอนาคตได โดยใชวิธี
การเชนเดียวกันกับการคาดการณจํานวนประชากร
Wn = Wo (1+k)n
เมื่อ: Wn = อัตราการเกิดขยะมูลฝอยในปที่ n
Wo = อัตราการเกิดขยะมูลฝอยในปปจจุบัน (กรัม/คน/วัน)
k = อัตราการเพิ่มขยะมูลฝอยตอคนตอวัน รายป (เชน 0.025, 0.035)

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 1.การกําหนดขนาดโครงการที่เหมาะสม


เพื่อสถานะทางการเงินที่มั่นคง • 1-2
โปรดทราบ!
สูตรที่เสนอมาเปนเพียงตัวอยางหนึ่งเทานัน้ ทานสามารถเลือกใชวิธีการอื่น
หรือปรับเปลีย่ นคา “k” สําหรับชวงเวลาตางๆ ใหเหมาะสมกับลักษณะเฉพาะ
ของแตละทองถิ่นได

สิ่งที่ตองตรวจสอบ!
วิธีการประเมินปริมาณขยะมูลฝอยในอนาคตบางครั้งอาจใหคาที่สูงเกินไป
ดังนัน้ ควรตั้งเพดานกําหนดคาสูงสุดไว หรือเลือกคา k ที่นอยลงในชวงป
หลังๆ (เชน ปที่ 10) และตรวจสอบตัวเลขอัตราการผลิตขยะมูลฝอยใน
อนาคตที่คํานวณไดเปรียบเทียบกับเพดานทีก่ ําหนด
ทั้งนี้ กระทรวงวิทยาศาสตร ฯ ไดกําหนดเปาหมายของอัตราการผลิตขยะ
ขยะมูลฝอยสูงสุดไวที่ 1,000 กรัม/ คน/ วัน

ขอมูลอัตราการผลิตขยะมูลฝอยของประเทศในกลุมองคกรเพื่อความ
รวมมือและพัฒนาเศรษฐกิจ (OECD) ตอไปนี้ อาจมีประโยชนในการ
ประเมินอัตราการผลิตขยะมูลฝอยในอนาคต

อัตราการผลิตขยะมูลฝอยตอคนตอวันของบางประเทศในกลุม OECD
อัตราการผลิตขยะ ปที่เก็บขอมูล
(กรัม/คน/วัน) พ.ศ.
ญี่ปุน 1,118 2541
สหรัฐอเมริกา 1,973 2540
แคนาดา 1,342 2539
อังกฤษ 1,315 2540
อิตาลี 1,260 2540
เยอรมัน 1,260 2536
ฝรั่งเศส 1,315 2538
ที่มา: Japan: Ministry of the Environment, Japan
Others: OECD Environmental Data Compendium 1999

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 1.การกําหนดขนาดโครงการที่เหมาะสม


เพื่อสถานะทางการเงินที่มั่นคง • 1-3
ตัวอยางการคาดการณอัตราการผลิตขยะมูลฝอยตอคนตอวันในอนาคต
(กรณี k = 0.025 และ k = 0.035, สมมุติอัตราการผลิตขยะมูลฝอยในปจจุบันเทากับ 800 กรัม/คน/วัน)
1,800
1,600
อัตราการผลิตขยะตอคนตอวัน

1,400
k = 0.035
(กรัม/คน/วัน)

1,200
1,000
800
k = 0.025

600
อัตราการผลิตมูลฝอย ในปจจุบนั = 800 กรัม/คน/วัน
400
200
0
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22

ปที่

คําอธิบาย: รูปนี้แสดงการคาดการณอัตราการผลิตขยะมูลฝอยตอคนตอวันในอนาคต โดย


กําหนดคา k = 0.025 และ k = 0.035, สมมุติอัตราการผลิตขยะมูลฝอยในปจจุบัน
เทากับ 800 กรัม/คน/วัน

การลดปริมาณขยะมูลฝอย

♦ เราสามารถประเมินอัตราการลดปริมาณขยะมูลฝอยไดจากการพิจารณาขอมูลองค
ประกอบของขยะมูลฝอย
♦ อัตราการลดปริมาณขยะมูลฝอยไดจากการคํานวณ โดยกําหนดขอบเขตพื้นที่รณรงค
ลดปริมาณขยะมูลฝอยและอัตราความรวมมือของประชาชน
• พื้นที่รณรงคลดปริมาณขยะมูลฝอย หมายถึง ขอบเขตพื้นที่เปาหมายที่มี
โครงการลดปริมาณขยะมูลฝอย
• อัตราความรวมมือหมายถึงรอยละของประชาชนหรือครัวเรือนจํานวนเทาไร
ที่ใหความรวมมือลดปริมาณขยะมูลฝอยในพื้นที่เปาหมาย

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 1.การกําหนดขนาดโครงการที่เหมาะสม


เพื่อสถานะทางการเงินที่มั่นคง • 1-4
ตัวอยางการวางแผนลดปริมาณขยะมูลฝอย โดยพิจารณาองคประกอบของขยะมูลฝอย
องคประกอบ อัตรา อัตราการ อัตราการ พื้นที่ อัตราการ อัตราการลด
การผลิต ลดขยะ ทิง้ ขยะ ครอบคลุม รวมมือ ปริมาณขยะ
(%) (กรัม/คน/วัน) (กรัม/คน/วัน) (กรัม/คน/วัน) (%) (%) (%)
a b c=b*g d=b-c e f g=e*f
แกว 4.2 34 5 29 30 50 15
กระดาษ 12.9 103 15 88 30 50 15
พลาสสติก 16 128 19 109 30 50 15
โลหะ 2.8 22 3 19 30 50 15
ไม 4.5 36 0 36 0 0 0
ผา 2.6 21 0 21 0 0 0
หนัง &ยาง 1.6 13 0 13 0 0 0
สารอินทรีย และอื่นๆ 55.4 443 31 412 10 70 7
รวม 100 800 74 726 - - 9

ปริมาณขยะมูลฝอยที่ถูกทิ้ง

♦ ปริมาณขยะมูลฝอยที่ผลิตได คํานวณจากผลคูณของอัตราการผลิตขยะมูลฝอยตอคน
ตอวันกับจํานวนประชากร
♦ ปริมาณขยะมูลฝอยที่ลดได คํานวณจากผลคูณของปริมาณขยะมูลฝอยที่ผลิตไดกบั
อัตราการลดขยะมูลฝอย
♦ ปริมาณขยะมูลฝอยที่ถูกทิ้ง คํานวณจากผลตางของปริมาณขยะมูลฝอยที่ผลิตไดกบั
ปริมาณขยะมูลฝอยที่ลดได

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 1.การกําหนดขนาดโครงการที่เหมาะสม


เพื่อสถานะทางการเงินที่มั่นคง • 1-5
„ตัวอยางการประเมินแนวโนมของปริมาณขยะมูลฝอยที่ถูกทิ้ง

140.0

120.0 ปริมาณขยะที่ลดลงได
ปริมาณขยะที่เกิดขึ้น (ตัน / วัน)

100.0
แนวโนมการผลิตขยะมูลฝอย
80.0

60.0

40.0 ขยะที่ถูกทิ้ง
20.0

0.0
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22
ปที่

คําอธิบาย: รูปนี้แสดงแนวโนมการผลิตขยะมูลฝอย และปริมาณขยะมูลฝอยที่ถูกนําไปทิ้ง


หลังจากไดพิจารณาใชมาตรการลดปริมาณขยะมูลฝอยแลว
สมมุติฐาน: 1) ประชากร : ในปจจุบัน =50,000 คน, อัตราการเพิ่ม r = 0.02
2) อัตราการเกิดขยะมูลฝอย: ในปจจุบัน=800 กรัม/คน/วัน, อัตราการเพิ่ม k = 0.035
3) อัตราการลดปริมาณขยะมูลฝอย = 9%

โปรดศึกษาเพิม่ เติม !
“บทที่ 4. การวางแผนระบบการจัดการขยะมูลฝอย”

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 1.การกําหนดขนาดโครงการที่เหมาะสม


เพื่อสถานะทางการเงินที่มั่นคง • 1-6
1-2 คาใชจายในการเก็บขน

♦ เราสามารถประเมินคาใชจายในการเก็บขนไดอยางคราวๆ จากแบบจําลองที่จัดทําจาก
ขอมูลสํารวจจริงในพื้นที่ 16 เทศบาลของประเทศไทย ดังตอไปนี้
• คาใชจายในการเก็บขนขยะมูลฝอย ( บาท/ป)
= 179.5 x ปริมาณน้ําหนักขยะมูลฝอยที่เก็บไดรายป (ตัน/ป) + 1,686,000
ตัวอยาง
คาใชจายในการเก็บขนขยะมูลฝอย = 179.5*15,587 (ตัน/ป) +1,686,000
= 4,484 ,000 บาท/ป

แบบจําลองการประเมินคาใชจาย
18,000
งบประมาณที่ตองใชในการเก็บขนขยะ (x1,000 บาท)

16,000

14,000

12,000

10,000
y = 0.1795x + 1686
8,000
R 2 = 0.7264
6,000

4,000

2,000

0
0 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000 60,000 70,000 80,000
น้ําหนักขยะมูลฝอยที่เก็บขนได (ตัน/ป)

คําอธิบาย: รูปนี้ใชสําหรับหางบประมาณที่ตองใชในการเก็บขน ตามปริมาณน้ําหนักขยะมูลฝอยที่


ตองเก็บขนในแตละป
หมายเหตุ: ใชขอมูลจาก “โครงการศึกษาความเหมาะสมของคาบริการ และองคกรบริหารของทองถิ่น
ที่จัดใหมีระบบบําบัดน้ําเสียและระบบกําจัดขยะมูลฝอย : สํานักงานนโยบายและแผน
สิ่งแวดลอม, ตุลาคม 2542 (ขอมูลไดจากการสํารวจ ป 2540)

โปรดศึกษาเพิม่ เติม !
“บทที่ 10. การเก็บรวบรวมและขนสง”

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 1.การกําหนดขนาดโครงการที่เหมาะสม


เพื่อสถานะทางการเงินที่มั่นคง • 1-7
1-3 คาใชจายในการกําจัดขยะมูลฝอย

ความสามารถในการฝงกลบขยะมูลฝอย

♦ การคํานวณความสามารถในการรองรับของพื้นที่ฝงกลบขยะมูลฝอย จําเปนตองคํานวณ
ปริมาณขยะมูลฝอยทั้งหมด ที่ตองฝงกลบตลอดชวงอายุของโครงการกอน เชน พื้นที่
ฝงกลบสามารถใชงานได 20 ปหลังจากเริ่มดําเนินการ และถาสามารถเริ่มดําเนินการ
ฝงกลบไดในปที่ 3 ของโครงการ เราสามารถคํานวณหาปริมาณขยะมูลฝอยสะสมตลอด
20 ป ไดจากสูตรตอไปนี้
• น้ําหนักขยะมูลฝอยสะสมใน 20 ป = W4+W5+…+W23
เมื่อ Wi = น้ําหนักขยะมูลฝอยที่ฝงกลบไดในปที่ i
(ปที่เริ่มทําการฝงกลบเปนปที่ 4 ของโครงการ)
• ปริมาตรมูลฝอยที่ฝงกลบใน 20ป = น้ําหนักขยะมูลฝอยสะสมใน 20 ป /0.55
เมื่อ แฟกเตอร “ 0.55” คือ ความหนาแนนของขยะมูลฝอยหลังจากการบดอัด
ในพื้นที่ฝงกลบ (ตัน/ลบ.ม.)
• พื้นที่ฝงกลบที่ตองการ = ปริมาตรขยะมูลฝอยที่ฝงกลบใน 20 ป / 6*1.5
เมื่อ “6” คือ ความสูงของชั้นขยะมูลฝอยไมรวมดินกลบทับรายวัน
และ “1.5” คือ แฟกเตอรสําหรับพื้นที่ขององคประกอบอื่นๆ นอกพื้นที่ฝงกลบ

ตัวอยาง
ปริมาณขยะมูลฝอยสะสมใน 20 ป = 548,000 ตัน
ปริมาตรขยะมูลฝอยที่ฝงกลบ = 548 ,000/ 0.55 = 996,000 ลบ.ม.
พื้นที่ที่ตองการ = 996,000 /6 * 1.5 = 249,000 ตร.ม.
* ใชขอมูลอางอิงจากตารางตอไปนี้

„ตัวอยางการคํานวณน้ําหนักและปริมาตรของขยะมูลฝอยที่ฝงกลบ
0 1 2 3 4 5 … 22

เริ่มฝงกลบ สิ้นสุดการ
0 1 2 …
ฝงกลบ19

ขยะที่ถูกทิ้ง ตัน/ป 13,248 13,985 14,764 15,587 16,455 17,372 … 43,654

น้ําหนักขยะสะสม ตัน 0 0 0 15,587 32,042 49,414 … 547,561

0 0 0 28,340 58,258 89,843 … 995,566


ปริมาตรขยะสะสม ลบ.ม.

หมายเหตุ: ใชขอมูลเดียวกันกับตัวอยางการคํานวณหา “ปริมาณขยะมูลฝอยที่ทิ้ง”

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 1.การกําหนดขนาดโครงการที่เหมาะสม


เพื่อสถานะทางการเงินที่มั่นคง • 1-8
คาการกอสรางสถานีฝงกลบขยะมูลฝอย

♦ เราสามารถประเมินคาใชจา ยในการกอสรางสถานีฝงกลบขยะมูลฝอยไดอยางคราวๆ
จากแบบจําลองตอไปนี้
• คาใชจายในการกอสรางสถานีฝงกลบขยะมูลฝอย (บาท/ป)
= 13,820 x ปริมาตรขยะมูลฝอยที่ฝงกลบ (1,000 ลบ.ม.) +30,421,000

ตัวอยาง
คาการกอสรางสถานีฝงกลบ = 13,820 * 996 (1,000) ลบ.ม. + 30,421,000
= 44,186,000 บาท

„แบบจําลองการประเมินคาใชจายในการกอสรางพื้นที่ฝงกลบขยะมูลฝอย

80,000
คาใชจายในการกอสราง (x1,000 บาท )

70,000

60,000

50,000
y = 13.82x + 30421
40,000

30,000

20,000

10,000

-
- 500 1,000 1,500 2,000 2,500 3,000
ปริมาตรของพื้นที่ฝงกลบ (x 1,000 ลบ.ม.)

คําอธิบาย: รูปนี้ใชสําหรับหาคาใชจายในการกอสรางสถานที่ฝงกลบขยะมูลฝอย
หมายเหตุ: แบบจําลองนี้อา งอิงมาจาก “เอกสารชุดคูมือการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการ เพื่อการ
จัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมระดับจังหวัด” เลมที่ 8 เรื่อง “ การจัดการขยะมูลฝอยและ
สิ่งปฏิกูล” ของสํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม กระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยี
และสิ่งแวดลอม.

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 1.การกําหนดขนาดโครงการที่เหมาะสม


เพื่อสถานะทางการเงินที่มั่นคง • 1-9
การจายคืนเงินกู (ตามปกติ) สําหรับการกอสรางสถานีฝงกลบขยะมูลฝอย

♦ จํานวนเงินกูจะมากหรือนอย ขึ้นกับสัดสวนงบประมาณที่รัฐบาลใหการสนับสนุน
โครงการ หากสัดสวนการใหเงินสนับสนุนของรัฐเทากับ “p” ปริมาณเงินกูจะเปนไป
ตามสูตรตอไปนี้
• จํานวนเงินกู = คาใชจายในการกอสราง x (1- p)
เมื่อ “p” คือ สัดสวนที่รัฐบาลใหการสนับสนุนโครงการ
♦ การจายคืนเงินกูรายปตามปกติ (Nominal Annual Repayment) สามารถคํานวณไดจาก
สูตรตอไปนี้
LA * q * (1 + q) n
• จํานวนเงินจายคืน (ปกติ)รายป (1,000 บาท) =
(1 + q) n − 1
เมื่อ
LA = จํานวนเงินกู (บาท)
q = อัตราดอกเบี้ยเงินกู (เชน. 0.07)
n = ชวงระยะเวลาที่กู (เชน 20 ป)
ตัวอยาง
จํานวนเงินกู = 44,186,000 * (1-0.7) = 13,256,000 บาท
13,256,000 * 0.07 * (1 + 0.07) 20
จํานวนเงินจายคืนรายป =
(1 + 0.07) 20 − 1
= 1,251,000 บาท

การจายคืนเงินกู (จริง) สําหรับกอสรางสถานีฝงกลบขยะมูลฝอย

♦ จํานวนเงินจายคืนตามปกติทกี่ ลาวไปแลวคิดตามสถานการณ ณ ปแรกของโครงการ แต


คาของเงินโดยปกติจะลดลงทุกปตามการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ดังนั้นจึงควรคํานวณคาที่
แทจริงของการจายคืนเงินกู ซึง่ เรียกวา การจายคืนเงินจริง
♦ จํานวนเงินที่ตองจายคืนจริงในปที่ i
จํานวนเงินจายคืน ปกติ
=
(1 + s) n
เมื่อ S = อัตราคิดลดเฉลี่ย

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 1.การกําหนดขนาดโครงการที่เหมาะสม


เพื่อสถานะทางการเงินที่มั่นคง • 1-10
ตัวอยาง
1,251,000
จํานวนเงินจายคืนจริง = = 768,000 บาท
(1 + 0.05) (10)

คาใชจายการดําเนินงานและบํารุงรักษาสถานีฝงกลบขยะมูลฝอย

♦ เราสามารถประเมินคาใชจายในการดําเนินงานและบํารุงรักษา (O&M) สถานีฝงกลบ


ขยะมูลฝอย ไดอยางคราวๆ จากสูตรในแบบจําลองตอไปนี้
• คาใชจาย O&M ในการฝงกลบขยะมูลฝอย (บาท/ป)
= [44.5 x น.น.ขยะมูลฝอยที่ฝงกลบ (ตัน/ป)] +761,000

ตัวอยาง
คาใชจาย O&M ในการฝงกลบ = [44.5 * 15,587(ตัน/ป)] + 761,000
= 1,454,000 บาท

„ แบบจําลองการประเมินคาการดําเนินการ & บํารุงรักษาสถานีฝงกลบขยะมูลฝอย

4,500

4,000
คาใชจายในการดําเนินการ&บํารุงรักษา (x 1,000 บาท)

3,500

3,000

2,500
y = 0.0445x + 761
2,000

1,500

1,000

500

-
- 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000 60,000 70,000 80,000
น้ําหนักมูลฝอยที่ตองฝงกลบตอป (ตัน/ป)

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 1.การกําหนดขนาดโครงการที่เหมาะสม


เพื่อสถานะทางการเงินที่มั่นคง • 1-11
คําอธิบาย: รูปนี้ใชสําหรับหาคาใชจายในการดําเนินการและบํารุงรักษาสถานีฝงกลบขยะมูลฝอย
หมายเหตุ: แบบจําลองนีอ้ างอิงมาจาก “เอกสารชุดคูมือการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการเพื่อ
การจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมระดับจังหวัด” เลมที่ 8 เรื่อง “ การจัดการขยะมูลฝอย
และสิ่งปฏิกูล” ของสํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม กระทรวงวิทยาศาสตร
เทค โนโลยีและสิ่งแวดลอม.

โปรดศึกษาเพิม่ เติม
“บทที่ 12. การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล”

1-4 คาใชจายทั้งหมด

♦ คาใชจายทั้งหมดประกอบดวย 1) คาเก็บขนขยะมูลฝอย 2) คาจายคืนเงินกู 3) คา


O&M

„ แนวโนมของคาใชจายทั้งหมด (ตัวอยาง)

14,000

12,000
คาใชจายทั้งหมด
คา O&M
10,000
คาใชจาย x1,000 (บาท)

คาจายคืนเงินกู
8,000

6,000

4,000
คาเก็บขนขยะ
2,000

0
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19
ปที่
คําอธิบาย: รูปนี้ใชแสดงองคประกอบของคาใชจายทั้งหมดในการจัดการขยะมูลฝอย คาใชจา ย
เหลานี้จะเพิ่มขึ้นตามปริมาณขยะมูลฝอยที่ทิ้ง

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 1.การกําหนดขนาดโครงการที่เหมาะสม


เพื่อสถานะทางการเงินที่มั่นคง • 1-12
1-5 รายได

อัตราคาบริการ ตองพิจารณา “ความสามารถในการจาย”

♦ การคิดคาบริการในอัตราที่ครอบคลุมคาใชจายในการจัดการขยะมูลฝอยทัง้ หมดไดนั้น
เปนสิ่งที่เทศบาลตองการ แตเปนไปไมไดเพราะอัตราคาบริการนี้จะมีคาสูงเกินกวา
ความสามารถในการจายของประชาชน ดังนั้นในการกําหนดอัตราคาบริการจึงควร
พิจารณาจาก “ความสามารถในการจายของประชาชน” ควบคูไปดวย
♦ คา “ความสามารถในการจาย” หาไดจากการสํารวจดวยแบบสอบถาม โดยใหประชาชน
ทราบอัตราคาบริการเต็มที่คดิ จากคาใชจา ยทั้งหมด แลวตอบวาสามารถจายไดในอัตราใด

สิ่งที่ตองตรวจสอบ!
กรุณาตรวจสอบความสามารถในการจายในเขตพื้นที่ของทานเทียบกับโครงสรางคาใช
จายเฉลี่ยรายเดือนของภูมิภาค เพื่อใชกําหนดอัตราคาบริการ
ถาอัตราคาบริการกําหนดไวเทากับ 45 บาท/ครัวเรือน/เดือนและเปนจํานวนเงินที่นอย
กวาคาใชจายเบ็ดเตล็ดอื่นๆ ของครัวเรือน และไมแพงจนเกินไป สามารถสรุปไดวาเปน
อัตราที่ประชาชนสามารถจายได

โครงสรางคาใชจายเฉลี่ยรายเดือนของครัวเรือนในป พ.ศ. 2543


(คาใชจายเฉลี่ยรายเดือนของครัวเรือนในเขตเทศบาล = 11,417 บาท/ ครัวเรือน)
ร า ย จ า ย (บ า ท /ค รั ว เรื อ น /เดื อ น )
0 500 1 ,0 0 0 1 ,5 0 0 2 ,0 0 0 2 ,5 0 0 3 ,0 0 0 3 ,5 0 0 4 ,0 0 0

3 0 .1 %
อ า ห า ร แ ล ะ เค รื่ อ ง ดื่ ม 3 ,4 4 0
2 1 .5 %
ที่ อ ยู อ า ศั ย แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม ใ น ค รั ว เรื อ น 2 ,4 4 9
1 6 .6 %
ก า ร เดิ น ท า ง แ ล ะ ติ ด ต อ สื่ อ ส า ร 1 ,8 9 6
1 4 .3 %
ค า ใ ช จ า ย สํ า ห รั บ สิ่ ง อุ ป โภ ค 1 ,6 2 7
3 .9 %
ก า ร ศึ ก ษ า 441
2 .8 %
เค รื่ อ ง นุ ง ห ม แ ล ะ ร อ ง เท า 324
2 .6 %
ค า ดู แ ล ร า ง ก า ย 302
2 .3 %
ค า รั ก ษ า พ ย า บ า ล 257
2 .1 %
ก า ร พั ก ผ อ น แ ล ะ ก า ร อ า น ห นั ง สื อ 239
2 .0 %
เค รื่ อ ง ดื่ ม ที่ มี แ อ ล ก อ ฮ อ ล 233
1 .3 %
ผ ลิ ต ภั ณ ฑ บุ ห รี่ 143

เบ็ ด เต ล็ ด อื่ น ๆ
0 .6 % 4 5 บ า ท /ค รั ว เรื อ น /เดื อ น
66

ที่มา: สํานักงานสถิติแหงชาติ “การสํารวจสภาพสังคม-เศรษฐกิจครัวเรือน”, พ.ศ. 2543

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 1.การกําหนดขนาดโครงการที่เหมาะสม


เพื่อสถานะทางการเงินที่มั่นคง • 1-13
ประสิทธิภาพการจัดเก็บคาบริการ

♦ โดยทั่วไปประสิทธิภาพการจัดเก็บคาบริการของโครงการขยะมูลฝอยจะคอนขางต่ํา จึง
ควรจะหาวิธีเพิม่ ประสิทธิภาพใหสูงขึ้น เชน จัดตั้งระบบการจัดเก็บทีม่ ีประสิทธิภาพ
และใหความรูด านสิ่งแวดลอม เพื่อปลูกฝงจิตสํานึกและความตระหนักดานสิ่งแวดลอม
แกประชาชน

การวางแผนเรื่องประสิทธิภาพการจัดเก็บคาบริการ (ตัวอยาง)
100
ประสิทธิภาพในการจัดเก็บคาบริการ (%)

90
80
70
60
50
40
30
20
10
0
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19
ปที่

คําอธิบาย: เราสามารถวางแผนประสิทธิภาพการจัดเก็บคาบริการไดดังรูปนี้ โดยควรกําหนด


ประสิทธิภาพการจัดเก็บคาบริการใหสูงทีส่ ุดเทาที่จะทําได

รายได

♦ รายไดของโครงการ คํานวณไดจากผลคูณของอัตราคาบริการ, ประสิทธิภาพในการ


จัดเก็บ และจํานวนครัวเรือนในพื้นที่บริการ
• รายได = อัตราคาบริการ (บาท/ครัวเรือน/เดือน)
x จํานวนครัวเรือน x ประสิทธิภาพในการจัดเก็บ x 12 เดือน

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 1.การกําหนดขนาดโครงการที่เหมาะสม


เพื่อสถานะทางการเงินที่มั่นคง • 1-14
„ แนวโนมของรายไดจากการจัดเก็บคาบริการ (ตัวอยาง)

12,000

10,000
รายได ( x1,000 บาท )

8,000

6,000

4,000

2,000

0
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19

ปที่

คําอธิบาย: รูปนี้แสดงตัวอยางหนึ่งของแนวโนมรายไดจากการจัดเก็บคาบริการ ในกรณีที่อัตรา


คาบริการมีการเปลี่ยน 3 ครั้ง จาก 30 บาท/ ครัวเรือน/ เดือน เปน 45 บาท/ ครัวเรือน/
เดือน
หมายเหตุ: คิดที่อัตราคาบริการ = 30-45 บาท/ครัวเรือน/เดือน
และใชตวั เลขประสิทธิภาพการจัดเก็บคาบริการจากหัวขอที่แลว เรื่อง “ประสิทธิภาพ
การจัดเก็บคาบริการ”

โปรดศึกษาเพิม่ เติม !
“บทที่ 7. การวางแผนการจัดเก็บคาบริการ”

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 1.การกําหนดขนาดโครงการที่เหมาะสม


เพื่อสถานะทางการเงินที่มั่นคง • 1-15
1-6 งบประมาณที่ตองหามาสมทบ

♦ งบประมาณที่ทองถิ่นตองหามาสมทบ คือผลตางระหวางคาใชจายทั้งหมดกับรายได
ที่จัดเก็บได (ซึ่ง คือ พื้นที่แรเงาในรูปตอไปนี้)

„ งบประมาณที่ทองถิ่นตองจัดหามาสมทบจาย ( x1,000 บาท)

14,000

12,000
คาใชจาย
รายจาย ( x1,000บาท)

10,000

8,000
งบประมาณที่ตองการ
6,000
รายได
4,000

2,000

0
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19
ปที่
คําอธิบาย: รูปนี้แสดงใหเห็นผลตางระหวางคาใชจายทั้งหมดและรายไดที่จัดเก็บได

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 1.การกําหนดขนาดโครงการที่เหมาะสม


เพื่อสถานะทางการเงินที่มั่นคง • 1-16
„ งบประมาณที่ทองถิ่นตองจายสมทบตอตันของขยะมูลฝอย (บาท/ตัน)

500
450
คาใชจาย
400 งบประมาณที่ตอง คาใชจาย
350 สมทบตอตันขยะ
มูลคา (บาท/ตัน)

300
งบประมาณที่ตอง
250 สมทบตอตันขยะ
200
150
100 รายได
รายได
50
0
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19
ปที่
ปที่
คําอธิบาย: รูปนี้แสดงผลตางระหวางคาใชจายตอตันของขยะมูลฝอยที่ตองฝงกลบ และรายไดตอ
ตันจากการจัดเก็บคาบริการ ถาปริมาณขยะมูลฝอยที่ตองฝงกลบมีเพิ่มขึ้นจะทําให
คาใชจายตอตันลดลง

โปรดศึกษาเพิม่ เติม
“บทที่ 8 การประเมินทางการเงินและทางเศรษฐศาสตร”

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 1.การกําหนดขนาดโครงการที่เหมาะสม


เพื่อสถานะทางการเงินที่มั่นคง • 1-17
1-7 ตารางการคํานวณ

„ ตารางการคํานวณ

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 1.การกําหนดขนาดโครงการที่เหมาะสม


เพื่อสถานะทางการเงินที่มั่นคง • 1-18
2. การใหความรูดา นสิ่งแวดลอมแกชุมชนเพื่อใหโครงการดําเนินไป
อยางราบรื่น
การสรางสถานที่ฝงกลบขยะมูลฝอยเพียงอยางเดียวยังไมอาจแกปญหาการจัดการขยะมูลฝอยของ
ชุมชนได และจําเปนอยางยิ่งที่จะตองทําใหประชาชนในทองถิ่นไดเขาใจความสําคัญของระบบ
จัดการขยะมูลฝอย มิฉะนั้นคงเปนการยากในการหาสถานที่สําหรับกอสรางสถานีฝงกลบขยะมูลฝอย
และยากที่จะไดรับความรวมมือเปนอยางดีจากประชาชน ไมสามารถเก็บคาบริการไดอยางมี
ประสิทธิภาพและไมสามารถดําเนินโครงการใหกาวหนาไปยังขั้นตอนตอไปได ดังนั้นการให
ความรูแกประชาชนเพื่อเสริมสรางความตระหนักตอปญหาสิ่งแวดลอมเปนสิ่งที่คอนขางจําเปน
เพื่อที่จะทําใหการดําเนินการจัดทําโครงการเปนไปอยางราบรื่น

ในหัวขอนี้จะกลาวถึงความสําคัญและการแนะนําแนวทางการใหความรูดานสิ่งแวดลอมแก
ประชาชน

2-1 การมีสวนรวมของชุมชนในแตละวัน

กลยุทธการขยายผลเชื่อมโยงโครงการตาง ๆ และการมีสวนรวมของชุมชน

♦ การใหความรูที่ไดผลดีที่สุดคือการใหประชาชนมีโอกาสรวมปฏิบัติจริงในโครงการตาง ๆ
โครงการรีไซเคิลขยะมูลฝอยเปนโครงการหนึ่งที่เหมาะสมสําหรับวัตถุประสงคนี้ โครงการ
ที่แนะนําคือ “ธนาคารขยะ” ซึ่งเปนโครงการรีไซเคิลที่มีประสิทธิภาพดานการเงิน และมี
รายละเอียดในหัวขอตอไป การเริ่มตนโครงการลักษณะนี้จะตองมีการวางกลยุทธเชื่อมโยง
ใหประชาชนมีสวนรวมอยางตอเนื่องสูโครงการในขั้นตอไป
♦ กลยุทธการเชื่อมตอโครงการนี้ จะชวยเพิ่มความตระหนักตอคุณคาของสิ่งแวดลอมแก
ประชาชน ซึ่งเปนขั้นตอนที่จําเปนมากสําหรับการยกระดับความกาวหนาของโครงการ
จัดการขยะมูลฝอยและเปนขั้นตอนแรกที่ไมควรหลีกเลี่ยง เพื่อใหการจัดหาสถานที่กอสราง
โครงการมีความราบรื่น หรือสามารถจัดเก็บคาบริการไดอยางมีประสิทธิภาพ

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 2. การใหความรูดานสิ่งแวดลอมแกชุมชน


เพื่อใหโครงการดําเนินไปอยางราบรื่น • 2-1
ƒ กลยุทธในการมีสวนรวมของประชาชน

โครงการนํารอง เชน
“โครงการธนาคารขยะ”

ความตระหนักในคุณคา
ของสิ่งแวดลอม

วางแผนระบบจัดการขยะ
เขาใจถึงความจําเปนตองมี
ทะเบียนประชากรที่อาศัยอยู
โครงการจัดการขยะมูลฝอย
ในบริเวณที่ตั้งโครงการ

เขาใจถึงความจําเปนที่
ฐานะการเงินของโครงการที่
โครงการจัดการขยะมูลฝอย
ดีขึ้นเนื่องจากระบบเก็บ
ตองมีรายได
คาบริการ

โครงการดานสิ่งแวดลอมอืน่ ๆ ที่
ชุมชนมีสวนรวม

สังคมยั่งยืน

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 2. การใหความรูดานสิ่งแวดลอมแกชุมชน


เพื่อใหโครงการดําเนินไปอยางราบรื่น • 2-2
“ธนาคารขยะ”
♦ “ธนาคารขยะ”หรือ“ธนาคารวัสดุรีไซเคิล” เปนหนทางที่ทําใหการมีสวนรวมของประชาชน
ไดผลอยางมาก และควรเริ่มตนจากนักเรียนตามโรงเรียนตางๆ แลวขยายผลไปสูโครงการ
อื่น ๆ ที่ทําใหชุมชนสามารถเขามามีสวนรวมมากขึ้นเรื่อย ๆ
♦ การสงเสริมโครงการการมีสวนรวมดังกลาวตองมีการใหขอมูลทางดานสิ่งแวดลอมโดยจัด
กิจ กรรม เช น การจั ด สัม มนาหรือ ประชุม เชิง ปฏิบัติ ก ารใหแ ก ป ระชาชน ซึ่ง จะสง ผลให
ประชาชนเกิดความตระหนักตอปญหาสิ่งแวดลอม

“ธนาคารขยะ” ตัวอยางจากเทศบาลตําบลดานขุนทด
เทศบาลตําบลดานขุนทด มีจํานวนประชากรประมาณ 12,000 คน ประสบความสําเร็จใน
การสร างจิตสํานึกในเรื่องของสิ่งแวดลอมของประชาชน โดยใช โครงการการนําขยะ
มูลฝอยกลับ มาใชใหม ซึ่งเรียกวาโครงการ “ธนาคารขยะ” จะสามารถตั้งขึ้นในโรงเรียน
ทุกแหง โดยมีเด็กนักเรียนในแตละโรงเรียนเปนสมาชิก เด็กนักเรียนสามารถนําของเสียที่
สามารถนํากลับมาใชประโยชนไดอีก อยางเชน ขวดแกว กระปอง กระดาษและพลาสติก
มาที่โรงเรียนและฝากไวกับธนาคาร แลวธนาคารจะรวบรวมไปจําหนายและไดเงินกลับมา
โครงการนี้เลียนแบบระบบฝากเงินของธนาคารแตตางกันตรงที่วา สิ่งที่นํามาฝากนั้นไมใช
เงิน แตเปนขยะมูลฝอยที่นํากลับมาใชใหมได สําหรับการถอนนั้นสมาชิกสามารถเลือก
สิ่งของที่ตองการได เชน จักรยาน ลูกบอล เครื่องเลนตาง ๆ
แนวทางนี้ เ ป น วิ ธี ก ารที่ ดี ใ นการสอนเด็ ก ให รู จั ก การอนุ รั ก ษ สิ่ ง แวดล อ ม และความ
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับเด็กยอมมีผลทําใหผูใหญปฏิบัติตาม เทศบาลตําบลดานขุนทดได
เสนอโครงการ “ธนาคารขยะ” ใหแกชุมชนและประสบความสําเร็จอยางงดงามในการ
สรางจิตสํานึกเรื่องสิ่งแวดลอม
นอกจากนี้เทศบาลยังไดพยายามเชื่อมโยงกิ จกรรมเหลานี้กับโครงการอื่ น ๆ เชน การ
รณรงคใหใชรถจักรยาน การทดลองบําบัดน้ําเสีย เปนตน

โปรดศึกษาเพิม่ เติม !
“บทที่ 5. การใหความรูดานสิ่งแวดลอม”, “บทที่ 11 การนําขยะมูลฝอยกลับมาใชใหม”

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 2. การใหความรูดานสิ่งแวดลอมแกชุมชน


เพื่อใหโครงการดําเนินไปอยางราบรื่น • 2-3
2-2 การมีสวนรวมของประชาชนในการเลือกสถานที่ตั้งโครงการ

การปรับทัศนะคติที่มีตอการเลือกสถานที่ตั้งโครงการ

1. หลีกเลี่ยงรูปแบบ “ตัดสินใจกอน-ประกาศ-ชี้แจง” และหันมาใชรูปแบบ “ใหความรู-ใหมี


สวนรวม-ใหตัดสินใจเอง”
♦ ที่ผานมาการเลือกพื้นที่โครงการเปนอํานาจการตัดสินใจของบุคลากรหลักเพียงบางคน
ประชาชนและชุมชนรอบ ๆ โครงการจะรับทราบแผนงานเปนครั้งแรกหลังจากที่มีการ
กําหนดแผนงานของโครงการทุกอยางแลว เรียกรูปแบบนี้วา “การตัดสินใจ- ประกาศ-
ชี้แจง ” ซึ่งจะนําไปสูความขัดแยงของชาวบานกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น
♦ เพื่อเปนการสงเสริมใหประชาชนในทองถิ่นไดเขามามีสวนรวม ประการแรก จําเปนที่
จะตองใหความรูกับประชาชน เพื่อยกระดับความตื่นตัวในเรื่องสิทธิ หนาที่ และความ
รับผิดชอบตอการจัดการสิ่งแวดลอม ทั้งนี้เพราะสิ่งแวดลอมศึกษาสําหรับคนในทองถิ่น
เปนขั้นตอนแรกที่จะนําไปสูการมีสวนรวม วิธีการนี้เปนรูปแบบที่เรียกวา “ใหความรู-
ใหมีสวนรวม-ใหตัดสินใจเอง”
2. อํานวยความสะดวกแกกิจกรรมการมีสวนรวมของชุมชน
♦ ปญหาขยะเปนปญหาของสังคม ที่สงผลกระทบโดยตรงตอคุณภาพชีวิตของประชาชน
และตองการความรวมมือของประชาชนในการแกไขปญหา บทบาทขององคกรปกครอง
สวนทองถิ่นไมใชเปนการสั่งการจากระดับบนลงสูระดับลาง (top-down manner) แต
ควรเปนการอํานวยความสะดวกแกประชาชนในทองถิ่น ใหมีการหารือถึงวิธีการแกไข
ปญหา และเขามามีสวนรวมในการแกไขปญหา เพื่อใหบรรลุถึงเปาหมายที่ประชาชน
ตองการ
♦ เพื่ อ ให ก ารทํ า ประชาพิ จ ารณ ห รื อ การปรึ ก ษากั บ ประชาชนมี ค วามหมายไม เ ปล า
ประโยชน หนวยงานปกครองสวนทองถิ่นจะตองอํานวยความสะดวก และจัดหาขอมูลที่
ถูกตองเกี่ยวกับปญหาและทางเลือกในการแกไขปญหาที่เหมาะสมและเปนไปได ทั้ง
ทางดานเทคนิค และการเงิน รวมทั้งอธิบายทางเลือกตาง ๆ ที่เสนอมาอยางชัดเจน

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 2. การใหความรูดานสิ่งแวดลอมแกชุมชน


เพื่อใหโครงการดําเนินไปอยางราบรื่น • 2-4
การมีสวนรวมของชุมชนในการเลือกสถานที่ตั้งโครงการ

♦ การเลือกสถานที่ตั้งโครงการควรดําเนินการตามขั้นตอนที่แสดงในรายการโดยมี
สาระดังนี้
1. กําหนดเกณฑในการเลือกพื้นที่
2. ทํารายการสถานที่ตั้งโครงการที่เขาขายเปนพื้นที่ที่มีความเหมาะสม
3. สํารวจพื้นที่ทางเลือกที่เขาขายวาเหมาะสม และสํารวจทัศนคติของชุมชน
ใกลเคียงพื้นที่เหลานี้
4. ทําความเขาใจกับชุมชน หนวยงาน และองคกรตางๆ (เชน วัด โรงเรียน) ใน
บริเวณพื้นที่เปาหมาย
♦ กอนที่จะทําการเลือกสถานที่ตั้งโครงการ จําเปนอยางยิ่งที่จะตองใหชุมชนรวมรับ ทราบ
ถึงปญหาของโครงการ ความจําเปนที่จะตองมีโครงการ ลักษณะการดําเนินงานโครงการ
และองคประกอบที่จําเปนของโครงการ นอกจากนี้หลังมีมติรวมกันเปนเอกฉันทเห็น
ชอบด วยกั บโครงการแล ว การติ ดตามตรวจสอบความก าวหน าในการดํ าเนิ นการ
โครงการ และการสื่อสารเพื่อการประเมินผลการดําเนินการก็นับวาเปนปจจัยสําคัญดวย
เชนกัน
♦ มีประเด็นสําคัญ 3 ประการ ของการมีสวนรวมของประชาชนในการเลือกพื้นที่
กอสรางโครงการ ดังรายละเอียดตอไปนี้
• ตองมีความเชื่อมั่นในเหตุผลที่ใชเลือกพื้นที่เพราะมักมีคําถามวา “ทําไม
พื้ น ที่ นี้ จึ ง มี ค วามเหมาะสมเข า ข า ยเป น พื้ น ที่ ท างเลื อ กแห ง หนึ่ ง ของ
โครงการ”
• “มีหลักเกณฑในการประเมินพื้นที่ที่เขาขายเปนพื้นที่ทางเลือกอยางไร”และ
“มีการตัดสินใจเลือกพื้นที่เหลานี้ดวยวิธีการอยางไร” คําตอบของคําถาม
ขางตนนี้ตองมีความชัดเจน
• ผูเสนอโครงการตองสํารวจตรวจสอบสภาพโดยรอบของพื้นที่ทางเลือก
รวมถึ ง โครงสร า งของชุ ม ชนและความคิ ด เห็ น ของชุ ม ชน ทั้ ง นี้ ร วมถึ ง
ความเห็นจากกลุมที่เกี่ยวของอื่นๆและองคกรพัฒนาเอกชน (NGOs)
• เปนเรื่องสําคัญมากที่จะตองติดตอสื่อสารกับชุมชนใกลเคียง ในรูปของการ
ประชุมทั้งแบบที่เปนทางการและไมเปนทางการหลาย ๆ ครั้ง ในบางกรณี
• อาจตองใชมาตรการบรรเทาปญหาเขารวมดวย

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 2. การใหความรูดานสิ่งแวดลอมแกชุมชน


เพื่อใหโครงการดําเนินไปอยางราบรื่น • 2-5
ตองเตรียมตอบคําถามจากประชาชนใหกระจาง

♦ การประชุมรวมกับประชาชน อาจมีคําถามเกี่ยวกับโครงการจากผูอาศัยในพื้นที่หรือ
จากองคกรที่เกี่ยวของ ซึ่งควรเตรียมคําตอบคําถามนี้กระจางเพียงพอ
♦ คําถามสามารถครอบคลุมไดตลอดชวงอายุโครงการ ดังนั้นการเตรียมตอบคําถาม
ในที่ประชุมที่ทําใหเกิดผลดีควรมีทั้งการชี้แจงถึงความเปนมาของโครงการพรอม ๆ
กับการชี้แจงผลประโยชน ที่จะไดรับจากโครงการ ลัก ษณะคํ าถามที่ตองเตรีย ม
คําตอบ ไดแก ประเด็นตอไปนี้
1. การเสริมสรางจิตสํานึกดานสิ่งแวดลอม
• ทําไมจึงตองมีโครงการนี้ ทานไดอธิบายถึงความจําเปนตองมีโครงการ
เพียงพอหรือไม
2. การรีไซเคิล
• ขนาดของสถานที่ฝงกลบขยะมูลฝอยที่ออกแบบไว มีความเหมาะสมหรือ
ไม มีขนาดใหญเกินไปหรือไม มีการรีไซเคิลมากเพียงพอหรือยัง
3. การเปรียบเทียบทางเลือกของสถานที่ฝงกลบ
• ทํ า ไมจึ ง เลื อ กพื้ น ที่ นี้ ได พิ จ ารณาพื้ น ที่ อื่ น บ า งหรื อ ไม มี วิ ธี ก ารในการ
เปรียบเทียบอยางไร
• ประชาชนที่อาศัยใกลเคียงสถานที่ฝงกลบไดมีสวนเกี่ยวของอยางไร
4. การวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม
• จะมีผลเสียตอสุขภาพของประชาชนและสิง่ แวดลอมตามธรรมชาติหรือไม
อยางไร มีการพิจารณาแนวทางในการปองกันหรือลดผลกระทบอยางไร
• สถานที่กําจัดขยะมูลฝอย จะมีผลกระทบอะไรบางตอโครงสรางทางสังคม
เชน กิจกรรมตาง ๆ ของชุมชน
5. แผนการมีสวนรวมของประชาชน
• องคกรปกครองสวนทองถิ่นจะดําเนินการประชาสัมพันธโครงการตอ
ประชาชนอยางไร เมื่อใด ประชาชนกลุมใดจะไดรับทราบขอมูลขาวสาร
6. การสรางความเห็นพองตองกัน
• มีการรับฟงความคิดเห็นของกลุมตอตานอยางจริงจังหรือไม
7. การกอสรางและการดําเนินโครงการ
• มีการติดตามตรวจสอบการกอสรางและตรวจสอบสภาพในระหวางดําเนินการ
อยางไร ประชาชนจะทราบวาเกิดอะไรขึน้ ไดอยางไรเมื่อมีปญ  หาเกิดขึ้น
คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 2. การใหความรูดานสิ่งแวดลอมแกชุมชน
เพื่อใหโครงการดําเนินไปอยางราบรื่น • 2-6
• ระบบที่ สร างขึ้ นมี อายุ การใช งานนานเท าใด ใช ระยะเวลาการก อสร าง
นานเทาใด สามารถดําเนินงานไดนานเพียงใด
• มีการพิจารณาเรื่องประโยชนที่ชุมชนใกลเคียงจะไดรับจากโครงการควบคู
ไปดวยอยางไร เชนมีการปรับปรุงถนน, กอสรางศูนยกลางหมูบาน ฯลฯ
• หน วยงานใดเป นผู จั ดการโครงการ หน วยงานใดเป นผู ดํ าเนิ นงานระบบ
ไววางใจไดหรือไม
• มีแผนการใชพื้นที่เมื่อทําการฝงกลบขยะมูลฝอยเสร็จสิ้นไปแลวหรือไม
ถามีแผนนั้นคืออะไร
โปรดศึกษาเพิม่ เติม !
“บทที่ 6. การเลือกสถานที่ตั้งโครงการโดยคํานึงถึงสิ่งแวดลอม สังคม และ
การมีสวนรวมของประชาชน”

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 2. การใหความรูดานสิ่งแวดลอมแกชุมชน


เพื่อใหโครงการดําเนินไปอยางราบรื่น • 2-7
ƒ ผังการจัดเตรียมโครงการ
ระยะวางแผน หมายเลขหนาในคูมือ

คุณลักษณะของขยะมูลฝอยที่ผลิต
การคาดการณปริมาณขยะมูลฝอยในอนาคต 4-2 อัตราการผลิตขยะมูลฝอย
(หนา 4-2 ถึง 4-3)

องคประกอบของขยะมูลฝอย 4-2 อัตราการผลิตขยะมูลฝอย


(หนา 4-3 )

การลดปริมาณมูลฝอย และการใหความรูดานสิ่งแวดลอม
9.การลดขยะมูลฝอยที่แหลงกําเนิด
การลดขยะมูลฝอยที่แหลงกําเนิด
(หนา 9-1 ถึง 9-3)
11. การนําขยะมูลฝอยกลับมาใชใหม
การนําขยะมูลฝอยกลับมาใชใหม
(หนา 11-1 ถึง 11-11)
5.การใหความรูดานสิ่งแวดลอม
การใหความรูดานสิ่งแวดลอม
(หนา 5-1 ถึง 5-5)

ขยะมูลฝอยเปาหมาย
ที่ตองกําจัด

ระบบเก็บรวบรวม และกําจัดขยะมูลฝอย
10.การเก็บรวบรวม และขนสง
การเก็บรวบรวม และขนสงขยะมูลฝอย
(หนา 10-1 ถึง 10-6 )
12.การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล
การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล
(หนา 12-1 ถึง 12-22 )

การบริหาร 6. การเลือกสถานทีตังโครงการ โดย


คํานึงถึงสิ่งแวดลอม สังคม และการมีสวน
รวมของประชาชน
การเลือกสถานที่ตั้งโครงการ (หนา 6- 1 ถึง 6-13)
7.ระบบจัดเก็บคาบริการ
ระบบจัดเก็บคาบริการ (หนา 7-1 ถึง 7-4 )
8-1.การประเมินทางการเงิน
การประเมินทางการเงินและทางเศรษฐศาสตร (หนา 8-1 ถึง 8-3 )
8-2.การประเมินทางเศรษฐศาสตร
(หนา 8-3 ถึง 8-4 )

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 2. การใหความรูดานสิ่งแวดลอมแกชุมชน


เพื่อใหโครงการดําเนินไปอยางราบรื่น • 2-8
แบบสรุปขอมูลการดําเนินงานโครงการฝงกลบขยะมูลฝอยอยางถูกหลักสุขาภิบาล
สถานะขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
จํานวนประชากร (คน) ที่ขึ้นทะเบียน
ที่ไมขึ้นทะเบียน
ลักษณะพิเศษ

ปญหาขยะมูลฝอยในปจจุบัน และความจําเปนตองมีโครงการ

อัตราการผลิตขยะมูลฝอย
ปจจุบัน ในอีก 10 ปขางหนา ในอีก 20ปขางหนา
อัตราการผลิตขยะมูลฝอยชุมชน (กิโลกรัม/คน/วัน)
การคาดการณจํานวนประชากร (คน)
การคาดการณปริมาณขยะมูลฝอยตอวัน (ตัน/วัน)
องคประกอบของขยะมูลฝอย

การลดปริมาณขยะมูลฝอย
นโยบายการลดปริมาณขยะมูลฝอย อัตราการลดขยะมูลฝอยที่
จากแหลงกําเนิด แหลงกําเนิด
%
นโยบายการนําขยะมูลฝอย อัตราการลดขยะมูลฝอยโดยการ
กลับมาใชใหม นํากลับมาใชใหม
%
การใหความรูดานสิ่งแวดลอม

ขยะมูลฝอยเปาหมายที่ตองกําจัด
ปจจุบัน ในอีก 10 ปขางหนา ในอีก 20 ปขางหนา
อัตราการผลิตขยะมูลฝอยชุมชน (กิโลกรัม/คน/วัน)
การคาดการณจํานวนประชากร (คน)
การคาดการณปริมาณขยะมูลฝอยตอวัน (ตัน/วัน)
ปเปาหมาย
ปเริ่มตนดําเนินการ
จํานวนปในชวงอายุโครงการ
การเก็บรวบรวม และขนสงขยะมูลฝอย
จํานวนรถเก็บขยะมูลฝอย (คัน)
จํานวนถังขยะมูลฝอย (ถัง)
สถานีขนถาย 1. มี 2. ไมมี

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 2. การใหความรูดานสิ่งแวดลอมแกชุมชน


เพื่อใหโครงการดําเนินไปอยางราบรื่น • 2-9
การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล
วิธีฝงกลบ 1. ฝงกลบบนพื้นที่ 2. ฝงกลบแบบขุดรอง 3. อื่น ๆ
พื้นที่ (ตร.ม.)
ปริมาตร (ลบ.ม.)
คากอสราง (ลานบาท)
การเลือกสถานที่ฝงกลบ
เหตุผลที่เลือกพื้นที่นี้

กระบวนการในการเลือกพื้นที่

กลุม และองคกรที่เกี่ยวของ

การพิจารณาสภาพแวดลอมทางธรรมชาติและมาตรการ
ลดผลกระทบ

การพิจารณาสภาพแวดล อมทางสั งคมและมาตรการ


ลดผลกระทบ
แผนการมีสวนรวมของประชาชน

ระบบจัดเก็บคาบริการ
เหตุผลในการเลือกเก็บที่อัตรานี้

แนวทางระบบการจัดเก็บคาบริการ

คาใชจาย และ รายไดในชวงอายุโครงการที่มีการฝงกลบ


คาใชจายในการเก็บขน (ลานบาท)
คาใชจายในการจายคืนเงินกู (ลานบาท)
คาใชจายในการดําเนินงานและบํารุงรักษา (ลานบาท)
รวมคาใชจายทั้งหมด (ลานบาท)
รายไดทั้งหมด (ลานบาท)
งบที่ทองถิ่นตองสมทบเพิ่มเติม (ลานบาท)

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 2. การใหความรูดานสิ่งแวดลอมแกชุมชน


เพื่อใหโครงการดําเนินไปอยางราบรื่น • 2-10
„ แบบสรุปขอมูลการดําเนินงานโครงการฝงกลบขยะมูลฝอยอยางถูกหลักสุขาภิบาล (ตัวอยาง)
สถานะขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
จํานวนประชากร (คน) ที่ขึ้นทะเบียน 50,000
ที่ไมขึ้นทะเบียน 20,000
ลักษณะพิเศษ มีสถานที่ทองเที่ยวสําคัญ 2 แหง

ปญหาขยะมูลฝอยในปจจุบัน และความจําเปนตองมีโครงการ
ขยะมูลฝอยในปจจุบันถูกเทกองในสถานที่เปด ทําใหเกิดปญหาดานสาธารณสุข และพื้นที่วางสําหรับเทกองเหลือนอยมาก การ
กอสรางสถานที่ฝงกลบขยะมูลฝอยอยางถูกหลักสุขาภิบาลจึงมีความจําเปนอยางยิ่ง
อัตราการผลิตขยะมูลฝอย
ปจจุบัน ในอีก 10 ปขางหนา ในอีก 20ปขางหนา
อัตราการผลิตขยะมูลฝอยชุมชน (กิโลกรัม/คน/วัน) 0.8 1.09 1.538
การคาดการณจํานวนประชากร (คน) 50,000 60,000 73,000
การคาดการณปริมาณขยะมูลฝอยตอวัน (ตัน/วัน) 40.0 65.2 112.0
องคประกอบของขยะมูลฝอย (รอยละ)
แกว 4.2 เหล็ก-โลหะ 2.8 หนังและยาง 16
กระดาษ 12.9 ไม 4.5 สารอินทรียและอื่น ๆ 55.4
พลาสติก 16 ผา 2.6 รวม 100 %
การลดปริมาณขยะมูลฝอย
นโยบายการลดปริมาณขยะมูลฝอย อัตราการลดขยะมูลฝอยที่
จากแหลงกําเนิด รณรงคการลดขยะมูลฝอย ณ แหลงกําเนิด แหลงกําเนิด
1 %
นโยบายการนําขยะมูลฝอยกลับ สงเสริมกิจกรรม “ธนาคารขยะ” ครอบคลุมพื้นที่รอยละ 30 อัตราการลดขยะมูลฝอยโดยการ
มาใชใหม ของเทศบาลคาดหวังวาจะไดรับความรวมมือจากประชาชน นํากลับมาใชใหม
8 %
ประมาณรอยละ 50
การใหความรูดานสิ่งแวดลอม 1)ประสบความสําเร็จในการใหความรูประชาชนเรื่อง “ธนาคารขยะ”

2)มีการรณรงคดานสิ่งแวดลอมในพื้นที่สงเสริมกิจกรรม “ธนาคารขยะ”

3)จะจัดสัมมนาและการประชุมเชิงปฏิบัติการในพื้นที่สงเสริมกิจกรรม “ธนาคารขยะ”
ขยะมูลฝอยเปาหมายที่จะกําจัด
ปจจุบัน ในอีก 10 ปขางหนา ในอีก 20 ปขางหนา
อัตราการผลิตขยะมูลฝอยชุมชน (กิโลกรัม/คน/วัน) 0.726 0.989 1.396
การคาดการณจํานวนประชากร (คน) 50,000 60,000 73,000
การคาดการณปริมาณขยะมูลฝอยตอวัน (ตัน/วัน) 36.3 59.1 101.7
ปเปาหมาย
ปเริ่มตนดําเนินการ พ.ศ. 2547
จํานวนปในชวงอายุโครงการ 20 ป
การเก็บรวบรวม และขนสงขยะมูลฝอย
จํานวนรถเก็บขยะมูลฝอย (คัน) 10
จํานวนถังขยะมูลฝอย(ถัง) 1,000
สถานีขนถาย 1. มี 2. ไมมี
คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 2. การใหความรูดานสิ่งแวดลอมแกชุมชน
เพื่อใหโครงการดําเนินไปอยางราบรื่น • 2-11
การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล
วิธีฝงกลบ 1. ฝงกลบบนพื้นที่ 2. ฝงกลบแบบขุดรอง 3. อื่น ๆ
พื้นที่ (ตร.ม.) 259,000
ปริมาตร (ลบ.ม.) 1,000,000
คากอสราง (ลานบาท) 44
การเลือกสถานที่ฝงกลบ
เหตุผลที่เลือกพื้นที่นี้ จากการเปรียบเทียบทางเลือกที่ตั้ง 3 แหงในดานเทคนิค สังคม สิ่งแวดลอม
พบวา
1) ระดับน้ําใตดินต่ําเพียงพอ
2) องคประกอบทางธรณีวิทยาแข็งแกรงพอ
3)ไมมีผูคนอาศัยอยูรอบในรัศมี 1 กม.
4) ความเปนไปไดที่จะเกิดผลกระทบสิ่งแวดลอมมีนอย
กระบวนการในการเลือกพื้นที่ 1) มีพื้นที่ทางเลือก 3 แหง
2) ทําการประเมินเปรียบเทียบทั้ง 3 พืน้ ที่
3) ตัดสินใจเลือกพื้นที่ตามผลประเมิน
กลุม และองคกรที่เกี่ยวของ 1) มีครัวเรือนอาศัยอยู 3 หลังในรัศมี 1.5 กม.จากพื้นที่
2) เกษตรกรที่ปลูกขาวรอบ ๆ พื้นที่
การพิจารณาสภาพแวดลอมทางธรรมชาติและ 1) มีโอกาสที่จะปนเปอนน้ําใตดินดังนั้นตองติดตั้งบอตรวจรอบ ๆ
มาตร การลดผลกระทบ 2) มีโอกาสที่น้ําฝนจะทวมในพื้นที่ฝงกลบ ดังนั้นตองติดตั้งระบบสูบน้ํา
การพิจารณาสภาพแวดลอมทางสังคม และมาตรการลด มีโอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุจราจรเนื่องจากมีรถขนขยะมูลฝอยหนาแนน
ผลกระทบ ดังนั้น ตองสรางถนนสําหรับรถขนขยะมูลฝอยเทานั้น
แผนการมีสวนรวมของประชาชน จัดประชุมกับผูเกี่ยวของกลุมตางๆ อยางสม่ําเสมอในระหวางกอสราง
และดําเนินงานโครงการ
ระบบจัดเก็บคาบริการ
เหตุผลในการเลือกเก็บที่อัตรานี้ อัตราที่เรียกเก็บ 45 บาท/ครัวเรือน/เดือน สอดคลองกับรอยละ 0.4 ของ
รายไดเฉลี่ยรายเดือนของครัวเรือนในพื้นที่
แนวทางระบบการจัดเก็บคาบริการ 1)คาบริการจัดการขยะมูลฝอยจะเก็บพรอมกับคาบริการทางสังคมอื่นๆ
เชน ไฟฟา
2) มีระบบจายคาบริการจัดการขยะมูลฝอยรายปพรอมสวนลด
คาใชจาย และ รายไดในชวงอายุโครงการที่มีการฝงกลบ
คาใชจายในการเก็บขน (ลานบาท) 132.0
คาใชจายในการจายคืนเงินกู (ลานบาท) 16.4
คาใชจายในการดําเนินงานและบํารุงรักษา (ลานบาท) 39.6
รวมคาใชจายทั้งหมด (ลานบาท) 188.0
รายไดทั้งหมด (ลานบาท) 147.4
งบที่ทองถิ่นตองสมทบเพิ่มเติม (ลานบาท) 40.6

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 2. การใหความรูดานสิ่งแวดลอมแกชุมชน


เพื่อใหโครงการดําเนินไปอยางราบรื่น • 2-12
สวนที่ 2

การวางแผนโครงการ
3. ความจําเปนที่ตองมีระบบการจัดการขยะมูลฝอย
ประเทศไทยไดผานชวงที่มีการพัฒนาเศรษฐกิจอยางรวดเร็วในชวงประมาณป 2530 ถึงป 2539
ซึ่งเปนชวงที่มีการเติบโตทางเศรษฐกิจสูง ในระยะเวลาดังกลาวผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ
(GDP) เพิ่มขึ้นถึงประมาณรอยละ 9 ตอป

ในทางกลับกัน ความรุงเรืองทางเศรษฐกิจนี้ไดนํามาซึ่งปริมาณและองคประกอบของขยะมูลฝอย
ที่เพิ่มและหลากหลายมากขึ้น ในขณะที่ระบบการจัดการขยะมูลฝอยทั่วทุกแหงในประเทศยังไม
เพียงพอ ดังนั้นการกอสรางและการจัดการระบบกําจัดขยะมูลฝอยจึงกลายเปนนโยบายสําคัญ
และจําเปนประการหนึ่ง

ปญหาขยะมูลฝอยถือวาเปนปญหาสังคม

♦ การกอสรางระบบกําจัดเพียงอยางเดียว ไมอาจแกไขปญหาขยะมูลฝอยได
• การกอสรางระบบกําจัดขยะมูลฝอย เปนมาตรการที่สําคัญในการแกไขปญหา
ขยะมู ลฝอยประการหนึ่ ง แต ป ญหาขยะมู ลฝอยเป นป ญหาสั งคมที่ มี ความ
ซับซอน การกอสรางระบบกําจัดเพียงอยางเดียวจึงไมเพียงพอที่จะแกไขปญหา
ขยะมูลฝอยไดทั้งหมด
♦ โครงการจัดการขยะมูลฝอยมีประเด็นที่เกี่ยวของมากมาย
• โครงการจัดการขยะมูลฝอยมีประเด็นตางๆ ที่จะตองพิจารณามากมาย เชน การ
สรางจิตสํานึกในเรื่องของสิ่งแวดลอม การประชาสัมพันธแกชุมชน การวาง
ระบบการจัดเก็บคาบริการ การบริหารงานพนักงานเก็บขนขยะมูลฝอย รวมทั้ง
จะ ตองมีความรูทางดานวิศวกรรมสําหรับการดําเนินงานระบบ ซึ่งตองการ
ความรูดานวิชาการที่หลากหลาย
♦ การไดรับความเห็นชอบจากประชาชนไมใชเรื่องงาย
• โครงการกอสรางระบบใดๆก็ตาม มีแงมุมปญหาทางสังคมที่ซับซอน โดยเฉพาะ
อยางยิ่งในเรื่องของการยอมรับจากประชาชนที่อาศัยอยูใ นบริเวณทีใ่ กลเคียงกับ
พื้นที่โครงการ
♦ จําเปนตองมีผูสรุปความคิดเห็นในภาพรวม
• ผูวางแผนระบบจัดการขยะมูลฝอย จะตองเปนผูที่สามารถสรุปความคิดเห็น
ตางๆ เปนภาพรวมได เนื่องจากจะตองพิจารณาใหครอบคลุม ประเด็นตางๆ ทั้ง
จากมุมของผูกอใหเกิดขยะมูลฝอย เชน ชุมชน และบริษัทตางๆ และทั้งจากมุม
ของผูที่มีสวนเกี่ยวของและองคกรอื่น ๆ ในพื้นที่

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 3.ความจําเปนที่ตองมีระบบการ • 3-1


จัดการขยะมูลฝอย
สิ่งที่ควรจะพิจารณาเปนอันดับแรกคือ การลดขยะมูลฝอย ณ แหลงกําเนิด

♦ การลดปริมาณขยะมูลฝอย ณ แหลงกําเนิดจะเกี่ยวของกับการลดปริมาณ หรือความเปนพิษ


ของขยะมูลฝอย ณ แหลงกําเนิด โดยการเปลี่ยนแปลงกระบวนการที่ทําใหเกิดขยะมูล
ฝอย การสงเสริมใหมีการลดขยะมูลฝอย ณ แหลงกําเนิดมีความสําคัญ เพราะนอกจาก
จะชวยประหยัดทรัพยากรแลว ยังชวยลดคาใชจายในการกําจัดและลดมลพิษอีกดวย
♦ รัฐบาลไดตั้งเปาหมายการลดปริมาณขยะมูลฝอยที่แหลงกําเนิด โดยกําหนดเปน
นโยบายใหมีอตั ราการเกิดขยะมูลฝอยไมเกิน 1.0 กิโลกรัม/คน/วัน
• เปาหมายในระดับประเทศ
1. ลดหรือควบคุมการเกิดขยะมูลฝอยใหอยูในอัตราไมเกิน 1.0 กิโลกรัม/คน/วัน
2. ใหกรุงเทพมหานคร และชุมชนอื่นๆ ทั่วประเทศใชประโยชนจากขยะมูลฝอย
ไมต่ํากวารอยละ 15 ของปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั้งหมด
3. จะตองทําการเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยตกคางในเขตเทศบาลใหหมด สําหรับ
พื้น ที่นอกเขตเทศบาลจะตองมีขยะมูลฝอยตกคางไมเกินรอยละ 10 ของปริมาณ
ขยะมูลฝอยทั้งหมด
4. แตละจังหวัดจะตองมีแผนงานหลัก และแผนการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
อยางถูกหลักสุขาภิบาล และทุกๆ เทศบาลมีระบบกําจัดขยะมูลฝอยและ
สิ่งปฏิกูลที่เหมาะสม
แหลงที่มา: สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม, “นโยบายและแผนการสงเสริมและ
รักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ” ป 2540 – 2559

การรีไซเคิล มีความสําคัญอยางยิ่งเชนเดียวกัน

♦ การรีไซเคิล (Recycling) เปนแนวทางที่ไดรับการยอมรับในระดับนานาชาติ เนื่องจาก


ชวยอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของโลก และยังชวยใหสามารถใชงาน
สถานีกําจัดขยะมูลฝอยขั้นสุดทายไดยาวนานขึ้น แมวาในขณะนี้ไดเริ่มมีการนําขยะ
มูลฝอยกลับมาใชใหมมากขึ้นแลวในประเทศไทย และความจําเปนของโครงการนี้
จะตองเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วในอนาคตอันใกล ทั้งภาครัฐและเอกชนควรรวมมือกันใน
การชวยกันรณรงคโครงการนําขยะมูลฝอยกลับมาใชใหมมากขึ้น
♦ รัฐบาลมีนโยบายใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น ดําเนินการใชประโยชนจากขยะ
มูลฝอยและนําขยะมูลฝอยกลับมารีไซเคิล ในปริมาณที่ไมต่ํากวารอยละ 15 ของ
ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 3.ความจําเปนที่ตองมีระบบการ • 3-2


จัดการขยะมูลฝอย
ควรจัดใหมีระบบเก็บรวบรวมขยะมูลฝอย

♦ รัฐบาลไดกําหนดใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีระบบการเก็บรวบรวมขยะมูลฝอย
และตองทําการเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยที่ตกคางอยูในเขตองคกรปกครองสวนทอง
ถิ่ นให หมด และสํ าหรับพื้ นที่ นอกเขตองค กรปกครองส วนท องถิ่ นจะต องมี ขยะ
มูลฝอยตกคางไมเกินรอยละ 10 ของปริมาณขยะทั้งหมด

ขยะมูลฝอยควรไดรับการฝงกลบอยางเหมาะสม

♦ ขยะมูลฝอยทีห่ ลงเหลือจากการรีไซเคิล และการลดปริมาณ ณ แหลงกําเนิดควรจะถูก


นําไปกําจัดอยางถูกตองในสถานีฝงกลบที่เหมาะสม ที่มกี ารปองกันการซึมของน้าํ ชะ
ขยะมูลฝอย มีการกลบทับดวยดินทุกวัน และมีระบบบําบัดน้ําชะขยะมูลฝอย

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 3.ความจําเปนที่ตองมีระบบการ • 3-3


จัดการขยะมูลฝอย
4. การวางแผนระบบการจัดการขยะมูลฝอย
กอนที่จะเริ่มดําเนินงานโครงการดานการจัดการขยะมูลฝอยจะตองมีการรวบรวมและวิเคราะหขอมูล
หลาย ๆ ดาน โดยองคกรปกครองสวนทองถิ่นจะตองมีความเขาใจถึงปริมาณ และลักษณะของขยะ
มูลฝอยที่เกิดขึ้นในปจจุบันและที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เพื่อที่จะวางแผนการจัดการขยะมูลฝอยและ
จัดทําแผนทางการเงินของโครงการไดอยางมีประสิทธิภาพ ขอมูลที่มีความถูกตองและเชื่อถือไดจะ
ทําใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นสามารถจัด ทํางบประมาณที่จําเปนสําหรับโครงการไดถูกตอง
และนําไปใชในการออกแบบขนาดของเครื่องมืออุปกรณที่เหมาะสมของโครงการ และทําใหสามารถ
ดําเนินงานโครงการไดดีขึ้น บทนี้จะกลาวถึงวิธีการรวบรวมและวิเคราะหขอมูลสําหรับโครงการ
จัดการขยะมูลฝอย

4-1. สภาพปจจุบันและความจําเปนตองมีโครงการ

สิ่งแรกที่ตองกระทําคือการชี้ชัดถึงความจําเปนตองมีโครงการจัดการขยะมูลฝอย

♦ ลําดับแรกตองพิจารณาสถานการณปจจุบันของการจัดการขยะมูลฝอย และอธิบาย
ถึงความจําเปนที่จะตองมีการจัดการขยะมูลฝอย เพื่อกําหนดการจัดทําโครงการตอไป

 ตัวอยางความจําเปนที่ตองมีโครงการจัดการขยะมูลฝอยตามสถานการณปจจุบัน
สถานการณปจจุบัน ความจําเปนตองมีโครงการจัดการขยะมูลฝอย
1 - การเพิ่มขึ้นของขยะมูลฝอยชุมชนอยางรวดเร็ว - เพื่อปรับปรุงภาวะทางสุขอนามัยของเมือง โดย
- การเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยไมทั่วถึง การจัดใหมีบริการเก็บรวบรวมขยะมูลฝอย
- มีข ยะมู ล ฝอยกระจั ด กระจายในเมื อ ง และมี ภ าวะ
สุขอนามัยไมดี
2 - ภาวะสุขอนามัยไมดีเนื่องจากการทิ้งขยะมูลฝอยแบบ - เพื่อสงเสริมภาวะสุขอนามัยที่ดี โดยการจัดใหมี
เทกอง สถานีฝงกลบขยะมูลฝอยอยางถูกหลักสุขาภิบาล
- มี ก ารร อ งเรี ย นเกี่ ย วกั บ พื้ น ที่ ทิ้ ง ขยะมู ล ฝอย โดย แหงใหม
ประชาชนใกลเคียง
3 - การเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนอยาง - เพื่อประหยัดพื้นที่ในการฝงกลบขยะโดยสงเสริม
รวดเร็ว กิจกรรมการนําวัสดุกลับมาใชใหม (การรีไซเคิล)
- พื้นที่ฝงกลบไมเพียงพอ
4 - ขาดจิตสํานึกทางดานสิ่งแวดลอม - เพื่อยกระดับจิตสํานึกทางดานสิ่งแวดลอม และ
- ขาดความรวมมือในการลดปริมาณขยะมูลฝอย อนุ รั ก ษ ท รั พ ยากรธรรมชาติ โ ดยการส ง เสริ ม
กิจกรรมรีไซเคิล

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 4.การวางแผนระบบการจัดการขยะมูลฝอย • 4-1


4-2. อัตราการผลิตขยะมูลฝอย

ขั้นตอนแรกเปนการประเมินปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นตอคนตอวัน

♦ ปริมาณขยะมูลฝอยจากชุมชนที่เกิดขึ้นตอคนตอวัน เปนขอมูลพื้นฐานที่ใชในการ
วางแผนระบบการจัดการขยะมูลฝอย ขอมูลนี้จะแตกตางกันตามภูมิภาค สภาวะทาง
สังคม และเศรษฐกิจ แตอยางไรก็ตามมีการศึกษาคามาตรฐานของอัตราการผลิตขยะ
มูลฝอย ซึ่งสามารถนําไปใชเปนแนวทางได ดังแสดงในตารางตอไปนี้
 ขอมูลปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นตอคนตอวันในเขตเมือง
พื้นที่ คามาตรฐาน (กรัม/คน/วัน)
- กรุงเทพ ฯ 1,000
- เทศบาลนคร / เทศบาลเมือง 800
- เทศบาลตําบล 600
- องคการบริหารสวนตําบล (อบต.) 400

หมายเหตุ : คามาตรฐานนี้ไมรวมขยะจากอุตสาหกรรม
ที่มา : - “ สถานการณ แ ละแนวโน ม ของขยะมู ล ฝอยชุ ม ชนใน 10 ป ที่ ผ า นมา” กรมควบคุ ม มลพิ ษ
กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม
- เอกสารชุดคูมือการดําเนินงานตามแผนการปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมระดับจังหวัด เลมที่ 8
การจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล, สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม
♦ บางพื้นที่อาจมีอัตราการผลิตขยะมูลฝอยแตกตางจากคาในตารางมาก กรณีนี้ทาง
องคกรปกครองสวนทองถิ่นในเขตพื้นที่ดังกลาว ไมควรนําขอมูลในตารางไปใช
โดยตรงจําเปนตองปรับคาใหถูกตองกอน โดยเฉพาะอยางยิ่งในเขตพื้นที่ทองเที่ยว
ซึ่งปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นตอคนตอวันจะมีคามากกวาปกติ
♦ ขั้นตอไปจําเปนที่จะตองมีการศึกษาเพื่อประมาณปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นไดแก
การศึกษาความเปนไปไดของโครงการ หรือการออกแบบรายละเอียด รายละเอียด
วิธี การศึ กษาหาปริม าณขยะมูลฝอยแสดงในหัว ขอ “2-1-1 ปริม าณขยะมู ลฝอย
ชุมชน” ในภาคผนวก 2

ขั้นตอนที่สองเปนการคาดการณปริมาณขยะมูลฝอยที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
♦ การคาดการณปริมาณขยะมูลฝอยมีอยูหลายวิธี ซึ่งมีรายละเอียดอยูในหัวขอ “2-1-2
การคาดการณปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนในอนาคต” ในภาคผนวก 2 แตการคาดการณ
อยางคราวๆ สามารถทําไดดังแสดงในตารางตอไปนี้

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 4.การวางแผนระบบการจัดการขยะมูลฝอย • 4-2


 การประมาณอัตราการเพิม
่ ขึ้นของปริมาณขยะมูลฝอยจากชุมชนในอนาคต
(ไมพิจารณาการเพิ่มขึ้นของจํานวนประชากร)
อัตราการเพิ่มขึ้นตอป อัตราการเพิ่มขึ้นใน 10 ป อัตราการเพิ่มใน 20 ป
การประมาณอยางต่ํา 0% 1.0 1.0
การประมาณอยางปานกลาง 2% 1.2 1.9
การประมาณอยางสูง 5% 1.6 3.6
* อัตราการเพิ่มขึ้นตอปจะสัมพันธใกลเคียงกับอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ จากขอมูลของสภาพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแหงชาติ ในชวงป พ.ศ. 2542 – 2544 อัตราการเพิ่มอยูที่ 3.5 %
** ควรจะพิจารณาการเพิ่มขึ้นของจํานวนประชากรดวย แตในตารางไมไดพิจารณา

การหาองคประกอบของขยะมูลฝอยจากชุมชนเปนสิ่งสําคัญ

♦ การจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอยที่ประสบความสําเร็จ ตองการขอมูลที่มีความ
ถูกตองและทันสมัยเกี่ยวกับคุณลักษณะและชนิดของขยะมูลฝอยชุมชนที่เกิดขึ้น
♦ วิ ธี การวิ เคราะห องค ประกอบขยะมู ลฝอย แสดงในหั วข อ “2-1-3 การวิ เ คราะห
องค ประกอบของขยะมู ลฝอย” ในภาคผนวก 2 ซึ่ งองค กรปกครองส วนท องถิ่ น
สามารถใชตัวอยางขอมูลในตารางตอไปนี้
♦ ขอมูลองคประกอบของขยะมูลฝอยสามารถนํามาใชในการพิจารณาการลดปริมาณ
ขยะมูลฝอยดวยวิธีการลดปริมาณ ณ แหลงกําเนิดและการรีไซเคิล และจะตองทําการ
วิเคราะหองคประกอบของขยะมูลฝอยจริงของพื้นที่โครงการในขั้นตอนของการศึกษา
อยางละเอียด เชน ในขั้นการทํารายงานการศึกษาความเหมาะสม(FS) หรือการ
ออกแบบรายละเอียด (DD)
 ตัวอยางขอมูลองคประกอบขยะมูลฝอย ป พ.ศ. 2538

องคประกอบ กรุงเทพฯ ชุมชนอื่นนอกจากกรุงเทพฯ


(%) (%)
แกว 4.3 4.2
กระดาษ 15.4 12.9
พลาสติก 21.8 16.0
โลหะ 1.9 2.8
ไม 3.4 4.5
เศษผา 1.9 2.6
หนังสัตวและยาง 0.1 1.6
สารอินทรียและอื่นๆ 51.2 55.4
รวม 100.0 100.0
ที่มา : “รายงานฉบับสมบูรณ แผนการศึกษาแนวทางในการลดมลพิษโดยการพัฒนาของเสีย หรือวัสดุเหลือใชนํากลับมาใชใหม”
กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม, PCD 04-005, มีนาคม 2541.

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 4.การวางแผนระบบการจัดการขยะมูลฝอย • 4-3


4-3. ประเภทของโครงการจัดการขยะมูลฝอยเปาหมาย

ขั้นตอนแรกเปนการกําหนดประเภทของขยะมูลฝอยเปาหมาย
ควรจะพิจารณาการลดปริมาณขยะมูลฝอย ณ แหลงกําเนิดดวยเสมอ

♦ องคกรปกครองสวนทองถิ่นควรเริ่มวางแผนโครงการจัดการขยะมูลฝอยทั้งที่เปน
โครงการใหมและโครงการที่มีอยูแลว ดวยการปรึกษาหารือถึงเปาหมายที่ตองการ
กอน และควรจะรวมการลดปริมาณขยะมูลฝอย ณ แหลงกําเนิดดวยเสมอ
♦ โดยการกําหนดขยะมูลฝอยเปาหมายจะทําใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นสามารถ
กําหนดประเภทของโครง การที่ตองการได

 ขยะมูลฝอยเปาหมาย และประเภทโครงการ
ประเภทโครงการ ขยะมูลฝอยเปาหมาย ขอสังเกต
การรีไซเคิล องค ป ระกอบทั้ ง หมดที่ ส ามารถ ควรพิจารณากิจกรรม และโครงการรีไซเคิลเพื่อลด
นําไปรีไซเคิล เชน กระดาษ แกว ปริมาณขยะมูลฝอย
โลหะ อลูมิเนียม ขึ้นอยูกับตลาดรับ
ซื้อในทองถิ่น
การฝ ง กลบอย า งถู ก ขยะมู ล ฝอยเกื อ บทุ ก ชนิ ด ยกเว น การฝ ง กลบอย า งถูก หลั กสุ ข าภิบ าลสามารถกํ า จั ด
หลักสุขาภิบาล ขยะมู ลฝอยอั นตราย และ ขยะมู ล ขยะมูลฝอยไดเกือบทุกประเภทแตถามีการรีไซเคิล
ฝอยติดเชื้อ และการหมัก ปุ ย จากขยะมู ล ฝอย จะชว ยประหยั ด
ปริมาตรของหลุมฝงกลบ และชวยลดผลกระทบทาง
สิ่งแวดลอมที่จะเกิดขึ้นรอบๆโครงการ
การหมักปุย เศษอาหาร (โดยเฉพาะจากรานอาหาร โครงการหมักปุยจากขยะมูลฝอยจะชวยลดผลกระทบ
และโรงแรม ) ทางดานสิ่งแวดลอมของสถานีฝงกลบขยะมูลฝอยได
การคัดแยก ณ แหลงกําเนิดที่สมบูรณ และการนําปุยที่
ไดไปใชเปนสิ่งที่สําคัญ
เตาเผาขยะมูลฝอย ขยะมูลฝอยที่เผาไหมไดรวมถึงเศษ เตาเผาขยะมูลฝอยสามารถลดปริมาตร และน้ําหนัก
อาหาร ของขยะมูลฝอยไดอยางมาก ซึ่งเถาที่เหลือจากการ
เผาจะนํ า ไปฝ ง กลบ แต โ ครงการต อ งการทั้ ง การ
ลงทุนและมีคาใชจายดําเนินการสูง นอกจากนี้จะเกิด
ผลกระทบทางด า นสิ่ ง แวดล อ มจากการเผาขยะ
มูลฝอย เชน สารไดออกซิน ซึ่งเปนเรื่องที่ทั่วโลก
กําลังใหความสนใจกลาวถึง

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 4.การวางแผนระบบการจัดการขยะมูลฝอย • 4-4


การตั้งเปาหมายการลดปริมาณขยะมูลฝอยเปนเรื่องที่สําคัญ

♦ การลดปริมาณขยะมูลฝอย ณ แหลงกําเนิดควรจะถูกนํามาพิจารณาเปนลําดับแรก
และจะตองพิจารณาการรีไซเคิลในขั้นตอนตอไป เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอยที่ตอง
นําไปฝงกลบ
♦ การลดปริมาณขยะมูลฝอยสามารถปฏิบัติไดดังนี้

 ตัวอยางเปาหมายการลดปริมาณขยะมูลฝอย
เปาหมายของการลด เหตุผลพื้นฐาน
การลดปริมาณ ณ แหลงกําเนิด 3% ควรกํ า หนดเป า หมายของการลดปริม าณขยะมู ล ฝอย ณ
แหลงกําเนิดไวเพื่อที่จะทําใหไดปริมาณขยะมูลฝอยต่ํากวา
1 กิโลกรัม/คน/วันตามนโยบายของประเทศ ใหการศึกษา
แก ป ระชาชนให ต ระหนั ก ต อ ป ญ หาสิ่ ง แวดล อ มจะช ว ย
สงเสริมการลดปญหาขยะมูลฝอยไดอีกทางหนึ่ง
การรีไซเคิล 20 % 1) วัส ดุรี ไ ซเคิล เป าหมาย ได แ ก แกว กระดาษ พลาสติ ก
และโลหะ จากขอมูลองคประกอบของขยะมูลฝอย ของ
กรมควบคุมมลพิษ วัสดุเปาหมายนี้มีสัดสวนถึงรอยละ
36 ของปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น ดังนั้นสามารถ
กํ า หนดอั ต ราการรี ไ ซเคิ ล เป า หมายที่ ร อ ยละ 18 โดย
สมมุติวาสามารถเก็บรวบรวมไปรีไซเคิลไดรอยละ 50
2) ขยะอินทรียจากรานอาหารจะถูกนําไปหมักปุย อัตราการ
ลดลงของขยะ เนื่ อ งจากการหมั ก ปุ ย มี ค า ประมาณ
รอยละ 2 ของปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น
3) อัตราการลดปริมาณขยะมูลฝอยดวยวิธีรีไซเคิลเทากับ
รอยละ 2
การฝงกลบอยางถูกหลัก 77 % ขยะมูลฝอยที่เหลือจะถูกนําไปฝงกลบอยางถูกสุขลักษณะ
สุขาภิบาล

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 4.การวางแผนระบบการจัดการขยะมูลฝอย • 4-5


4-4. แผนภูมิการจัดการขยะมูลฝอย

แผนภูมิแสดงการจัดการขยะมูลฝอยสามารถอธิบายโครงการไดเปนอยางดี

♦ จัดทําแผนภูมอิ ธิบายขั้นตอนการจัดการขยะมูลฝอย ซึ่งรวมถึงโครงการใหมที่จะทํา


ใหสามารถอธิบายโครงการในภาพรวมของระบบจัดการของเสียได และทําให
สามารถเขียนสรุปโครงการไดงายขึ้น

 ตัวอยางแผนภูมิแสดงขั้นตอนการจัดการของเสียทั่วไป

วัสดุรีไซเคิล
- กระดาษ คัดแยก ใชในวงการ
“ธนาคารขยะ” วัตถุดิบ
- ภาชนะบรรจุเครื่องดื่ม โดยชุมชน อุตสาหกรรม
- พลาสติก

122 กรัม/คน/วัน 122 กรัม/คน/วัน

สถานีหมักปุย
ขยะมูลฝอยอินทรีย การเก็บรวบรวม ใชในวงการ
จากขยะมูล ปุยหมัก
จากรานอาหาร โดยบริษัทเอกชน เกษตรกรรม
ฝอย

1 กรัม/คน/วัน
50 กรัม/คน/วัน 10 กรัม/คน/วัน
(กากจากการหมักปุย)

การเก็บรวบรวม
ขยะมูลฝอยอื่นๆ โดยองคกร สถานที่ฝงกลบ
ปกครองสวน ขยะมูลฝอย
ทองถิ่น

628 กรัม/คน/วัน 629 กรัม/คน/วัน

หมายเหตุ : ปุยหมักที่ไดจากการหมักเทากับ 20 ถึง 30% ของมูลฝอยอินทรียที่นํามาหมัก

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 4.การวางแผนระบบการจัดการขยะมูลฝอย • 4-6


5. การใหความรูดานสิ่งแวดลอม
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ไดกําหนดไววาการมีสวนรวมของประชาชนเปน
ปจจัยหลักในการจัดการสิ่งแวดลอม ในมาตรา 290 ระบุไววา สําหรับโครงการที่มีผลกระทบตอ
คุณภาพสิ่งแวดลอม สุขอนามัย และการกินดีอยูดีของประชาชน องคกรปกครองสวนทองถิ่นตอง
ดําเนินโครงการภายใตการมีสวนรวมของประชาชน ยิ่งไปกวานั้นรัฐบาลยังมีนโยบายสําคัญที่จะ
กระจายอํานาจการตัดสินใจในการดําเนินการและบริหารจัดการโครงการไปยังระดับทองถิน่ ภายใต
การมีสวนรวมของประชาชน
ในบทนีจ้ ะกลาวถึงกลยุทธและเทคนิคของการมีสวนรวมจากประชาชน และการใหความรูดา น
สิ่งแวดลอมทีม่ ีประสิทธิภาพ

5-1. ขอมูลที่ควรเตรียมนําเสนอตอประชาชน

ขอมูลที่เตรียมควรมีความหลากหลาย

♦ ขอมูลเรื่องการจัดการขยะมูลฝอยที่ควรเตรียมมีดังนี้ :
• สภาพอัตราการเกิดขยะในปจจุบันและอนาคต
• สภาพของสถานที่ฝงกลบขยะในปจจุบันและอนาคต
• คาใชจายในการบริหารจัดการสถานที่ฝงกลบขยะ
• สถานการณดานสิ่งแวดลอมของทองถิ่นและของโลก
♦ ขอมูลเกี่ยวกับการจัดการนําขยะกลับมาใชใหมควรเตรียมไวดังนี้
• เหตุ ผ ลที่ ต อ งนํ า ขยะกลั บ มาใช ใ หม (Recycle) การลดปริ ม าณขยะ
มูลฝอย (Reduce) และการนํากลับมาใชซ้ํา (Re-use)
• ประเภทของขยะมู ล ฝอยที่ สามารถนํ า มาใช ใ หม (Recycle) และ
ประเภทของขยะมูลฝอยที่ไมสามารถนํามาใชใหม
• ระบบการจั ด การเพื่ อ นํ า ขยะกลั บ มาใช ใ หม ได แ ก การเก็ บ ขนขยะ
มูลฝอย การขนสง ตนทุน ราคาขาย เงินคืนทุน และแรงจูงใจ อื่นๆ
• ใครคือผูรับผิดชอบในแตละขั้นตอนของกระบวนการนําขยะกลับมาใช
ใหม
• การใชประโยชนจากวัสดุที่สามารถนํากลับมาใชใหม (Recycled
material) เชน กระดาษ แกว พลาสติก โลหะ ปุย และผลิตภัณฑปุย
• ผลประโยชนที่เกิดขึ้นกับสิ่งแวดลอมและสังคม

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 5. การใหความรูดานสิ่งแวดลอม • 5-1


5-2. เทคนิคการใหความรูดานสิ่งแวดลอมกับสาธารณชน

วิธีการในการใหขอมูลมีความหลากหลาย

♦ วิธีการในการใหขอมูลมีดังตอไปนี้ :
• การใชสื่อมวลชน และสื่อตางๆ เชน หนังสือพิมพ ทีวี และวิทยุ
• สิ่งพิมพและการเผยแพรใบปลิวขอมูล แผนพับ และแผนปายประกาศ
(Posters)
• การไปทัศนศึกษาดูงานโครงการในพื้นที่อื่นๆ
• การจั ด นิ ท รรศการ และการสาธิ ต เช น การนํ า ขยะมาใช ใ หม
(Recycling)
• จัดตั้งศูนยขอมูลขาวสาร
♦ วิธีการของการมีสวนรวม (Participatory Methods) มีดังนี้:
• การประชุมสาธารณะ และการประชุมกลุมยอย
• การประชุมเชิงปฏิบัติการ
• กิจกรรมในเชิงปฏิบัติสําหรับโรงเรียนประถมศึกษา และมัธยมศึกษา
• การสํารวจทัศนคติของชุมชน และความคิดเห็นของชุมชน
• จัดใหมีโทรศัพทสายดวน (Hotline) เพื่อรับฟงความคิดเห็น
• จัดใหมีเจาหนาที่ประสานงานของชุมชนเพื่อทํางานในชุมชน
♦ ขอมูลเพิ่มเติม ดูรายละเอียดในหัวขอ ”2-2-1 เทคนิคการมีสวนรวมของประชาชน”
ในภาคผนวกที่ 2

การใหความรูดานสิ่งแวดลอมที่โรงเรียนมีความสําคัญเชนกัน

♦ มีบางคนคิดวาการใหความรูดานสิ่งแวดลอมในโรงเรียนเปนเพียงแตการบรรยายใน
หองเรียนเทานั้น แมวาการบรรยายเปนวิธีที่มีความสําคัญ แตมีวิธีการอื่นอีกที่จะให
ความรูดานสิ่งแวดลอมแกเด็กในโรงเรียนไดดีกวาคือ การจัดหองเรียนที่เกี่ยวกับ
สิ่งแวดลอม อาทิเชน ตั้งถังขยะหรือถังรีไซเคิลเพื่อแยกขยะ และทําการแยกกระดาษ
ที่สามารถนํากลับมาใชใหม ก็เปนวิธีการใหความรูดานสิ่งแวดลอมดวยเชนกัน

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 5. การใหความรูดานสิ่งแวดลอม • 5-2


♦ เราสามารถจัดทําแผนการศึกษาขึ้นไดหลายแบบ ทั้งนี้ การผนวกทั้งสองแบบ คือ
“การบรรยาย” และ “การปฏิบัติ” เขาดวยกันในลักษณะกิจกรรมเชิงปฏิบัติการซึ่งจะ
ใหผลที่มีประสิทธิภาพมาก ดังแสดงไวในกรอบ ดังนี้

ตัวอยาง : กิจกรรมเชิงปฏิบัติการสําหรับเด็กนักเรียน
มาเก็บกระปองกันเถอะ..
ขั้นตอนที่ 1 ใหเด็กนักเรียนชวยกันเก็บขยะที่เปนกระปองตาง ๆ ภายในบริเวณโรงเรียน
(ขั้นตอนนี้เปนการเรียนรูเกี่ยวกับ กิจกรรมทําความสะอาด)
ขั้นตอนที่ 2 หลังจากเก็บรวบรวมกระปองตาง ๆ ไดแลว ก็ทําการคัดแยกโดยใชแมเหล็ก
แยกกระปองที่ทําดวยอลูมิเนียม และกระปองที่ทําดวยเหล็ก (ขั้นตอนนี้นักเรียนไดเรียนรู
ดานวิทยาศาสตร)
ขั้นตอนที่ 3 คุณครูติดตอไปยังบริษัทรีไซเคิล และขายกระปองเหลานั้นเปนการสาธิต
ใหเด็กนักเรียนไดเห็นถึงผลที่ไดจากการคัดแยกขยะ (ดานสังคม)
ขยะลึกลับ..
ขั้นตอนที่ 1 คุณครูจัดเตรียมขยะอินทรีย (เนนขยะที่เปนเศษอาหารเหลือจากอาหาร
กลางวันของนักเรียน)
ขั้นตอนที่ 2 ใหนักเรียนทิ้งเศษอาหารที่เหลือลงในเครื่องทําปุยดวยตนเอง (การสัมผัส
ขยะอินทรียดวยตนเองจะเปลี่ยนแปลงความคิดของเด็ก ๆ)
ขั้ น ตอนที่ 3 หลั ง จากนั้ น 1 เดื อ น คุ ณ ครู จ ะได ส อนให เ ด็ ก นั ก เรี ย นทราบถึ ง การ
เปลี่ยนแปลงของขยะอินทรียที่กลายไปเปนปุย (เด็กนักเรียนจะรูสึกแปลกใจที่ไดเห็น
การเปลี่ยนแปลงนั้น)
ขั้นตอนที่ 4 บรรยายถึงสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่ยอยสลายขยะมูลฝอย (ใหความรูทาง
วิทยาศาสตร)
พิพิธภัณฑสําหรับเด็กในประเทศสหรัฐอเมริกา
ประเทศสหรัฐอเมริกาไดจัดตั้งพิพิธภัณฑสําหรับเด็กขึ้นหลายแหง บางแหงนําปญหา
เกี่ยวกับขยะแสดงไวเปนหัวเรื่องเดน ทั้งนี้แนวคิดของพิพิธภัณฑเด็ก คือ “ การสัมผัส
ดวยตนเอง” ซึ่งก็คือการทําใหเด็ก ๆ ทําและคิดในบางสิ่งดวยตนเอง

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 5. การใหความรูดานสิ่งแวดลอม • 5-3


พิพิธภัณฑเด็กในเมืองบอสตัน (ซาย)
ขยะบางชนิดอาจมีราคาสําหรับเด็ก ๆ (กลาง)
เด็ก ๆ สามารถเปนชางไมโดยใชวัสดุที่นํากลับมาใชใหมได (ขวา)

5-3. การใหความรูดานสิ่งแวดลอมผานการมีสวนรวมของประชาชน

ประโยชนของการมีสวนรวมของชุมชนมีหลายประการ

♦ ประโยชนที่ไดรับจากการมีสวนรวมของประชาชนที่เกิดกับโครงการและชุมชนมี
ความหลากหลาย และสามารถรวมถึง :
• การลดความเสี่ยง และคาใชจาย
• มีการจางแรงงานในทองถิ่น
• มีการนําภูมิปญญาทองถิ่นมาใชในการจัดการใหโครงการดีขึ้น
• มีความราบรื่นและงายตอการบริหารจัดการโครงการ
• มีการพัฒนาชุมชน การสรางความเขมแข็ง และการติดตอประสานงาน
• พัฒนาความสัมพันธระหวางหนวยงานของเทศบาลกับชุมชน

♦ หลักการของการนําขยะกลับมาใชซ้ํา (Reuse) การลดปริมาณขยะ (Reduce) และ


การนําขยะกลับมาใชใหม (Recycle) สามารถนําไปใชไดในทุกโอกาสและสถานที่
♦ มี ห ลายวิ ธี ก ารที่ จ ะนํ า กิ จ กรรมเกี่ ย วกั บ การนํ า ขยะกลั บ มาใช ใ หม (Recycling
activities) มาใหชุมชนดําเนินการโดยมีหลักการ ดังนี้:

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 5. การใหความรูดานสิ่งแวดลอม • 5-4


• ดําเนินการดวยตนเอง โดยชาวบาน ในชุมชน หรือนักเรียนในโรงเรียน
นําขยะที่แยกแลวมาที่ธนาคารขยะ (Recycle Bank) ซึ่งมีรายละเอียด
แสดงใน “บทที่ 11 การรีไซเคิล (Recycling)”
• โครงการขยะแลกไข (Eggs for Garbage) สําหรับนําขยะมาแลกกับไข
ไดทันที (บางครั้งไขสําหรับแลกนั้นเปนผลิตผลจากไกที่เลี้ยงดวยเศษ
อาหารจากการคัดแยกขยะที่ศูนยกลางการจัดการขยะของชุมชน)
• โรงเรียนเปนแหลงที่มีโอกาสมาก ที่จะสรางกิจกรรมเกี่ยวกับการให
ความรูดานสิ่งแวดลอม เชน การทํากระดาษรีไซเคิล การนํายางรถยนต
มาทําเปนรองเทา เสื่อ หรือภาชนะปลูกตนไม การทําปุยจากเศษอาหาร
แลวนํามาใชในการบํารุงรักษาตนไมในบริเวณโรงเรียน
• เทศบาลสามารถดําเนินการสรางกิจกรรมใหความรูแกชุมชน ตัวอยาง
เชน การนําเศษอาหารไปเลี้ยงสัตว เชน หมู ไก หรือมาทําปุยเพื่อใชใน
ครัวเรือน

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 5. การใหความรูดานสิ่งแวดลอม • 5-5


6. การเลือกสถานที่ตั้งโครงการ โดยคํานึงถึงสิ่งแวดลอม สังคม และ
การมีสวนรวมของประชาชน
การเลือกสถานที่ตั้งโครงการเปนประเด็นที่มีขอโตแยง และเปนประเด็นที่ยากที่สุดของกระบวน
การจัดการขยะมูลฝอย สถานีฝงกลบขยะถูกมองวาเปนสถานที่ที่ไมพึงประสงค ทั้งนี้เนื่องจาก
ปญหา “ไมมีใครตองการขยะในพื้นที่ของตน” (“Not in my Backyard - NIMBY” syndrome) ซึ่ง
เปนกระแสของปญหาที่เกิดขึ้นทั่วโลก
องคกรปกครองทองถิ่นพยายามหาพื้นที่กอสรางโครงการที่มีความเหมาะสม ทั้งทางดานเทคนิค
สิ่งแวดลอม และประชาชนใหการยอมรับ รวมทั้งปญหาความขัดแยงทางการเมืองมักจะเปน
คําถามที่สําคัญที่เกี่ยวของกับการใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได และ
กระบวนการตัดสินใจ ในบทนี้จะใหรายละเอียดเกี่ยวกับการคัดเลือกสถานที่ตั้งโครงการ รวมถึง
การพิจารณาดานสังคม และสิ่งแวดลอม

6-1. หลักการสําคัญ

รูปแบบ “การตัดสินใจกอน-แลวคอยประกาศ-และชี้แจงภายหลัง”
เปนรูปแบบที่ควรหลีกเลี่ยง

♦ ที่ผานมาการเลือกพื้นที่กอสรางโครงการ เปนอํานาจการตัดสินใจของบุคลากรหลัก
เพียงบางคน ประชาชนและชุมชนรอบ ๆ โครงการจะรับทราบแผนงานเปนครั้งแรก
หลังจากที่มีการกําหนดแผนงานของโครงการทุกอยางแลว เปนรูปแบบที่เรียกวา
“การตัดสินใจ-ประกาศ-ชี้แจง” ซึ่งนําไปสูความขัดแยงของชาวบานกับองคกร
ปกครองสวนทองถิ่น ในกรณีที่เลวรายที่สุดอาจมีการฟองรองเปนคดีความเขาสูการ
พิจารณาของศาล ซึ่งเรื่องเชนนี้เปนสิ่งที่ไมพึงประสงคในการดําเนินการโครงการ
และยังทําใหเสียคาใชจายและ เสียกําลังเจาหนาที่
♦ เพื่อเปนการสงเสริมใหประชาชนในทองถิ่นไดเขามามีสวนรวม ประการแรกจําเปน
ที่จะตองใหความรูกับประชาชน เพื่อยกระดับความตื่นตัวในเรื่องสิทธิ หนาที่ และ
ความรับผิดชอบตอการจัดการสิ่งแวดลอมของทองถิ่น ดังนั้นสิ่งแรกที่ตองกระทํา
คือการใหความรูดานสิ่งแวดลอมแกประชาชน และควรตระหนักดวยวากระบวน
การนี้ตองการเวลาพอสมควรกวาจะเห็นผล จึงไมควรจะรีบเรงและตองใหเวลาแก

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 6. การเลือกสถานที่ตั้งโครงการโดยคํานึงถึง


สิ่งแวดลอม สังคม และการมีสวนรวมของประชาชน • 6-1
ประชาชนไดเรียนรูเขาใจ และตัดสินใจในสิ่งที่พวกเขาตองการเอง วิธีการนี้เปน
รูปแบบที่เรียกวา “การใหความรู- ใหมีสวนรวม-ใหตัดสินใจเอง”

องคกรปกครองสวนทองถิ่นควรทําหนาที่เสมือนเปนผูอํานวยความสะดวก

♦ ปญหาขยะมูลฝอยเปนปญหาของสังคม ที่สงผลกระทบโดยตรงตอคุณภาพชีวิตของ
ประชาชน และตองการความรวมมือของประชาชนในการแกปญหา จากประสบ
การณการแกไขปญหาที่ผานมาพบวากลไกการแกไขปญหาในทองถิ่น โดยคนใน
ทองถิ่นเองเปนวิธีที่มีประสิทธิภาพสูงสุด และใหผลสัมฤทธิ์ที่ยั่งยืน
♦ ภายใตรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ฉบับ พ.ศ. 2540 เรื่องการมีสวนรวม และ
การกระจายอํานาจ กําหนดบทบาทขององคกรปกครองสวนทองถิ่นไมใหสั่งการ
จากระดับบนลงสูระดับลาง (top-down manner) แตใหอํานวยความสะดวกแก
ประชาชนในทองถิ่นใหมีการหารือถึงวิธีแกไขปญหา และเขามามีสวนรวมในการ
แกไขปญหาเพื่อใหบรรลุถึงเปาหมายที่ประชาชนตองการ และยังเปนการยืนยัน
ความรวมมือกันระหวางภาครัฐและชุมชนที่จะมีขึ้น
♦ เพื่อใหการประชุมปรึกษาหารือของประชาชนมีความสําคัญและมีความหมาย หนวย
งานปกครองทองถิ่นตองอํานวยความสะดวก และจัดหาขอมูลที่ถูกตองเกี่ยวกับปญหา
และทางเลือกในการแกไขปญหา ทั้งทางดานเทคนิค และการเงิน รวมทั้งอธิบายทาง
เลือกตาง ๆ ที่เสนอมาอยางชัดเจน

6-2. กระบวนการเลือกสถานที่ตั้งโครงการ

การเลือกสถานที่ตั้งโครงการจะตองทําเปนอันดับแรกของขั้นตอนดําเนินการโครงการ

♦ การเลือกสถานที่ตั้งโครงการควรดําเนินการตามขั้นตอนที่แสดงในรูปถัดไป และจะ
ตองทําใหกระบวนการเลือกสถานที่ตั้งโครงการมีความโปรงใส โดยมีสาระดังนี้
1. เงื่อนไขในการเลือกพื้นที่
2. ทํารายการสถานที่ตั้งโครงการที่เขาขายเปนพื้นที่ที่มีความเหมาะสม
3. ทําการสํารวจพื้นที่ทางเลือกที่เขาขายวาเหมาะสมและสํารวจทัศนคติของชุมชน
ใกลเคียงพื้นที่เหลานี้

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 6. การเลือกสถานที่ตั้งโครงการโดยคํานึงถึง


สิ่งแวดลอม สังคม และการมีสวนรวมของประชาชน • 6-2
4. ทําความเขาใจกับชุมชน หนวยงาน และองคกรตางๆ (เชน วัด โรงเรียน) ใน
บริเวณพื้นที่เปาหมาย

♦ ควรใหชุมชนไดรับทราบถึงปญหาที่เกิดขึ้นในปจจุบัน ความจําเปนของโครงการ
และลักษณะของโครงการ นอกจากนี้หลังการมีมติเปนเอกฉันทเกี่ยวกับโครงการ
แลว การติดตามตรวจสอบความกาวหนาในการดําเนินโครงการ ผลการดําเนินการ
และผลของการติดตอประสานงานก็นับวาเปนปจจัยสําคัญเชนกัน
♦ ประเด็นสําคัญ 3 ประการ สําหรับการมีสวนรวมของประชาชนที่ประสบความ
สําเร็จในการเลือกพื้นที่ตั้งโครงการ มีรายละเอียดดังตอไปนี้
ตองทําใหประชาชนมีความเชื่อมั่นในเหตุผลที่ใชเลือกพื้นที่ เพราะมักมีคําถามวา “ทําไมพื้นที่นี้
จึงมีความเหมาะสมเขาขายเปนพื้นที่ทางเลือกแหงหนึ่งของโครงการ” “มีหลักเกณฑในการประเมิน
พื้นที่ที่เขาขายเปนพื้นที่ทางเลือกอยางไร” และ “มีการตัดสินเลือกพื้นที่เหลานี้ดวยวิธีการอยางไร”
คําตอบตอคําถามขางตนนี้ตองมีความชัดเจน
ผู เ สนอโครงการต อ งสํ า รวจตรวจสอบสภาพแวดล อ มโดยรอบของพื้ น ที่ ท างเลื อ ก รวมถึ ง
โครงสรางของชุมชนและความคิดเห็นของชุมชน ทั้งนี้รวมถึงความเห็นจากกลุมที่เกี่ยวของอื่นๆและ
องคกรพัฒนาเอกชน (NGOs)
เปนเรื่องสําคัญมากที่จะตองติดตอสื่อสารกับชุมชนใกลเคียง ในรูปของการประชุมทั้งที่เปน
ทางการและไมเปนทางการหลาย ๆ ครั้ง ในบางกรณีอาจตองใชมาตรการลดผลกระทบของปญหา
เขารวมดวย

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 6. การเลือกสถานที่ตั้งโครงการโดยคํานึงถึง


สิ่งแวดลอม สังคม และการมีสวนรวมของประชาชน • 6-3
กระบวนการเลือกสถานที่ตั้งโครงการ

ศึกษาความเหมาะสมและ การใหความรูดาน
ความเปนไปไดของโครงการ สิ่งแวดลอมแกประชาชน

ร า ย ล ะ เ อี ย ด อ ง ค - สภาพปจจุบันของ การ
เกณฑในการคัดเลือก
ประกอบของโครงการ จัดการขยะมูลฝอย
สถานที่ตั้งโครงการ - ความสําคัญของการลด
เชน ประเภท ความจุใน
การใช งาน และ ขยะที่แหลงกําเนิดและ
- สิ่งแวดลอม
กระบวนการ นําขยะกลับมาใชใหม
- สังคม
- ความจํ าเป นต อง มี
- เทคนิค
โครงการ
- คาใชจายการดําเนินการ
การกลั่นกรองพื้นที่ที่เขา
ขายเปนสถานที่ตั้ง

พื้นที่ทางเลือกที่
นาจะเปนสถาน
ที่ตั้งโครงการ

การตรวจสอบพื้นที่ทางเลือก
การวิเคราะหผลกระทบ ที่เขาขายเปนพื้นที่โครงการ
สิ่งแวดลอม และมาตรการ
- สภาพภายในพื้นที่
ลดผลกระทบ
โครงการและ พื้ น ที่
รอบนอก
- สังคม
- กิจกรรมขององคกร
- ธรรมชาติ
พัฒนาเอกชน (NGO)
- มลภาวะ
- โครงสรางชุมชน
- กลุมผูมีสวนเกี่ยวของ
การสื่อสารกับชุมชน

การตัดสินเลือกพื้นที่ การประชาพิจารณ

การออกแบบ
รายละเอียดองคประกอบ

การกอสราง การติดตอสื่อสารกับ
การติดตามตรวจสอบ
สาธารณชน
การดําเนินงาน และ
การปดโครงการ

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 6. การเลือกสถานที่ตั้งโครงการโดยคํานึงถึง


สิ่งแวดลอม สังคม และการมีสวนรวมของประชาชน • 6-4
เกณฑและเทคนิคการเลือกพื้นที่

♦ กรมควบคุมมลพิษไดกําหนดเกณฑการคัดเลือกสถานที่ในการดําเนินงานโครงการ
จัดการขยะ ดังแสดงในตารางตอไปนี้ (ในตารางแสดงพื้นที่ที่ไมเหมาะสม และควร
หลีกเลี่ยง)
„ เกณฑการคัดเลือกพื้นที่ดําเนินโครงการจัดการขยะ กําหนดโดยกรมควบคุมมลพิษ
รูปแบบการจัดการขยะ เกณฑการคัดเลือกพื้นที่
สถานีขนถายขยะมูลฝอย และ • ไมตั้งอยูในพื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 1 และชั้นที่ 2 ตามมติคณะรัฐมนตรีที่
สถานที่นําวัสดุกลับคืน เกี่ยวของกับการกําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ํา เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม
2528
• ตั้งอยูหางจากแนวเขตโบราณสถานตาม พรบ.โบราณสถาน โบราณ
วัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ไมนอยกวา 1 กิโลเมตร
• อยูหางไมนอยกวาหนึ่งกิโลเมตร จากเขตศูนยกลางความเจริญของ
เมือง
เตาเผาขยะและสถานที่หมัก • ไมตั้งอยูในพื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 1 และชั้นที่ 2 ตามมติคณะรัฐมนตรีที่
ทําปุย เกี่ยวของกับการกําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ํา เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2528
• ตั้งอยูหางจากแนวเขตโบราณสถานตามพรบ.โบราณสถานโบราณ
วัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ไมนอ ยกวา 1
กิโลเมตร
• อยูหางไมนอยกวาสองกิโลเมตร จากเขตศูนยกลางความเจริญของเมือง
• เตาเผาขยะควรตั้งอยูในบริเวณพืน ้ ที่โลง ไมอยูในพื้นที่อบั ลม
สถานที่ฝงกลบขยะ • ไมตั้งอยูในพื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 1 และชั้นที่ 2 ตามมติคณะรัฐมนตรีที่
เกี่ยวของกับการกําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ํา เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2528
• ตั้ ง อยู ห า งจากแนวเขตโบราณสถานตามพรบ.โบราณสถาน
โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ไมนอยกวา 1
กิโลเมตร
• อยูหางจากสนามบินไมนอยกวาหากิโลเมตร
• อยูหางไมนอยกวา 700 เมตร จากบอน้ําดื่ม หรือโรงผลิตน้ําประปา
ชุมชน

• อยูหางไมนอยกวา 300 เมตร จากแหลงน้ําธรรมชาติ หรือที่มนุษย

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 6. การเลือกสถานที่ตั้งโครงการโดยคํานึงถึง


สิ่งแวดลอม สังคม และการมีสวนรวมของประชาชน • 6-5
สรางขึ้น รวมทั้งพื้นที่ชุมน้ํา (Wetlands) ยกเวน แหลงน้ําที่ตั้งอยูใน
สถานที่ฝงกลบขยะมูลฝอย
• เปนพื้นที่ซึ่งสภาพทางธรณีวิทยา หรือลักษณะใตพื้นดินมั่นคงแข็ง
แรงพอที่จะรองรับขยะมูลฝอย
• ควรเป น พื้ น ที่ ด อน ในกรณี เ ป น พื้ น ที่ ลุ ม ที่ มี โ อกาสเกิ ด น้ํ า ท ว ม
ฉับพลัน หรือน้ําปาไหลหลาก จะตองมีมาตรการปองกันแกไข
• ควรเปนพื้นที่ซึ่งระดับน้ําใตดินอยูลึก ในกรณีที่ระดับน้ําใตดินอยู
สูง จะตองมีมาตรการปองกันแกไข
• ควรเปนพื้นที่ตอเนื่องผืนเดียว และมีขนาดเพียงพอสามารถใชงาน
ฝงกลบไดไมนอยกวา 20 ป
ที่มา : เกณฑ มาตรฐานแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน, กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี
และสิ่งแวดลอม, 2541.

6-3. การวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม

การเลือกที่ตั้งโครงการควรพิจารณาปจจัยทางสิ่งแวดลอมดวย

การคํ านึ งถึ ง สิ่ง แวดล อ มเปน เรื่ อ งสํา คั ญ มากสํา หรั บ ระบบกํา จัด มู ลฝอย โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง
โครงการกอสรางระบบฝงกลบขยะมูลฝอย ดังนั้นการดําเนินงานโครงการกําจัดขยะมูลฝอยทุก
โครงการ ควรมีการพิจารณาดานสิ่งแวดลอมดวย ยิ่งไปกวานั้นโครงการสวนใหญยังจะตองมี
การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมดวย ซึ่งการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมจะตองทําหรือไมจะ
ขึ้นอยูกับชนิด ขนาด และที่ตั้งโครงการ เปนตน

ตองเลือกหัวขอดานสิ่งแวดลอมมาประเมินดวยความระมัดระวัง

หัวขอประเมินดานสิ่งแวดลอมจะขึ้นกับลักษณะของโครงการ และสถานภาพของแตละภูมิภาค
องคกรปกครองสวนทองถิ่นควรเลือกหัวขอที่จะนํามาประเมินในการทําการวิเคราะหผลกระทบ
สิ่งแวดลอม (Environmental Impact Assessment ; EIA) ตามหัวขอ “2-3-1 การวิเคราะห
ผลกระทบสิ่งแวดลอม ในภาคผนวกที่ 2”

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 6. การเลือกสถานที่ตั้งโครงการโดยคํานึงถึง


สิ่งแวดลอม สังคม และการมีสวนรวมของประชาชน • 6-6
„ ขั้นตอนการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม

การวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม
การวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมอยูในขั้นตอนการเตรียมโครงการ กอนที่จะยื่นเสนอโครงการเพื่อของบ
ประมาณทั้งโครงการจัดการน้ําเสียและการจัดการขยะมูลฝอย จะตองทําการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมครบ
ทุกขั้นตอนเสียกอน

รางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม
ผูเสนอโครงการจะใชผลจากการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม เตรียมรางรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม
เมื่อรางรายงานนี้แลวเสร็จ จะตองเปดเผยแกสาธารณชน โดยจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการรวมกับประชาชน องคกร
พัฒนาเอกชน และผูมีสวนเกี่ยวของเพื่อหารือรวมกัน เสียงตอบรับของประชาชนตอแผนการจัดการสิ่งแวดลอม
จะตองนําเสนอไวในรายงานฉบับสมบูรณดวย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมฉบับสมบูรณ
ผูเสนอโครงการตองเตรียมจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมฉบับสมบูรณ เพื่อใชแนบในการ
เสนอขออนุมัติโครงการ

การติดตามตรวจสอบ
การติดตามตรวจสอบโครงการตองทําอยางตอเนื่องตามกําหนดเวลา ตั้งแตขั้นยื่นเสนอโครงการเพื่อพิจารณา
จนถึงขั้นดําเนินงานโครงการตามแผนการติดตามตรวจสอบที่เสนอไวในรายงานวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 6. การเลือกสถานที่ตั้งโครงการโดยคํานึงถึง


สิ่งแวดลอม สังคม และการมีสวนรวมของประชาชน • 6-7
ควรมีการพิจารณาปจจัยทางสังคมบรรจุอยูในรายงานการวิเคราะหผล
กระทบสิ่งแวดลอม

♦ มีโครงการพัฒนาหลายโครงการในประเทศไทยที่เกิดการตอตานของประชาชนใน
ทองถิ่น และองคกรพัฒนาเอกชน (NGOs) ปญหานี้เกิดจากการขาดความเขาใจใน
สภาพปญหาของผูคนในทองถิ่นในระดับตาง ๆ รวมทั้งการติดตอสื่อสารที่ขาด
ประสิทธิภาพกับประชาชนที่จะไดรับผลกระทบ
♦ เพื่อหลีกเลี่ยงปญหาดังกลาว จึงมีความสําคัญอยางยิ่งที่จะตองสรางการมีสวนรวม
ของทองถิ่น ตั้งแตขั้นริเริ่มวางแผนการ และขั้นออกแบบองคประกอบตาง ๆ ที่จะมี
ผลกระทบตอประชาชนและชุมชน
♦ การพิจารณาผลกระทบทางสังคม (Social Impact Consideration; SIC) มีจุดมุงหมาย
เพื่อชวยลดโอกาสเกิดความขัดแยงระหวางภาครัฐบาลกับประชาชน และชุมชนจาก
การพัฒนาโครงการตาง ๆ ได

รายละเอียดเกี่ยวกับการพิจารณาผลกระทบทางสังคมอยูในหัวขอ 2-4 การพิจารณา


ผลกระทบทางสังคมในภาคผนวก 2

6-4. การมีสวนรวมของประชาชน

ควรกําหนดวิธีการมีสวนรวมของประชาชนดวยความระมัดระวัง

♦ ฝายบริหารขององคกรปกครองทองถิ่นควรหารือกัน และกําหนดวิธีการติดตอสื่อสาร
กับประชาชน มีรายละเอียดที่ควรพิจารณาในแผนการสื่อสารกับชุมชน ดังนี้
• ใครที่ควรเขามาเกี่ยวของ องคกรพัฒนาชุมชน (NGOs) แหงไหนที่ควรเขา
มามีสวนรวม
• ควรมีการประชุมจํานวนกี่ครั้ง
• ทําอยางไรที่จะใหแตละคนไดรับขาวสารเกี่ยวกับโครงการนี้
• ทําอยางไรที่จะใหแตละคนไดติดตอกับหนวยงานที่เกีย่ วของ
• ทําอยางไรที่จะไดขอสรุปผลของการตัดสินใจเลือกที่ตั้งโครงการ

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 6. การเลือกสถานที่ตั้งโครงการโดยคํานึงถึง


สิ่งแวดลอม สังคม และการมีสวนรวมของประชาชน • 6-8
ขอมูลขาวสารที่ควรใหกับประชาชนในการเลือกสถานที่ตั้งโครงการ

♦ ขอมูลขาวสารการพัฒนาโครงการที่ควรใหมีดังตอไปนี:้
• สถานการณการจัดการขยะมูลฝอยในปจจุบัน และความจําเปนตองมีโครงการ
• ขนาดพื้นที่ที่ตอ งการ เวลาดําเนินงานโครงการ และแผนการดําเนินงาน
• ความสัมพันธกับโครงการนําขยะกลับมาใชใหม
• ขอดี และขอเสียของวิธีการฝงกลบขยะ การทําปุย และเตาเผาขยะ
• องคประกอบของโครงการที่ตองการ และเกณฑในการจัดหา
• วิธีการออกแบบ และกอสรางองคประกอบตาง ๆ ของโครงการ
• องคประกอบตาง ๆ จะถูกใชงานอยางไร
• ผลกระทบทางสิ่งแวดลอมและสังคมทั้งในดานดีและไมดีที่อาจเกิดขึ้น
• กระบวนการจัดเตรียมโครงการ การวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม กระบวน
การตัดสินใจ
• มาตรการลดผลกระทบ
• คาใชจายของโครงการ และอัตราคาบริการที่ควรจัดเก็บ

การกําหนดกลุมประชาชนที่เขามามีสวนรวมในโครงการ

♦ ขั้ น แรกสุ ด ของการเริ่ ม วางแผนการมี ส ว นร ว มคื อ การกํ า หนดกลุ ม ผู ที่ มี ส ว น
เกี่ยวของทั้งหลายใหครอบคลุมผูกอใหเกิดขยะทุกกลุม การมีสวนรวมและการให
ความรู ด า นสิ่ ง แวดล อ มควรจะเป ด กว า งมากที่ สุ ด เท า ที่ จ ะทํ า ได กลุ ม ผู มี ส ว น
เกี่ยวของในชุมชน สามารถจําแนกไดดังนี้
• ผูอยูอาศัย
• ผูมาเยือน และนักทองเที่ยว
• ชุมชนในยานธุรกิจ การคา และอุตสาหกรรม (ตลาด โรงแรม รานคาปลีก และ
ธุรกิจการผลิต หอการคา และสหกรณ)
• นักศึกษา (โรงเรียน สถานศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน)
• กลุมคนในทองถิ่น และสมาคม เชน กลุมอาชีพ กลุมผูหญิง กลุมศาสนา และ
สโมสรตาง ๆ ในกลุมสังคม และกลุมผูสนใจในเรื่องสิ่งแวดลอม

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 6. การเลือกสถานที่ตั้งโครงการโดยคํานึงถึง


สิ่งแวดลอม สังคม และการมีสวนรวมของประชาชน • 6-9
♦ สิ่งสําคัญคือตองใหแนใจวามีผูแทนจากกลุมผูดอยโอกาสในสังคมไดเขามารวมใน
การหารือ และรวมในกระบวนการมีสวนรวมดวย (เชน คนยากจน คนพิการ) ใน
กรณีที่มีคนคุยขยะอยูในทองถิ่นนั้น คนกลุมนี้ควรไดเขามามีสวนรวมดวยเชนกัน

ความไววางใจที่ชุมชนมีตอการสื่อสาร
ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนเรื่องจําเปน

♦ เปนสิ่งสําคัญที่ตองทําใหการประชุมเปนที่นาเชื่อถือ ประเด็นตอไปนี้จะชวยใหการ
สื่อสารนาเชื่อถือมากยิ่งขึ้น
• ใหขอมูลที่ถูกตอง และเปนประโยชนทุกเรื่องที่เกี่ยวของกับโครงการ รวมถึง
ความเสี่ยงของโครงการ และควรใหขอมูลสูสาธารณชนอยางตอเนื่อง
• กระบวนการใหขอมูลสูสาธารณะตองมีความยืดหยุนและมีการปรับเปลี่ยนได
ตามความเหมาะสม
• ทุกครั้งตองใหขอมูลที่ถูกตองและเชื่อถือได โดยใหขอมูลเปนลายลักษณอักษร
หรือประกาศเปนขอความเสียง
• ใหประชาชนรับทราบผลกระทบทางลบที่อาจเกิดขึ้น (ตามความเปนจริง หรือ
จากการคาดหมาย) ตั้งแตชวงแรกของการเริ่มพัฒนาโครงการ

ควรเตรียมตอบคําถามสําคัญไวลวงหนา

♦ คําถามหลากหลายที่สงเขามา ควรไดรับคําตอบที่ชัดเจนและเหมาะสม ดังนั้นจึงควร


มีการเตรียมคําถามคําตอบไวลวงหนาในการสื่อสารขอมูลสูสาธารณะ คําถามคํา
ตอบที่ควรเตรียมไวมีดังนี้
• วิธีการเลือกพื้นที่ทํากันอยางไรและมีเหตุผลอยางไรในการเลือกพื้นที่ ถาเปน
โครงการที่ตองรองรับขยะจากเทศบาลอื่น ๆ ตองกําหนดขนาดพื้นที่โครงการ
อยางชัดเจน
• มีความสามารถในการรองรับขยะอยางเพียงพอหรือไม พื้นที่มีขนาดใหญ
เกินไปหรือไมและควรพิจารณากรณีที่มีสถานที่คัดแยกขยะหรือกิจกรรมลด
ปริมาณขยะตาง ๆ ดวย
• วิธีการที่เลือกใชในการจัดการขยะมีความเหมาะสมหรือไม

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 6. การเลือกสถานที่ตั้งโครงการโดยคํานึงถึง


สิ่งแวดลอม สังคม และการมีสวนรวมของประชาชน • 6-10
• โครงการนี้มีผลกระทบตอสุขภาพและสิ่งแวดลอมอยางไร จะทําอยางไรในการ
บรรเทาปญหาที่เกิดขึ้น
• ทําอยางไรที่จะใหขาวสารกระจายไปสูประชาชนที่เกี่ยวของ
• ทําอยางไรที่จะสรุปผลการตัดสินใจในการเลือกสถานที่ตั้งโครงการ

ควรจัดสรรงบประมาณสําหรับกิจกรรม
การมีสวนรวมของประชาชนใหเหมาะสม

♦ กิจกรรมการมีสวนรวมของประชาชนจําเปนที่จะตองใชงบประมาณ เชน การจัด


สัมมนา การทําแผนพับประชาสัมพันธ ฯลฯ จึงควรจัดสรรงบประมาณใหตาม
แผนการมีสวนรวมของประชาชนที่ไดวางไว

6-5. รายงาน

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA)

♦ มีความจําเปนที่จะตองจัดทํารายงานการศึกษาวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม ที่มี
การพิจารณาประเด็นทางดานสิ่งแวดลอมและประเด็นทางดานสังคม รายงานนี้จะ
นําเสนอพรอมกับรายงานศึกษาความเหมาะสม (FS) หรือรายงานการออกแบบ
รายละเอียด (DD) ซึ่งควรมีเนื้อหาในรายงานดังนี้
1. บทสรุปสําหรับผูบริหาร
2. รายละเอียดโครงการ
3. สวนที่ 1 : ประเด็นดานสิ่งแวดลอม
• สภาพสิ่งแวดลอมในปจจุบัน
• ผลกระทบสิ่งแวดลอมที่อาจเกิดขึ้นจากโครงการ
• มาตรการปองกัน และแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และการชดเชย
ความเสียหายที่เกิดขึ้น
• การพิจารณาทางเลือกของโครงการ
• ขอเสนอแนะในการออกแบบที่เหมาะสมทางดานสิ่งแวดลอมของ
โครงการ

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 6. การเลือกสถานที่ตั้งโครงการโดยคํานึงถึง


สิ่งแวดลอม สังคม และการมีสวนรวมของประชาชน • 6-11
4. สวนที่ 2 : ประเด็นดานสังคม
• สภาพสังคมในปจจุบัน
• กลุมชนที่เกีย่ วของกับโครงการ
• ผลกระทบทางสังคมที่อาจเกิดขึ้นจากโครงการ
• มาตรการปองกัน และแกไขผลกระทบทางสังคม และการชดเชย
ความเสียหายที่เกิดขึ้น
• การพิจารณาทางเลือกของโครงการ
• ขอเสนอแนะทางเลือกที่เหมาะสมกับโครงการในดานสังคม
5. สวนที่ 3 : ระบบติดตามตรวจสอบ

ควรจัดเตรียมแผนการมีสวนรวมของประชาชน

♦ แผนการมีสวนรวมของประชาชน จะเปนแผนจัดกิจกรรมการใหขอมูล / ความรูทาง


ดานสิ่งแวดลอมของโครงการทุกขั้นตอนแกประชาชน (รายละเอียดอยูใ นภาคผนวก
2 หัวขอ 2-4-4 กรอบในการวางแผนการมีสวนรวมของประชาชน)
• กิจกรรมใหความรู/ขอมูลในแตละระยะของโครงการ
• แผนการดําเนินงานในแตละระยะของโครงการ
• คาใชจาย และงบประมาณ
• บทบาท หนาที่ของผูมีสวนเกี่ยวของ
• ขอเสนอในการติดตามตรวจสอบ และทบทวนปรับปรุงแผน

6-6. การติดตามตรวจสอบ

ตองมีระบบติดตามตรวจสอบตามแผน EIA
และแผนการมีสวนรวมของประชาชน

♦ จากผลการศึกษาในรายงานวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA) มาตรการลด


ผลกระทบและการชดเชยไดถูกกําหนดขึน้ การดําเนินการโครงการใหเปนรูปธรรม
ตามผลการศึกษาในรายงาน EIA จําเปนตองมีกระบวนการติดตามตรวจสอบ และ
ควบคุมดูแลอยางใกลชิด

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 6. การเลือกสถานที่ตั้งโครงการโดยคํานึงถึง


สิ่งแวดลอม สังคม และการมีสวนรวมของประชาชน • 6-12
♦ องคกรปกครองสวนทองถิ่นควรติดตามตรวจสอบความกาวหนาของกระบวนการมี
สวนรวมของประชาชน และกิจกรรมใหความรูดานสิ่งแวดลอมอยางสม่ําเสมอ
ตั้ ง แต ขั้ น ตอนการเตรี ย มโครงการ การดํ า เนิ น โครงการ ตลอดจนถึ ง ขั้ น การ
ดําเนินงานโครงการ มีการจัดทํารายงานการติดตามตรวจสอบในแตละระยะ และ
ปรับเปลี่ยนแผนการจัดการทางสังคมตามความจําเปน ตัวอยางหัวขอการติดตาม
ตรวจสอบแสดงในหัวขอ 2-4-5 ภาคผนวก 2

แผนภูมิวงจรของการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA) และแผนการมีสวนรวมของ


ประชาชน
สาธารณชน
(ประชาชนในทองถิ่น และ กลุมตางๆ, ฯลฯ )

การวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม

แผนการมีสวนรวมของประชาชน

การติดตาม การติดตาม
ตรวจสอบ ตรวจสอบ
แผนการดําเนินการ
(รวมถึงการคัดเลือก
การกอสราง ดําเนินงาน
สถานที่ตั้งโครงการ)

องคประกอบที่ตองเปลี่ยนทดแทน (การกอสรางระยะตอไป)

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 6. การเลือกสถานที่ตั้งโครงการโดยคํานึงถึง


สิ่งแวดลอม สังคม และการมีสวนรวมของประชาชน • 6-13
7. การวางแผนการจัดเก็บคาบริการ
ควรมีการจัดทําระบบการเก็บคาบริการ

ควรนําหลัก “ผูกอมลพิษเปนผูจาย” มาประยุกตและบังคับใชในการเก็บคาบริการในการจัดการขยะ


มูลฝอยจากผูกอใหเกิดมูลฝอย เชน บานพักอาศัยและบริษัทรานคา ซึ่งมีความสําคัญอยางมากตอความ
มั่นคงทางการเงินของระบบการจัดการมูลฝอย การจัดทําระบบเก็บคาบริการประกอบดวยหัวขอสําคัญ
2 อยาง คือ
♦ การพิจารณากําหนดอัตราคาบริการ : จะตองพิจารณาอยางระมัดระวัง ภายใต
เงื่อนไข “ความเต็มใจที่จะจาย”
♦ ประสิทธิภาพของการจัดเก็บคาบริการ : ตองจัดทําระบบจัดเก็บคาบริการที่มี
ประสิทธิภาพ

 อัตราคาบริการจัดเก็บขยะมูลฝอยที่ใชอยูในปจจุบัน
องคกรปกครอง อัตราคาบริการที่จัดเก็บในปจจุบัน
สวนทองถิ่น (บาท / ครัวเรือน / เดือน)
อุดรธานี 20
อุบลราชธานี 10
เชียงราย 10
สกลนคร 10
อํานาจเจริญ 10
พัทลุง 10
ฉะเชิงเทรา 6
สุพรรณบุรี 10
ปราจีนบุรี 10
อางทอง 25
นาน 15
บานหมี่ 15
แมสอด 15
บางคลา 10
โคกสําโรง 8
พระอินทราชา 40
หมายเหตุ : เปนขอมูลอัตราคาบริการจัดเก็บขยะมูลฝอยในป พ.ศ. 2540, โครงการศึกษาความเหมาะสมของคาบริการ
และองคกรบริหารของทองถิ่นที่จดั ใหมีระบบบําบัดน้ําเสีย และระบบกําจัดมูลฝอย; สํานักงานนโยบายและ
แผนสิ่งแวดลอม, ตุลาคม 2543

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 7.การวางแผนการจัดเก็บคาบริการ • 7-1


ควรพิจารณากําหนดอัตราคาบริการดวยความระมัดระวัง

♦ ขั้ น แรกในการกํา หนดอัต ราค า บริก ารคื อ ต อ งทราบวา ประชาชนมี ความเต็มใจ


ยอมรับที่จะจายคาจัดการขยะมูลฝอยเทาไร โดยการสํารวจดวยแบบสอบถาม ถาม
ประชาชนที่ไมยอมรับอัตราเก็บคาบริการจากคาดําเนินงานจริงเต็มจํานวนวา เต็มใจ
จะจายในอัตราเทาใด (ดูหัวขอ 2-5 การวางแผนการจัดเก็บคาบริการในภาคผนวก 2)
♦ ขั้นตอมาใหเปรียบเทียบคาบริการที่กําหนดเปนรอยละของโครงสรางคาใชจายเฉลี่ย
รายเดือน โครงสรางคาใชจายเฉลี่ยรายเดือนของครัวเรือนในเขตเทศบาลแสดงใน
รูปขางลาง
♦ อัตราคาบริการที่คิดจากความพึงพอใจที่จะจาย มักจะมีคาต่ํามากเมื่อเทียบกับคาใช
จายที่เกิดขึ้นจริงในการจัดการขยะ ดังแสดงในตารางหนาถัดไป ซึ่งคาใชจายเฉลี่ย
ในการจัดการขยะมูลฝอยตอครัวเรือนจะอยูที่ 49 บาท/ครัวเรือน/เดือน สวนตางที่
ยังขาดดุลอยูควรไดรับงบประมาณสนับสนุนอยางเพียงพอ
♦ ในระยะยาวแลว การเพิ่มความยอมรับในการจายคาบริการเปนสิ่งที่สําคัญมาก ซึ่ง
ทําไดโดยการใหความรูแกประชาชน

 โครงสรางคาใชจายเฉลี่ยรายเดือนของครัวเรือนในป พ.ศ. 2543


รายจาย (บาท/ครัวเรือน/เดือน)
พื้นที่ในเขต 0 500 1,000 1,500 2,000 2,500 3,000 3,500 4,000

องคกรปกครองสวน อาหารและเครื่องดื่ม
30.1%
3,440
ทองถิ่น ที่อยูอาศัย และกิจกรรมในครัวเรือน
21.5%
2,449
16.6%
การเดินทาง และติดตอสื่อสาร 1,896
14.3%
คาใชจายสําหรับสิ่งอุปโภค 1,627
3.9%
การศึกษา 441
2.8%
เครื่องนุงหม และรองเทา 324
2.6%
คาดูแลรางกาย 302
2.3%
คารักษาพยาบาล 257
2.1%
การพักผอนและการอานหนังสือ
คาใชจายทั้งหมด 2.0%
239

เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล 233
=11,417 ผลิตภัณฑบุหรี่
1.3%
143
บาท/ครัวเรือน/เดือน อื่น ๆ
0.6%
66

ที่มา : สํานักงานสถิติแหงชาติ, “ การสํารวจสภาพสังคม-เศรษฐกิจของครัวเรือนในป พ.ศ. 2543 ”

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 7.การวางแผนการจัดเก็บคาบริการ • 7-2


„ คาใชจายจริงในการดําเนินงานเก็บรวบรวม และกําจัดขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่นตาง ๆ
ในป พ.ศ. 2540
2
เทศบาล ปริมาณขยะ การเก็บขน การกําจัด รวม จํานวนของ คาใชจายในการ
1 คาใชจ
า ย คาเก็บขน คาใชจ
า ย คากําจัด คาใชจาย ตนทุน ครัวเรือน จัดการขยะตอครัวเรือน
ทีเก็บขนได
่ (1,000 บาท) (บาท/ตัน)
(1,000 บาท) (บาท/ตัน) (1,000 บาท) (บาท/ตัน) (บาท/ครัวเรือน/เดือน)
(ตัน)
อุดรธานี 69,350 12,578 181 587 8 13,165 190 45,575 24
อุบลราชธานี 73,000 16,279 223 312 4 16,591 227 23,822 58
เชียงราย 29,200 5,705 195 1,099 38 6,804 233 21,097 27
สกลนคร 20,805 1,934 93 74 4 2,008 97 15,202 11
อํานาจเจริญ 10,950 3,451 315 2,871 262 6,322 577 7,231 73
พัทลุง 12,775 6,918 542 399 31 7,317 573 11,006 55
ฉะเชิงเทรา 23,360 4,811 206 543 23 5,354 229 14,851 30
สุพรรณบุรี 16,425 11,398 694 - - - - 8,792 -
ปราจีนบุรี 7,300 3,253 446 132 18 3,385 464 7,057 40
อางทอง 7,300 1,614 221 450 62 2,064 283 4,296 40
นาน 12,410 2,6952 217 252 20 2,947 237 7,628 32
บานหมี่ 2,920 560 192 319 109 879 301 1,260 58
แมสอด 15,330 5,770 376 289 19 6,059 395 10,992 46
บางคลา 3,650 3,128 857 - - - - 2,962 -
โคกสําโรง 3,285 1,739 529 1,565 476 3,304 1,006 2,288 120
พระอินทราชา3 5,475 1,443 264 276 50 1,719 314 1,889 76
เฉลีย่ 19,596 5,372 347 655 80 6,027 427 11,622 49
หมายเหตุ : 1) ประมาณการบนสมมุติฐานวา มีการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยครอบคลุมพื้นที่เขตเทศบาลทั้งหมด
2) ประมาณการคาใชจายในการเก็บขนขยะบนสมมุติฐานวา คาน้ํามันเชื้อเพลิงคิดเปนรอยละ60 ของ
คาจางแรงงาน คาบํารุงรักษาคิดเปนรอยละ 30 ของคาน้ํามันเชื้อเพลิง และคาใชจายอื่น ๆ คิดเปน
รอยละ 10 ของคาจางแรงงาน
3) จํานวนครัวเรือนของสุขาภิบาลพระอินทราชา คาดประมาณจากจํานวนประชากร 6,410 คน มีจํานวน
สมาชิกในครัวเรือน = 3.4 คน
ที่มา : โครงการศึกษาความเหมาะสมของคาบริการ และองคกรบริหารของทองถิ่นที่จัดใหมีระบบบําบัดน้ําเสีย และ
ระบบกําจัดขยะมูลฝอย ; สํานักนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม, ตุลาคม 2543

ควรจัดตั้งระบบการจัดเก็บคาบริการที่มีประสิทธิภาพ

♦ วิธีจัดเก็บที่ใชอยูในปจจุบันคือ การที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดเก็บคาบริการ
เปนรายเดือนโดยตรงจากผูกอ ใหเกิดขยะ (บานเรือน และสถานประกอบการ) แตก็
เปนการยากทีจ่ ะจัดเก็บไดอยางมีประสิทธิภาพ เนื่องจากมีประชาชนสวนหนึ่งไม
เต็มใจที่จะจาย หรือไมมีใครอยูที่บานขณะที่เจาหนาที่ไปเก็บคาบริการ และยิ่งไป
กวานัน้ องคกรปกครองสวนทองถิ่นบางแหงยังไมมีความสามารถที่จะจางพนักงาน
เก็บเงินไดเพียงพอ

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 7.การวางแผนการจัดเก็บคาบริการ • 7-3


♦ ควรหาวิธีจัดเก็บใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น แนวทางที่ทองถิ่นบางแหงปฏิบัติอยู
คือ
• การเก็บคาบริการเปนรายป โดยมีสวนลดให (ซึ่งไดจากการลดคาใชจา ยใน
การจางพนักงานเก็บเงินรายเดือน)
• ใหสัมปทานหรือจัดจางภาคเอกชนใหทําการเก็บคาบริการให คาจางเอกชน
ขึ้นอยูกับจํานวนรายที่สามารถเก็บได
• ขยายฐานการจัดเก็บใหครอบคลุมขอบเขตการใหบริการ

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 7.การวางแผนการจัดเก็บคาบริการ • 7-4


8. การประเมินทางการเงิน และทางเศรษฐศาสตร

8-1. การประเมินทางการเงิน

การประเมินทางการเงิน

♦ ควรมี ก ารประเมินทางการเงินของโครงการ เพื่ อใหมั่นใจวาจะมีรายไดเ พียงพอกั บ


รายจาย และเพื่อใหสถานะทางการเงินของโครงการมั่นคง
♦ การประเมินคาใชจายของโครงการจะใช “ราคามาตรฐาน” ตามที่สํานักงบประมาณ
(กระทรวงการคลัง) กําหนด
♦ สํ า หรั บ รายละเอี ย ดในการประเมิ น ด า นการเงิ น ได ก ล า วไว ใ นภาคผนวก 3 เรื่ อ ง
ขอแตกตางระหวางการประเมินทางการเงิน และทางเศรษฐศาสตร ในหัวขอ 3-3

ควรพิจารณาทั้ง “รายได” และ “รายจาย”

♦ รายจายที่ตองชําระตามตารางการกอสรางโครงการ
• รายจายของโครงการ = คากอสราง + คาเผื่อเหลือเผื่อขาดทางกายภาพ +
คาธรรมเนียมทางวิศวกรรม+ มูลคาราคาที่สูงขึ้น (สําหรับ การกอสรางระยะยาว)
♦ รายจายตามแผนการดําเนินการ และบํารุงรักษาโครงการ
• คาใชจายประกอบดวย = คาจางบุคลากร + คาไฟฟา + คาสารเคมี + คาใชจายสํานักงาน +
คาซอมเครื่องจักร + คาเปลี่ยนทดแทนเครื่องจักรที่หมดอายุ
♦ การจัดเตรียมเงินทุน
• ควรแยกแหลงเงินทุนใหชัดเจน ระหวางงบประมาณของทองถิ่น, งบจากตางประเทศ,
งบประจําปของรัฐบาล ฯลฯ
♦ การชําระหนี้เงินตนพรอมดอกเบี้ย
• เปนการประยุกตใชตารางจัดสรรเงินทุน เพื่อวางแผนการจายคืนเงินตน และดอกเบี้ย
ของโครงการเปนรายป

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 8. การประเมินทางการเงิน


และทางเศรษฐศาสตร • 8-1
♦ คาเสื่อมราคา
• เป น การประเมิ น มู ลค า ที่ ล ดลงของทรั พ ย สิ น ในโครงการตลอดช ว งอายุ
ใชงานของทรัพยสินแตละประเภท เชน
− โครงสรางทางโยธา และระบบทอ อายุใชงาน 50 ป
− อาคารตาง ๆ ในโครงการ อายุใชงาน 25 ป
− เครื่องจักรกล อายุใชงาน 15 ป
− อุปกรณไฟฟา อายุใชงาน 15 ป
♦ งบกระแสเงินสด
• กระแสเงินสดของโครงการประกอบดวย “รายรับ” และ “รายจาย” ในสวน
ของคาใชจายจะประกอบดวย คากอสราง คาดําเนินการ และบํารุงรักษา
การชําระหนี้ในสวนของเงินตนและดอกเบี้ย สวนรายไดจะมาจากเงินกู
เงินชวยเหลือ คาธรรมเนียม ฯลฯ

ดัชนีชี้วัดทางดานการเงิน ประกอบดวย :

- มูลคาปจจุบันสุทธิทางการเงิน (Financial Net Present Value : FNPV)


- อัตราสวนผลประโยชนตอตนทุนทางการเงิน (Financial Benefit Cost Ratio : FB/C)
- อัตราผลตอบแทนภายในทางการเงิน (Financial Internal Rate of Return : FIRR)

♦ มูลคาปจจุบันสุทธิทางการเงิน : FNPV
• สามารถคํานวณมูลคาปจจุบันของรายรับและรายจายไดจากสูตร
PVt = (Bt or Ct) / [(1+r)t]

เมื่อ r = อัตราคิดลด หรืออัตราดอกเบี้ย เปนเลขทศนิยม


n = จํานวนปทั้งหมดที่เกี่ยวของในการวิเคราะหทางเศรษฐศาสตร
t = ปที่เกี่ยวของแตละป โดยปกติจะเขียนไวขางใตเปนเลข 1, 2, …., n
Bt = ผลประโยชนที่ไดในปที่ t
Ct = คาใชจาย หรือเงินลงทุนในปที่ t (ทั้งตนทุน คาดําเนินการ คาบํารุงรักษา
หรือคาเปลี่ยนทดแทนเครื่องจักร)
∑ = ซิกมา, เปนสัญลักษณ แสดงถึงผลรวมของตัวแปรในชวงเวลาหนึ่ง ๆ
PVt = มูลคาปจจุบันของคาใชจายในปที่ t

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 8. การประเมินทางการเงิน


และทางเศรษฐศาสตร • 8-2
• มูลคาปจจุบั นสุทธิ มักใช เปรี ยบเที ยบผลตางของมู ลคาป จจุบันของรายได
ทั้งหมดและรายจายทั้งหมดตลอดอายุของโครงการ ถามูลคาปจจุบันสุทธิ
เปนบวก หมายความวาโครงการมีความเหมาะสมทางดานการเงิน ดังสูตรที่
ใชเปรียบเทียบดังนี้

n B t n C t
NPV = ∑ − ∑
t =1
(1 + r ) t t =1
(1 + r )t
♦ อัตราสวนผลประโยชนตอเงินลงทุนทางการเงิน : FB/C
• อัตราสวนนี้ใชในการเปรียบเทียบขนาดมูลคาปจจุบันทัง้ หมดของรายได
ตอรายจายตลอดอายุของโครงการ ถาอัตราสวนนี้มากกวา 1 หมายความวา
โครงการมีความเหมาะสมทางดานการเงิน ดังสูตรตอไปนี้

Bt

B C ratio =
(1 + r )t
Ct

(1 + r )t
♦ อัตราผลตอบแทนภายในทางการเงิน : FIRR
• FIRR คืออัตราคิดลดที่ทําใหมูลคาปจจุบันทั้งหมดของรายได เทากับมูลคา
ปจจุบันทั้งหมดของรายจาย ดังสูตรตอไปนี้
n B t n C t
∑ = ∑
t =1
(1 + r )
t t =1
(1 + r )t
เมื่อ r = FIRR
• FIRR เปนอัตราดอกเบี้ยสูงสุดที่ตองชําระคืนเงินตน และดอกเบี้ยของ
โครงการ หลังจากกูเงินลงทุนเบื้องตนมาแลว อัตรานี้ไมใชอัตรากําไรรายป
ของโครงการ แตเปนคาเฉลี่ยอัตรากําไรตลอดอายุโครงการ

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 8. การประเมินทางการเงิน


และทางเศรษฐศาสตร • 8-3
8-2. การประเมินทางเศรษฐศาสตร
การประเมินทางเศรษฐศาสตรคืออะไร ?
♦ การประเมินทางเศรษฐศาสตร เปนการประเมินโครงการโดยคํานึงถึงคุณคาทาง
สังคมที่มีตอทุกรายการของเงินลงทุน และผลประโยชนจากโครงการ แลวคํานวณ
ผลลัพธนี้ตลอดอนาคตของอายุโครงการ
♦ เป น การง า ยในการตี คุ ณ ค า ของเงิ น ลงทุ น แต ค อ นข า งยากในการตี คุ ณ ค า ของ
ผลประโยชนที่เกิดขึ้นจากการมีโครงการจัดการขยะมูลฝอย ซึ่งประกอบดวยคุณคา
ผลประโยชนดังตอไปนี้ :-
• สภาพสาธารณสุขที่ดีขึ้น
• สภาพแหลงทองเที่ยวที่ดีขึ้น
• สภาพแวดลอมที่ดีขึ้น
• ราคาที่ดินที่สูงขึ้น
• การลดรายจายทางสาธารณสุขของประเทศ
• การนําของรีไซเคิลกลับมาใชใหม
♦ สําหรับรายละเอียดในการประเมินทางดานเศรษฐศาสตรไดกลาวไวในภาคผนวก 3
หั ว ข อ 3-2 เกี่ ย วกั บ การประเมิ น ผลประโยชน ท างด า นสิ่ ง แวดล อ มโดยวิ ธี
ผลประโยชน - ตนทุน

ดัชนีชี้วัดทางดานเศรษฐศาสตร ประกอบดวย :
- มูลคาปจจุบันสุทธิทางเศรษฐศาสตร (Economic Net Present Value : ENPV)
- อัตราสวนผลประโยชนตอตนทุนทางเศรษฐศาสตร (Economic Benefit-Cost Ratio : EB/C)
- อัตราผลตอบแทนภายในทางเศรษฐศาสตร (Economic Internal Rate of Return : EIRR)

♦ หลังจากที่คิดมูลคาในเชิงเศรษฐศาสตรของคาใชจาย และผลประโยชน(จากรายการ
ที่มีผลตอคุณคาทางสังคม) แลว ใหใชสูตรการคิด ENPV, EB/C และ EIRR คํานวณ
ดัชนีชี้วัดเหลานี้ออกมา
♦ ดัชนีชี้วัดเหลานี้คํานวณเชนเดียวกับสูตรคํานวณดัชนีชี้วัดทางการเงิน ยกเวนเพียงวา
ดัชนีทางเศรษฐศาสตรใหผลประโยชนตอสังคมที่กวางกวาดัชนีทางการเงิน สําหรับ
รายละเอียดเกี่ยวกับดัชนีชี้วัดทางดานเศรษฐศาสตรและการเงิน สามารถหาขอมูล

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 8. การประเมินทางการเงิน


และทางเศรษฐศาสตร • 8-4
เพิ่มเติมไดจากหนังสือเกี่ยวกับการประเมินทางดานเศรษฐศาสตรและการเงิน ใน
หัวขอ 7-3 ภาคผนวก 7

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 8. การประเมินทางการเงิน


และทางเศรษฐศาสตร • 8-5
สวนที่ 3

โครงการเฉพาะดาน
9. การลดปริมาณขยะมูลฝอย ณ แหลงกําเนิด
การลดปริมาณขยะมูลฝอย ณ แหลงกําเนิดสามารถลดปริมาณขยะมูลฝอยที่จะตองกําจัดและยัง
ชวยประหยัดคาใชจายในการจัดการขยะมูลฝอยดวย
ในบทนี้เปนการอธิบายทางเลือกสําหรับการจัดทําแผนการลดปริมาณขยะมูลฝอย ทั้งในสวนของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่น สถานประกอบการ รานคา หนวยงานของรัฐ และสําหรับประชาชน
ในระดับครัวเรือน

9-1. ความหมายและความสําคัญของการลดปริมาณขยะมูลฝอย ณ แหลงกําเนิด

การลดปริมาณขยะมูลฝอย ณ แหลงกําเนิดเปนทางเลือกอันดับแรกในการจัดการขยะมูลฝอย

♦ การลดปริมาณ ณ แหลงกําเนิดเปนการลดปริมาณหรือความเปนพิษของขยะมูลฝอย
ณ แหลงกําเนิดโดยการเปลี่ยนแปลงกระบวนการที่กอใหเกิดขยะมูลฝอย
♦ การสงเสริมการลดปริมาณขยะมูลฝอยที่แหลงกําเนิดมีความสําคัญเนื่องจากเปนการ
อนุรักษทรัพยากร ลดคาใชจายในการกําจัดและลดมลพิษ
♦ องคประกอบพื้นฐานของการลดขยะมูลฝอยที่แหลงกําเนิด ประกอบดวย
• การลดการใชวัสดุในการผลิตสินคา
• การยืดอายุการใชงานของผลิตภัณฑ ใชใหนานขึ้น โดยทําการซอมแซม
• การลดความเปนพิษ
• การใชซ้ํา
• การลดการใชวัสดุ ใชอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น
• การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ซึ่งจะทําใหเกิดขยะมูลฝอยนอยลง

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 9. การลดขยะมูลฝอยที่แหลงกําเนิด • 9-1


9-2. การลดขยะมูลฝอย ณ แหลงกําเนิดโดยองคกรปกครองสวนทองถิ่น

องคกรปกครองสวนทองถิ่นควรจะริเริ่มโครงการลดปริมาณขยะ
มูลฝอยเพื่อเปนแบบอยาง

♦ องคกรปกครองสวนทองถิ่นประกอบดวยหนวยงานตาง ๆ มากมาย ซึ่งยอมมีการใช


ทรัพยากรเปนจํานวนมาก ดังนั้นจึงควรจะพัฒนาแผนการลดปริมาณขยะมูลฝอย ณ
แหลงกําเนิดของตนขึ้นมา ซึ่งแผนการนี้สามารถประยุกตใชกับหนวยงานเอกชนและ
หนวยงาน อื่น ๆ ในพื้นที่ได
♦ ตัวอยางการลดขยะมูลฝอย ณ แหลงกําเนิดภายในองคการปกครองสวนทองถิ่น เชน
• การถายเอกสารแบบสองหนา
• ใชระบบการเวียนเอกสาร (เชน บันทึก เอกสารตาง ๆ) การใชใบปะหนาระบุ
ชื่อผูที่ควรรับทราบเอกสารนั้น ๆ และลงชื่อผูที่ไดอานรายละเอียดแลว
• จัดพื้นที่เก็บรวบรวมเอกสารสวนกลาง
• ใชกระดาษที่มีการใชงานเพียงหนาเดียวซ้ํา
• ใชภาชนะที่สามารถใชซ้ําได

กลยุทธที่สําคัญประการหนึ่งก็คือ การจัดหาวัสดุสํานักงาน
โดยคํานึงถึงสิ่งแวดลอม

♦ การจัดซื้อจัดหาวัสดุโดยพิจารณาถึงประเด็นทางดานสิ่งแวดลอม มีแนวทางดังตอไปนี้
• จัดซื้อผลิตภัณฑที่ทําจากวัสดุรีไซเคิล เชน กระดาษรีไซเคิล และเครื่องเขียน
ที่ทําจากพลาสติกรีไซเคิล
• จัดซื้อผลิตภัณฑที่สามารถใชซ้ําได เชน ถวยกาแฟ แบตเตอรี่ที่ชารจใหมได
และปากกาชนิดเติมหมึก
• ซื้อผลิตภัณฑที่มีความทนทานและสามารถซอมแซมได
• ใชวิธียืมหรือเชาสิ่งของ ครุภัณฑ หากเปนไปได
• หลีกเลี่ยงผลิตภัณฑที่มีการใชบรรจุภัณฑมากเกินความจําเปน
• ระมัดระวังในการใชผลิตภัณฑที่มีสวนผสมของสารอันตราย

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 9. การลดขยะมูลฝอยที่แหลงกําเนิด • 9-2


9-3. การลดปริมาณขยะมูลฝอย ณ แหลงกําเนิดโดยประชาชน

ขั้นตอนแรกคือการสรางจิตสํานึกดานสิ่งแวดลอม

♦ การลดปริมาณของเสีย ณ แหลงกําเนิดโดยประชาชนจะไมสัมฤทธิ์ผลหากปราศจาก
จิตสํานึกในเรื่องของสิ่งแวดลอม องคกรปกครองสวนทองถิ่นจึงควรสรางจิตสํานึก
ดานสิ่งแวดลอมแกสาธารณชนโดยการใหขอมูลตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับปญหาดาน
สิ่งแวดลอม
♦ การมีสวนรวมในกิจกรรมการรีไซเคิลจะชวยเปดโอกาสใหประชาชนเริ่มตระหนักถึง
เรื่องสิ่งแวดลอม การเรียนรูคุณคาสิ่งแวดลอมดวยการปฏิบัติโดยนําสิ่งของกลับมาใช
ใหมดวยตัวเอง เปนวิธีที่ไดผลมาก

การสงเสริมกิจกรรม “ผูบริโภคสีเขียว” (Green Consumer)


ในชุมชนเปนสิ่งที่จําเปนอยางยิ่ง

♦ “ผูบริโภคสีเขียว” คือบุคคลที่เลือกใชผลิตภัณฑที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมซึ่งอาจ
เรียกวา มี “การคิดพิจารณากอนซื้อสินคา” (Pre-cycling) หรือ “การซื้อโดยคํานึงถึง
ระบบนิเวศ” (Eco-shopping)
♦ องคกรปกครองสวนทองถิ่นมีบทบาทสําคัญในการสงเสริมและสนับสนุนกิจกรรม
“ผูบริโภคสีเขียว” โดยการรวมมือกับกลุมผูบริโภคในทองถิ่น

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 9. การลดขยะมูลฝอยที่แหลงกําเนิด • 9-3


10. การเก็บรวบรวมและขนสง
การเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยที่มีประสิทธิภาพและเชื่อถือไดนั้น ถือเปนหัวใจของระบบจัดการขยะ
มูลฝอยที่ดี ในบทนี้จะแสดงปจจัยที่จะตองพิจารณาเมื่อมีการวางแผนระบบเก็บรวบรวมใหม

10-1. รถเก็บรวบรวมขยะมูลฝอย

รถและภาชนะสําหรับเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยมีหลายรูปแบบ

♦ ภาชนะรองรับขยะมูลฝอยกับชนิดของรถเก็บขนนั้นมีความสัมพันธใกลชิดกัน
♦ ขนาดของรถขึน้ อยูกับสภาพถนน โดยเฉพาะอยางยิ่งความกวางของถนน ขนาดรถ
ที่ใหญขึ้นจะสามารถเก็บขนไดประสิทธิภาพมากขึ้น ตราบเทาที่ความกวางของ
ถนนอํานวย

„ ตัวอยางภาชนะรองรับขยะและชนิดของรถ
ชนิดของขยะมูลฝอย ภาชนะรองรับขยะ ชนิดของรถ พื้นที่เปาหมายในการตั้ง
มูลฝอย ถังขยะและเก็บขน
ขยะมูล ฝอยที่ จ ะนํ า ไป - ภาชนะขนาดใหญ - รถขนมูลฝอยแบบอัดและ - พาณิชกรรม
ฝงกลบ - เครื่องยกขนาดใหญ - โรงแรม, อาคารขนาดใหญ
- ถังน้ํามัน - รถขนมูลฝอยแบบอัดและ - พาณิชยกรรม
- เครื่องยกขนาดเล็ก - ที่อยูอาศัย
- ถังใสขยะมูลฝอย - รถบรรทุก - พาณิชยกรรม
- รถขนมูลฝอยแบบอัด - ที่อยูอาศัย
- ถุงพลาสติก - รถบรรทุก - ที่อยูอาศัย
- รถขนมูลฝอยแบบอัด

„ ตัวอยางภาชนะรองรับขยะ „ ตัวอยางภาชนะรองรับขนาดใหญ

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 10. การเก็บรวบรวมและการขนสง • 10-1


„ ชนิดและลักษณะของรถเก็บขนมูลฝอยประเภทตางๆ

ประเภทรถเก็บขนขยะ ข อดี ข อเสี ย ความเหมาะสม


1. รถเปดขางเททาย • ปริมาณมูลฝอยที่เก็บขนไดขึ้นอยูกับ • ใชพนักงานเก็บขนฯมาก • เหมาะสมสําหรับชุมชนขนาดเล็ก
(Non-Compaction Side Loading Truck) ขนาดความจุของรถ • ระดับยกเทมูลฝอยใสตัวถังคอนขางสูงทําให มีปริมาณขยะไมมาก
• ใชเก็บขนมูลฝอยไดทุกประเภท เสียเวลาและแรงงาน
• ไมมีปญหาขยะฟุง และแมลงวัน • บรรทุกขยะไดนอยหากระยะทางขนสงไกล
• ราคาไมแพง จะไมคุมคาใชจาย
• การซอมบํารุงทําไดงาย
• พนักงานเก็บขนฯลดการเสีย่ งตอการ
ถูกรถชนขณะปฏิบัติงาน
2. รถเครื่องอัดมูลฝอย • สามารถบรรจุมูลฝอยไดปริมาณมาก • ราคาของรถยนตคอนขางแพง • เหมาะสําหรับกรณีที่มีงบประมาณสูง
(Compaction Tank) • พนักงานสามารถทํางานไดเ ร็วเนื่องจาก • การบํารุงรักษายุงยาก และมีคาใชจายสูง • เหมาะสําหรับชุมชนหนาแนน ที่มี
ระดับยกเทต่ํา • มูลฝอยจากชุมชนสวนใหญ เปนพวกเศษอาหาร ปริมาณขยะมาก
• ใชพนักงานเก็บขนฯ ไมมาก ซึ่งสามารถอัดใหมีปริมาณลดลงไดนอย และมี
• ไมมีปญหาขยะฟุง และแมลงวัน ความชื้นสูง ทําใหตัวถังผุกรอนเร็ว
• เหมาะสําหรับการเก็บขนฯ ในยานธุรกิจ • ไมเหมาะกับมูลฝอยชนิดเปยกหรือมีความชื้นสูง
การคา หรือบริเวณที่มีประชาชนอาศัย
หนาแนน
3. รถบรรทุกคอนเทนเนอร • สามารถบรรจุมูลฝอยไดปริมาณมาก • ราคารถยนตและถังคอนเทนเนอรแพง • เหมาะสําหรับเก็บขนมูลฝอยจากแหลงที่มี
(Container Hauling Truck) • ใชพนักงานเก็บขนฯ นอย มูลฝอยปริมาณมาก และมีจํานวนหลายแหง
• พนักงานเก็บขนฯ ไมตองสัมผัสกับมูลฝอยมาก อยูในบริเวณไมหางกันมากนัก
• ลดปญหาการคัดแยกมูลฝอยขณะปฏิบัติงาน

4. รถบรรทุกเททาย • ราคาถูก • ตัวถังเปดโลง ทําใหมูลฝอยปลิวกระจัดกระจาย • เมื่อตองการลดคาใชจาย


(Dumping Truck) • สามารถบรรทุกมูลฝอยที่มีขนาดใหญ และสงกลิ่นเหม็นรบกวนขณะขนสง
• ใชงานอยางอื่นได • ระดับยกเทมูลฝอยใสตัวถังสูง
• การซอมบํารุงงาย • เก็บขนไดปริมาณนอย
• คาใชจายในการเก็บขนตอหนวยสูง
• ตองวิ่งดวยความเร็วต่ําเพื่อปองกันขยะ
ฟุงกระจาย

ที่มา : 1) สํานักงานคณะกรรมการสิง่ แวดลอมแหงชาติ, เอกสารฝกอบรมทางวิชาการเรื่อง "การจัดการมูลฝอย" ระหวางวันที่ 19-23 กันยายน 2531 โดยความรวมมือจาก กรมการปกครอง
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช และองคการความรวมมือระหวางประเทศแหงญี่ปุน (JICA).
2) เอกสารคูมือการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการ เพื่อการจัดการคุณภาพสิง่ แวดลอมระดับจังหวัดเลมที่ 8 "การจัดการมูลฝอยและสิง่ ปฏิกูล" สํานักงานนโยบายและแผนสิง่ แวดลอม, 2539

10-2. จํานวนรถและภาชนะรองรับขยะ

จํานวนรถที่ตองใช

♦ จํานวนรถสําหรับเก็บขนสามารถคํานวณไดจากตัวแปรดังตอไปนี้
• จํานวนวันในสัปดาหที่ไมไดทําการเก็บขน
• คาเฉลี่ยน้ําหนักของขยะมูลฝอยที่บรรทุกไดตอคันคํานวณจากความ
หนาแนนของขยะมูลฝอยและความจุ (ปริมาตร) ของรถ
• จํานวนเที่ยวเฉลี่ยไปกลับใน 1 วัน (Trip)

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 10. การเก็บรวบรวมและการขนสง • 10-2


♦ วิธีการคํานวณแสดงไวใน “หวขอ 2-6-1 จํานวนรถเก็บขน” ในภาคผนวก 2
ตัวอยางผลของการคํานวณในรูปตอไปนี้ หากตองการทดลองคํานวณ สามารถใช
วิธีการคํานวณดังที่แสดงในภาคผนวก

„ ตัวอยางการคํานวณรถเก็บขนที่ตองการเมื่อเทียบกับจํานวนเที่ยวของการเก็บขน (Trip)
40
Trip = 2 เที่ยวตอวัน
35
30
25
จํานวนรถที่ตองการ

Trip = 3 เที่ยวตอวัน
20
Trip = 4 เที่ยวตอวัน
15 Trip = 5 เที่ยวตอวัน
10

5
0
0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100

ปริมาณขยะใน 1 วัน (ตัน/วัน)

หมายเหตุ: 1) ตัวอยางการคํานวณในรูปใชตัวแปรดังนี้
1. การบริการเก็บขนทุกวันยกเวนวันอาทิตย
2. ความหนาแนนเฉลี่ยของมูลฝอย = 0.2 ตัน/ลบ.ม.
3. ปริมาตรความจุของรถ =8 ลบ.ม.
2) Trip หมายถึง จํานวนเที่ยวเฉลี่ยไปกลับในการเก็บขนใน 1 วัน

จํานวนถังขยะที่ตองการ

♦ จํานวนถังขยะที่ตองการสามารถคํานวณจากสมการดังตอไปนี้
• NC = W / D / VC
โดยที่ NC = จํานวนถังขยะ
W = ปริมาตรขยะเฉลี่ยใน 1 วัน
D = ความหนาแนนของขยะในถังขยะ, ตัวอยาง 0.30 ตัน/ ลบ.ม.
VC = ปริมาตรของถังขยะ (ลบ.ม.), ตัวอยาง 0.20 ลบ.ม.

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 10. การเก็บรวบรวมและการขนสง • 10-3


♦ หากตองการทราบรายละเอียดการคํานวณ ดูไดจากเอกสารชุดคูมือการดําเนินงาน
ตามแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมระดับจังหวัดเลมที่ 8 การจัด
มูลฝอยและสิ่งปฏิกูล, สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม

10-3. การเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยโดยภาครัฐและเอกชน

การเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยทั้งโดยภาครัฐและเอกชน ควรจะไดรับการ
พิจารณาและประเมิน

♦ องคกรปกครองสวนทองถิ่น ควรจะพิจารณาบทบาทของภาครัฐและเอกชนใหเหมาะสม
ระบบการเก็บขนขยะอาจดําเนินการโดย (1) เทศบาล (2) ผูรับเหมาเอกชน (3)
ดําเนินการรวมกันระหวางภาครัฐและเอกชน ไมวา จะเลือกวิธีการใด ก็ควรจะมีการ
พัฒนาแผนการจัดการและแสดงโครงสรางขององคกรที่ชดั เจน

„ การเก็บรวบรวมขยะโดยภาครัฐและเอกชน
ผูดําเนินการ ขอดี ขอเสีย
เทศบาล - เจ าหน าที่ ของเทศบาลสามารถจั ดการ - บางครั้งทําใหเกิดคาใชจายที่
กับเหตุการณเรงดวน เชน เมื่อเกิดเหตุ สูงกวาการจางบริษัทเอกชน
การณรายแรง หรือมีการเพิ่มขึ้นของ
ปริมาณขยะชั่วคราว
- มีโอกาสไดรับความรวมมือสูงเมื่อมีการ
ทดลองโครงการใหม ๆ
- มีความนาเชื่อถือเนื่องจากมีการควบ
คุมจัดการโดยตรง
บริษัท - โดยทั่วไปจะมีคาใชจายต่ํา - จําเปนตองมีการทําสัญญาวา
ผูรับเหมา จ า งเพิ่ ม เติ ม ในการทดลอง
เอกชน โครงการใหม ๆ

การบริหารทรัพยากรบุคคลมีความสําคัญอยางยิ่งเชนกัน

♦ เชนเดียวกับองคกรอื่น ๆ ทุกองคกร การบริหารทรัพยากรบุคคลที่ดี มีความสําคัญตอ


ระบบการเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยที่มีประสิทธิภาพและมีคุณภาพสูง ดังนั้นการ
วาจางบุคลากรที่มีคุณภาพไวทํางานจึงเปนสิ่งที่สําคัญ ดวยเหตุที่งานเก็บรวบรวมขยะ
มูลฝอยเปนงานที่ใชกําลัง จึงตองประเมินสภาพรางกายของผูสมัครอยางระมัดระวัง

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 10. การเก็บรวบรวมและการขนสง • 10-4


และเพื่อใหพนักงานอยากอยูรวมงานตอไปควรจะมีการจัดสภาพแวดลอม ในการ
ทํางานที่ปลอดภัย มีความกาวหนาในอาชีพการงาน มีสวนรวมในการแกไขปญหา
และมีสิ่งจูงใจ

ความปลอดภัยเปนประเด็นสําคัญที่ควรตระหนักถึง

♦ ความปลอดภัยเปนประเด็นที่สําคัญ เนื่องจากพนักงานที่เก็บรวบรวมขยะมูลฝอย
ตองเผชิญกับสิ่งที่เปนอันตรายมากมายในการทํางานแตละวัน ไดแก
• การจราจรติดขัด
• ภาชนะรองรับขยะมูลฝอยทีม่ ีขอบคมหรือขรุขระ ซึ่งอาจจะบาดและทําให
ติดเชื้อ
• มีโอกาสเกิดการบาดเจ็บจากเครื่องจักรกลที่ใชในการเก็บขนขยะ
• การยกภาชนะที่หนักมากอาจทําใหเกิดอาการปวดหลัง
• ขยะมูลฝอยอันตรายจากบานเรือน เชน ยาฆาแมลง ตัวทําละลาย น้ํามัน
เชื้อเพลิง และแบตเตอรี่

10-4. การประชาสัมพันธ

ผูกอใหเกิดขยะมูลฝอยควรจะทราบถึงขอมูลเกี่ยวกับ
การจัดการที่เหมาะสม

♦ ควรแจงผูที่กอใหเกิดขยะมูลฝอยทราบถึงขอมูลเกี่ยวกับระบบการจัดเก็บรวบรวม
ขยะมูลฝอยเปนครั้งคราว ซึ่งขอมูลที่ควรแจง ไดแก
• วิธีการคัดแยกขยะ
• แนวทางการนําขยะมูลฝอยกลับมาใชใหม
• ระบบคาบริการ
• การทิ้งขยะมูลฝอยอันตราย
• ขยะที่ไมสามารถเก็บรวบรวมได ซึ่งยังตกคางอยู

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 10. การเก็บรวบรวมและการขนสง • 10-5


10-5. สถานีขนถาย

การศึกษาความเหมาะสมมีความจําเปน

♦ ความจําเปนตองมีสถานีขนถายหรือไมนั้น ขึ้นอยูกับการศึกษาความเหมาะสมทาง
ดานเศรษฐศาสตรเปนสําคัญโดยเปรียบเทียบราคาระหวางการมีสถานีขนถายและการ
ขนสงที่ไมมีสถานีขนถาย

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 10. การเก็บรวบรวมและการขนสง • 10-6


11. การรีไซเคิล (Recycling)
การรีไซเคิลหรือการนําขยะมูลฝอยกลับมาใชใหมเปนสิ่งที่ยอมรับกันทั่วโลก เนื่องจากเปนการ
อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและชวยรักษาสภาพแวดลอมของโลก และยังชวยใหสามารถใชพื้นที่
ฝงกลบไดยาวนานขึ้น
โครงการรีไซเคิลที่จะประสบความสําเร็จจะตองไดรับความรวมมือจากประชาชน และเปน
โครงการที่จัดทําโดยไดรับการยอมรับและการสนับสนุนจากประชาชน

11-1. ความสําคัญของการนําขยะมูลฝอยกลับมาใชใหม

ประเด็นเรื่องสิ่งแวดลอมโลกเปนประเด็นที่นานาชาติ
ใหความสําคัญ

♦ จากการประชุมสิ่งแวดลอมโลก ซึ่งจัดขึ้นที่เมืองริโอเดอจาเนโร เมื่อป พ.ศ. 2535


ผูเขารวมประชุมไดพิจารณาถึงวิธีการที่นําไปสูสภาพสังคมที่ยั่งยืน และไดจัดทํา
แผนปฏิบัติการ 21 (Agenda 21) จากนั้นประเด็นปญหาสิ่งแวดลอมโลกไดกลายเปน
ปญหาสังคมที่ทั่วโลกใหความสําคัญมากที่สุดเรื่องหนึ่ง โดยเฉพาะในเรื่องของการ
ลดกาซเรือนกระจกซึ่งเปนสาเหตุทําใหอุณหภูมิในบรรยากาศโลกสูงขึ้น
♦ เนื่องจากประเด็นเรื่องสิ่งแวดลอมโลกเปนเรื่องที่นานาชาติใหความสําคัญ ประเทศ
อุตสาหกรรมเกือบทั้งหมดตางก็พยายามจัดระบบการนําขยะมูลฝอยกลับมาใชใหม
♦ การนํากลับมาใชใหมจะชวยอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมโลก และ
เปนการยืดอายุการใชงานของสถานที่ฝงกลบ รวมทั้งยังชวยลดการปลอยกาซเรือน
กระจกดวยการลดการใชพลังงานและทรัพยากรธรรมชาติ

การรีไซเคิลสามารถลดปริมาณขยะมูลฝอยไดอยางประสิทธิภาพ

♦ ขยะมูลฝอยทีส่ ามารถนํากลับมาใชใหมได เชน กระดาษ พลาสติก แกว และโลหะ


คิดเปนรอยละ 36 ของปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนทั้งหมด (ดังแสดงในตัวอยางขอมูล
องคประกอบขยะมูลฝอย หนา 4-3) ซึ่งแสดงใหเห็นวาถาเราสามารถเก็บรวบรวม
วัสดุเหลานีไ้ ดทั้งหมด เราสามารถลดปริมาณขยะมูลฝอยที่จะตองกําจัดลงไดมากถึง
รอยละ 36 ดังนั้นการรีไซเคิลจึงเปนวิธีที่สามารถลดปริมาณขยะมูลฝอยลงไดมาก

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 11. การนําขยะมูลฝอยกลับมาใชใหม • 11-1


ทรัพยากรรีไซเคิลจากครัวเรือน เปนแหลงวัตถุดิบที่มีคาสําหรับ
ภาคอุตสาหกรรม

♦ อุตสาหกรรมหลายประเภทสามารถใชวัสดุรีไซเคิลเชน กระดาษ แกว และพลาสติก


เปนวัตดุดิบในขบวนการผลิตได ซึ่งถือวาเปนทรัพยากรที่มีคาที่ไดมาจากครัวเรือน
และภาคอุตสาหกรรมจะไดรับทรัพยากรที่มีคุณภาพสูงในราคาที่ต่ํา

11-2. ขยะมูลฝอยเปาหมายที่จะนํากลับมาใชใหม

ขั้นตอนแรกคือการกําหนดวัสดุเปาหมายที่จะนํากลับมาใชใหม

♦ วัสดุรีไซเคิลจากขยะมูลฝอยชุมชนที่สําคัญไดแก
1. กระดาษ
• หนังสือพิมพและวารสารตาง ๆ
• หีบหอ พัสดุ
• กระดาษลูกฟูก
2. ภาชนะบรรจุเครื่องดื่ม
• ขวดชนิด PET
• กระปองเหล็ก
• กระปองอลูมิเนียม
• ขวดแกว
3. พลาสติกชนิดตาง ๆ
4. โลหะอื่น ๆ
5. ผาและเสนใย

การแยกมูลฝอยที่แหลงกําเนิดมีความสําคัญอยางยิ่ง

♦ การแยกมูลฝอยที่แหลงกําเนิด มีความสําคัญตอความสําเร็จของระบบการรีไซเคิล
แตถาวัสดุนนั้ มีการปนเปอนดวยสารอินทรีย จะทําใหงานคัดแยกไมปลอดภัยและ
ไมถูกสุขลักษณะ
♦ ขยะมูลฝอยทีส่ ามารถนํากลับมาใชใหมไดบางชนิดจะปนกันมาจากแหลงกําเนิด
ระบบการคัดแยกจะกําหนดไดโดย

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 11. การนําขยะมูลฝอยกลับมาใชใหม • 11-2


• ความตระหนักของประชาชน
• ประสิทธิภาพในการเก็บรวบรวม
• ประสิทธิภาพในการคัดแยกที่โรงงานแปรรูปวัสดุใหสามารถใชประโยชน
ไดใหม
• ความตองการของตลาดรับซื้อวัสดุที่นํากลับมาใชใหมได

„ ตัวอยางการแยกของเสียที่แหลงกําเนิด
ประเภทขยะมูลฝอย การแยกที่
วัสดุ หมายเหตุ
ที่นํากลับมาใชใหมได แหลงกําเนิด
กระดาษ กระดาษ - หนังสือพิมพ วั ส ดุ จ ะขึ้ น อยู กั บ ความต อ งการของ
- วารสาร ตลาด บางครั้งมีการแยกหนังสือพิมพ
- ภาชนะและบรรจุภัณฑที่เปน ออกมาตางหาก
กระดาษ
กระดาษลูกฟูก - กระดาษลูกฟูก
ภาชนะบรรจุเครื่องดื่ม ภาชนะบรรจุ - ขวดพลาสติกชนิด PET ภาชนะเป น เหล็ ก สามารถแยกอย า ง
เครื่องดื่ม - กระปองเหล็กกลา งายดายโดยใชแมเหล็ก แตวัสดุอื่นตอง
- กระปองอลูมิเนียม คัดแยกดวยมือ ดังนั้น จึงอาจวางแผน
- ขวดแกว ใหประชาชนเปนผูคัดแยก
พลาสติกอื่น - ภาชนะพลาสติกนอกเหนือ ขึ้นอยูกับความตองการของตลาด
จาก PETขวดและบรรจุภัณฑ
โลหะอื่น ๆ - เหล็กกลาหรือโลหะอื่นที่มีคา ขึ้นอยูกับความตองการของตลาด
ผา - ชุดชั้นใน สามารถนํากลับมาใชซ้ําได
- เสื้อผาเกา

11-3. การเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยที่สามารถนํากลับมาใชใหมได

การเก็บรวบรวมวัสดุรีไซเคิล

♦ ระบบการเก็บรวบรวมวัสดุรไี ซเคิลมีหลายรูปแบบ แตสามารถแบงเปน 2 กลุม


ใหญ ๆ คือ
1.การเก็บรวบรวมโดยชุมชน (Community-based collection) ประชาชนสมัครใจที่
จะดําเนินงานกิจกรรมการนําขยะมูลฝอยกลับมาใชใหม
2.การเก็บรวบรวมจากขางถนน (Curve-side collection) โดยองคกรปกครองสวน
ทองถิ่นเปนผูใหบริการเก็บรวบรวมตามจุดที่กําหนดใหทิ้ง

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 11. การนําขยะมูลฝอยกลับมาใชใหม • 11-3


การเก็บรวบรวมโดยชุมชนเปนวิธีที่ประหยัดคาใชจาย

♦ การเก็ บ รวบรวมโดยชุ มชน เปน กิ จ กรรมที่ดํ า เนิน การด ว ยความสมั ครใจ และ
สามารถเก็บรวบรวมมูลฝอยที่สามารถนํากลับมาใชใหมไดอยางมีประสิทธิภาพ
♦ วิธีการเก็บรวบรวมแบบนี้ เปนวิธีที่ไดรับการสนับสนุนใหดําเนินการอยางมาก
เนื่องจากประหยัดคาใชจาย แลวยังสามารถสรางจิตสํานึกในเรื่องสิ่งแวดลอมแก
สาธารณชนจากการมีสวนรวมโดยความสมัครใจ

“ธนาคารขยะ” เปนกิจกรรมการนําขยะมูลฝอยกลับมาใชใหม
รูปแบบหนึ่งที่ดําเนินการโดยชุมชนไดอยางมีประสิทธิผล

♦ การสรางจิตสํานึกในเรื่องสิ่งแวดลอมใหกบั สาธารณชนเปนสิ่งที่จําเปน หากไมมี


การดําเนินการในเรื่องดังกลาวแลวจะไมสามารถจัดการขยะมูลฝอยไดอยางราบรื่น
เชน การกําหนดพื้นทีก่ อสรางระบบตองมีการปรึกษากับประชาชนที่อยูในบริเวณ
รอบพื้นที่นั้น นอกจากนีย้ ังอาจเกิดการตอตานการกอสรางสถานีฝงกลบและเมื่อ
เริ่มดําเนินงานฝงกลบแลว และถาประชาชนไมมีจติ สํานึกก็จะไมสามารถรักษา
กฎระเบียบเกีย่ วกับการทิ้งขยะมูลฝอยได
♦ คําถามที่วา “จะสรางจิตสํานึกในเรื่องสิ่งแวดลอมของประชาชนไดอยางไร ?” เปน
ขอคิดที่สําคัญ ซึ่งจะสามารถดําเนินการโดยใชแผนงานที่ใหประชาชนมีสวนรวม
ดังเชน โครงการธนาคารขยะ ซึ่งเปนวิธีการที่เหมาะสม

โครงการ “ธนาคารขยะ” ควรขยายผลตอไป

♦ โครงการ “ธนาคารขยะ” ที่จัดตั้งตามโรงเรียนจนประสบความสําเร็จแลว ควรมี


มาตรการขยายผลจัดตั้งขึ้นในระดับชุมชนดวย ตามขั้นตอนดังนี้
• เริ่มทดลองใชในโรงเรียนกอน : ควรทดลองจัดตั้งจนประสบความสําเร็จ
ในโรงเรียนกอน ซึ่งจะมีผลทําใหชุมชนเริ่มมีสวนรวมในโครงการตั้งแต
ขั้นตอนนี้แลว โดยประชาสัมพันธผานสื่อตางๆ ใหประชาชนเริ่มรวมมือ
และเห็นผลประโยชนของโครงการ

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 11. การนําขยะมูลฝอยกลับมาใชใหม • 11-4


• แรงจูงใจทางดานการเงิน : ควรเนนถึงผลกําไรที่ชุมชนและผูรวมโครงการ
จะไดรับ และยังเปนการชวยประหยัดคาใชจายในการฝงกลบขยะมูลฝอยที่
จะมีปริมาณลดนอยลง
• การขยายผล : โครงการ “ธนาคารขยะ” ควรจัดตั้งขึ้นทั้งในโรงเรียนและใน
ชุมชน ซึ่งในอนาคตสามารถมีโครงขายเชื่อมโยงกันได
• การจัดสัมมนา : การจัดสัมมนาจะใหประสิทธิผลมากในการสรางความ
นิยมให “โครงการธนาคารขยะ” ผูบริหารขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
ควรเปนผูจัด โดยจัดไดทั้งในระดับโรงเรียน และระดับผูนําชุมชน

การเก็บรวบรวมวัสดุรีไซเคิลตามจุดที่กําหนดขางถนน (curve-side collection)


มีลักษณะเชนเดียวกับการเก็บรวบรวมขยะมูลฝอย

♦ การเก็บรวบรวมแบบนีจ้ ําเปนตองมีงบประมาณสนับสนุน แตคาดวาจะไดรับความ


รวมมืออยางสูงถึงรอยละ 70-80 และจะสามารถเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยที่จะนํา
กลับมาใชใหมไดในปริมาณที่มาก

„ การเก็บรวบรวมขวดแบบ Curve-side collection โดยใชภาชนะแยกขยะมูลฝอย

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 11. การนําขยะมูลฝอยกลับมาใชใหม • 11-5


11-4. โรงงานคัดแยกและแปรสภาพวัสดุเพื่อการรีไซเคิล
(Material Recovery Facility ; MRF)

ควรจะมีการพิจารณาขนาดของโรงงานที่เหมาะสม

♦ ขนาดของโรงงานสามารถคํานวณโดยใชสูตรดังนี้
• ขนาดของโรงงาน (ตัน/วัน) = W/D x 365
• เมื่อ W = ปริมาณขยะมูลฝอยที่จะนํากลับมาใชใหมในอนาคต (ตัน/ 365วัน)
• D = จํานวนวันที่ดําเนินการใน 1 ป (วัน/ป)

„ ตัวอยางการคํานวณขนาดของโรงงานที่เหมาะสม
ปริมาณการนํากลับมาใชใหม กําลังการผลิตของ
ขนาดพื้นที่ อัตราการผลิต อัตราการนํา
ใน 10 ปขางหนา โรงงาน
(ประชากร) ขยะมูลฝอย กลับมาใชใหม
(ตัน/วัน) (ตัน/วัน)
(กิโลกรัม/คน/วัน) (%)
10,000 0.70 20 1.7 2.4
20,000 0.70 20 3.4 4.8
30,000 0.70 20 5.0 7.0
50,000 0.70 20 8.4 11.7
100,000 0.70 20 16.8 23.5
200,000 0.70 20 33.6 47.0
หมายเหตุ 1) ปริมาณของขยะมูลฝอยที่จะนํากลับมาใชใหมในเวลา 10 ปขางหนา คิดที่ประมาณ 1.2 เทาของปริมาณใน
ปจจุบัน และไมไดคิดรวมถึงการเพิ่มขึ้นของประชากร
2) จํานวนวันที่มีการดําเนินการใน 1 ป ประมาณ 261 วัน (จากวันจันทร-ศุกร)

การออกแบบโรงงานในเบื้องตน จะพิจารณาระบบใชแรงงานคน

♦ หากคาจางงานไมสูงนัก ก็จะสามารถวางแผนหรือออกแบบโรงงานแยกมูลฝอย
โดยใชแรงงานคนเปนพืน้ ฐานในการแยกได
♦ การแยกขวดแกวและขวด PET จะทําโดยใชแรงงานคนเทานั้น นอกจากนี้ในการ
แยกขวดยังควรทําการแยกออกเปนขวดสีชา สีเขียว ขวดใส และอื่น ๆ

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 11. การนําขยะมูลฝอยกลับมาใชใหม • 11-6


„ แผนผังการออกแบบโรงงานเบื้องตน

การรับขยะมูลฝอย พลาสติก

แกว

การคัดแยก เหล็กกลา การเก็บรักษา

อลูมิเนียม

กระดาษ

„ ขั้นตอนการคัดแยกวัสดุในโรงงาน

การคัดแยกอาจจําเปนตองใชเครื่องจักรกลบางอยาง

♦ ขยะมูลฝอยบางอยางอาจคัดแยกไดโดยใชเครื่องจักรกลที่ทํางานโดยอัตโนมัติ โดย
ไมจํา เปน ตองใชแรงงาน เช น การแยกเหล็กโดยใชแ ม เหล็ก นอกจากนี้ก ารใช
สายพานยังเปนวิธีที่มีประสิทธิภาพในการคัดแยกขยะมูลฝอยที่จะนํากลับมาใช
ใหม

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 11. การนําขยะมูลฝอยกลับมาใชใหม • 11-7


„ โรงงานคัดแยกมูลฝอยกับการใชเทคโนโลยี

การแปรรูปกระดาษ 1 สายการผลิต วัสดุทปี่ นกัน

การคัดแยก
กระดาษทีใ่ ชไมได แมเหล็ก เครือ่ งอัด กระปองทีเ่ ปนเหล็ก
กระดาษ หรือ โลหะผสม

เครือ่ งอัด กระดาษมัดกอน ตะแกรงรอน ของเสีย

เครือ่ งอัดเม็ด คัดแยก พลาสติก การคัดแยก


เม็ดพลาสติก
พลาสติก HDPE & PET พลาสติก

กระปองอลูมเิ นียม ตะแกรงรอน กระปอง การคัดแยก


อลูมเิ นียม อลูมเิ นียม

การกําจัด การคัดแยก การกําจัดเศษขยะ


สิง่ สกปรก ขยะ

การคัดแยก
แกว
แกวสีชา แกวสีเขียว แกวใส เศษแกวทีผ่ สมกันและ
ทีม่ ขี นาดเล็กมาก

โกดังเก็บ โกดังเก็บ โกดังเก็บ โกดังเก็บ


รักษา รักษา รักษา รักษา

ที่มา : United States Environmental Protection Agency; “Decision-Maker’s Guide To Solid Waste Management,
Volume II”, 1995

การเลือกที่ตั้งโรงงานคัดแยกขยะควรจะคํานึงถึงประเด็นเรื่องเสียง

♦ เสียง
• โรงงานคัดแยกขยะจะทําใหเกิดเสียงรบกวนในสวนที่เกี่ยวของกับเครื่อง
จักรกลหนัก เชน เครื่องตักปอนขยะมูลฝอยเขาโรงงาน ฯลฯ สถานที่ตั้งจึง
ควรอยูในพื้นที่ที่ไดรับอนุญาต
♦ ความสามารถในการเขาถึงแหลงรับซื้อ
• ถาหากวามีแหลงรับซื้อขยะมูลฝอยที่จะนํากลับมาใชใหมตั้งอยูใกลโรงงาน
ก็จะเปนประโยชนยิ่งขึน้

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 11. การนําขยะมูลฝอยกลับมาใชใหม • 11-8


11-5. การตลาดสําหรับวัสดุรีไซเคิล

การตลาดสําหรับวัสดุรีไซเคิลจะประสบความสําเร็จไดนั้นจําเปนตองมี
ƒ ความรูดานการตลาดที่ถูกตอง
ƒ การรวมกันตัดสินใจของผูเกี่ยวของ

♦ การตลาดที่มีความนาเชื่อถือและมั่นคง ประกอบดวย (1) มีการตัดสินใจในเรื่อง


ของการตลาดโดยเขาใจในระบบการตลาดของวัสดุรีไซเคิล อยางชัดเจน และ (2)
มีการตัดสินใจรวมกันระหวางกลุมผูวางแผนดานการรีไซเคิล ผูบริหารขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่น สาธารณชน และภาคเอกชน การประเมินดานการตลาดจะ
เกี่ยวของกับการดําเนินการตาง ๆ ดังนี้
• การระบุผูซื้อ : รายชื่อ ที่อยูและหมายเลขโทรศัพทของผูซื้อสามารถหาได
จากหนวยงานของรัฐ (หลายแหงมีการทําบัญชีตลาดรับซื้อวัสดุรีไซเคิล)
• การติดตอกับผูซื้อ : สอบถามเกี่ยวกับเรื่องราคา รายละเอียดขอกําหนดเกี่ยว
กับจัดเตรียมวัสดุและระดับของการปนเปอ นที่ยอมรับได
• การเลือกผูซื้อ : ความสามารถของผูซื้อจะตองสัมพันธกับแผนดานการ
รีไซเคิล ผูวางแผนโครงการอาจใชวิธีการสัมภาษณกลุมผูซื้อรวมดวย
• การทําสัญญากับผูซื้อ : ควรจะมีการทําสัญญาที่ระบุวามีความตองการอะไร
เนื่องจากในชวงที่การตลาดซบเซาลง ผูซื้อบางรายจะใหบริการเฉพาะลูกคา
ที่มีสัญญาเทานั้น

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 11. การนําขยะมูลฝอยกลับมาใชใหม • 11-9


11-6. การดําเนินงานของภาครัฐและภาคเอกชน

การรวมมือกับบริษัทเอกชนมีความสําคัญอยางยิ่ง

♦ การดําเนินงานของเอกชนจะสามารถประหยัดคาใชจายไดดีกวา ในการดําเนินงาน
ของโรงงานคัดแยกและแปรสภาพวัสดุ (MRF) จําเปนตองมีขอมูลเกี่ยวกับ คุณภาพ
ของวัสดุรีไซเคิล ประสิทธิภาพในการคัดแยก การจัดการและจัดเก็บ บริษัทที่
ดําเนินการดานรีไซเคิลอยางเชนผูรับซื้อจะมีขอมูลเหลานี้ ดังนั้นการรวม มือกับ
เอกชนจึงมีความสําคัญมาก
♦ แมแตโครงการที่ดําเนินการโดยประชาชนก็ยังตองการความรวมมือจากบริษัทเอกชน
ในการกําหนดคุณภาพของวัสดุที่จะนํากลับมาใชใหม

11-7. โครงการนํารอง

โครงการนํารองจะชวยชุมชนในการปรับใหเขากับโครงการใหม ๆ ได

♦ โครงการรีไซเคิลใหมทุกโครงการ จะเกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงอยางสําคัญตอ
วิธีการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชน ดังนั้นโครงการนํารองจึงมีความจําเปน
องคกรปกครองสวนทองถิ่นควรริเริ่มดวยโครงการอาสาสมัคร หรือโครงการนํา
รองกอนแลวนําขอมูล และประสบการณที่ไดไปประยุกตใชกับโครงการใหมที่มี
ขนาดใหญขึ้น

สามารถประเมินความเหมาะสมของทางเลือกตาง ๆ ได
ในชวงของโครงการนํารอง

♦ ในระหวางดําเนินโครงการนํารองรูปแบบตางๆ จะมีการรวบรวมวัสดุรีไซเคิลดวย
วิ ธี ก ารต า งๆภายในช ว งระยะเวลาหนึ่ ง ซึ่ ง เป ด โอกาสให ส ามารถประเมิ น
ประสิทธิ ภาพของทางเลือกตางๆ โครงการนํารองจึงชวยชุมชนใหสามารถทดสอบ
ความเหมาะสมของกลยุทธตางๆ เพื่อเลือกแนวทางที่เหมาะสมและชวยใหบรรลุผล
ตามความตองการได

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 11. การนําขยะมูลฝอยกลับมาใชใหม • 11-10


11-8. การประชาสัมพันธ

การใหความรู และการประชาสัมพันธควรจะดําเนินการ
อยางตอเนื่อง

♦ ความสําเร็จของโครงการนําขยะมูลฝอยกลับมาใชใหมในระยะยาว จะขึ้นอยูกับการมี
สวนรวมของชุมชน ประชาชนและเจาพนักงานทองถิ่นจะตองเขาใจถึงเหตุผลทาง
ดานสิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ และสังคมของการรีไซเคิลเพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอยที่
จะต องนํ าไปฝ งกลบ จึ งจํ าเป นต องดําเนิ นการประชาสั มพั นธ โครงการ รณรงค
สงเสริม และใหความรูอยางตอเนื่อง

การติดตามตรวจสอบ และแจงใหชุมชนทราบเปนวิธีการที่
มีประสิทธิผล

♦ แมจะเริ่มโครงการไปแลว ควรดําเนินการติดตามตรวจสอบผลการดําเนินงาน
โครงการและแจงใหประชาชนไดรับทราบ ซึ่งเปน วิธีที่สามารถคงไวซึ่งความ
รวมมือจากประชาชนตอไป

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 11. การนําขยะมูลฝอยกลับมาใชใหม • 11-11


12. การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล (Sanitary Landfill)
การฝงกลบเปนเทคโนโลยีพนื้ ฐานในการกําจัดขยะมูลฝอยที่ไมสามารถลดปริมาณ หรือนํากลับ
มาใชประโยชนใหมได การออกแบบสถานีฝงกลบที่ถูกตองจะตองประกอบไปดวยการกลบทับ
รายวัน (Daily cover), ระบบวัสดุกันซึม (Liner system) และการจัดการน้ําชะมูลฝอย (Leachate)
ซึ่งเปนองคประกอบที่ทําใหการฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล (Sanitary Landfill) แตกตางจาก
การเทกองทิ้งไวกลางแจง (Open dump)

การกอสรางสถานีฝงกลบทุกแหงมักจะถูกตอตานทั้ง ๆ ที่เปนสิ่งจําเปนสําหรับชุมชนทุกแหง
สาเหตุที่ประชาชนมักตอตานเนื่องจากเกรงวาจะมีปญหาเรื่องกลิ่น การรั่วไหลของน้ําชะขยะและ
การเขามาในพืน้ ที่ของรถขนขยะมูลฝอย ดังนั้นการเลือกสถานที่ตั้งและกระบวนการตาง ๆ จึง
เปนสิ่งสําคัญ และตองมีการดําเนินการอยางระมัดระวัง

ในบทนี้จะเปนการใหขอมูลเกี่ยวกับการออกแบบบอฝงกลบ, การดําเนินงาน และการปดพืน้ ที่


หลังจากการฝงกลบเสร็จสิ้นทั้งพื้นที่

12-1. การฝงกลบ - ภาพรวม

การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาลจะประกอบไปดวย ระบบวัสดุกันซึม,
การกลบทับราบวัน และระบบบําบัดน้ําชะมูลฝอย

♦ การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล โดยทั่วไปจะประกอบไปดวยสิ่งตอไปนี้
• ระบบวัสดุกนั ซึม : เปนชั้นดินหรือวัสดุสังเคราะหที่ใชสําหรับรองรับน้ํา
ชะมูลฝอย เพือ่ ปองกันการไหลของน้ําชะขยะปนเปอนลงสูน้ําใตดิน
• การกลบทับรายวัน (Daily cover) : จะใชดินเปนตัวกลบทับมูลฝอยที่บด
อัดแลว หลังจากการดําเนินงานในแตละวัน
• ระบบบําบัดน้ําชะขยะ : น้ําชะขยะเปนของเหลวที่ไหลจากขยะมูลฝอยไม
สามารถปลอยลงสูสิ่งแวดลอมได เนื่องจากมีโลหะหนักและมีคา BOD
สูง ดังนั้นจึงจําเปนตองมีระบบบําบัดน้ําชะขยะ
• ระบบระบายกาซ : การยอยสลายมูลฝอยที่เปนสารอินทรียในสภาวะไร
อากาศจะทําใหเกิดกาซมีเทนและกาซคารบอนไดออกไซด ซึ่งกาซมีเทน
นั้นสามารถเก็บรวบรวมและนําไปใชเปนเชื้อเพลิงได

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 12. การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล • 12-1


„ การฝงกลบขยะมูลฝอยชุมชน

ที่มา : P.O’ Leary และ P.Walsh; University of Wisconsin-Madison Solid and Hazardous Waste Education Center,
reprinted from Waste Age 1991-1992, reprinted by United States Environmental Agency, “Decision-
Makers’ Guide To Solid Waste Management, Volume II”, August 1995

การฝงกลบมูลฝอยมีสองวิธี

♦ วิธีฝงกลบบนพื้นที่ (Area Method)


• เปนวิธีฝงกลบที่เริ่มจากระดับดินเดิม โดยทําการบดอัดมูลฝอยตามแนว
ราบกอน แลวคอยบดอัดทับในชั้นถัดไปสูงขึ้นเรื่อย ๆ จนไดระดับที่
กําหนด การฝงกลบวิธีนี้จําเปนตองทําคันดิน (Embankment) เพื่อ
ทําหนา ที่เปนผนังและปองกันน้ําเสียที่เกิดจากการยอยสลายของมูลฝอย
ที่บดอัด และฝงกลบแลวไมใหซึมออกดานนอก
♦ วิธีฝงกลบแบบขุดรอง (Trench Method)
• เปนวิธีฝงกลบที่เริ่มจากระดับที่ต่ํากวาระดับดินเดิม โดยการขุดดินใหได
ระดับตามที่กําหนด แลวเริ่มบดอัดมูลฝอยใหเปนชั้นบาง ๆ ทับกันหนา
ขึ้นเรื่อย ๆ จนไดระดับตามที่กําหนดของมูลฝอยบดอัดแตละชั้น โดย
ทั่วไปความลึกของการขุดรองจะถูกกําหนดดวยระดับน้ําใตดิน พื้นรอง
ควรอยูสูงกวาระดับน้ําใตดิน ไมนอยกวา 1 เมตร โดยยึดระดับน้ําใตดิน
ในฤดูฝนเปนเกณฑ เพื่อปองกันไมใหเกิดการปนเปอนตอน้ําใตดิน

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 12. การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล • 12-2


„ วิธีการฝงกลบบนพื้นที่ „ วิธีการฝงกลบแบบขุดรอง

ที่มา : เอกสารชุดคูมือการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมระดับจังหวัด เลมที่ 8,


การจัดการมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล, สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม

12-2. การเลือกสถานที่กอสรางสถานีฝงกลบขยะมูลฝอย (Facility Siting)


ปจจัยทางเทคนิค

♦ ขนาด : ขนาดของพื้นที่ตองมีขนาดใหญเพียงพอในการรับปริมาณขยะมูลฝอยที่
จะนํามาฝงกลบไดไมนอยกวา 15 ป
♦ ระดับน้ําใตดิน : ระดับพื้นบอฝงกลบตองสูงกวาระดับน้ําใตดิน (สูงสุด)
อยางนอย 1 เมตร
♦ คุณสมบัติของดิน : ดินบริเวณที่กอสรางหลุมฝงกลบควรจะมีอัตราการซึมน้ําต่ํา
(K< 1x 10-5 ซม. /วินาที) เพื่อปองกันการไหลซึมของน้ําชะมูลฝอย
♦ สภาพน้ําทวม : สถานีฝงกลบขยะมูลฝอย และพื้นที่โดยรอบตองไมอยูในพื้นที่
เคยเกิดน้ําทวม หรือพื้นที่เสีย่ งตอการเกิดน้ําทวม
♦ สภาพธรณีวิทยา : ความลาดชันของพื้นที่ตองไมสูงมาก และตองไมอยูในเขต
พื้นที่รอยเลื่อน (Fault zones)
♦ รายละเอียดอื่น ๆ หาอานไดในเกณฑมาตรฐานและแนวทางการจัดการขยะ
มูลฝอยชุมชนของกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและ
สิ่งแวดลอม ในภาคผนวก 5

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 12. การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล • 12-3


ปจจัยทางสังคม และการเงิน

♦ ระยะทางขนสง : ระยะทางในการขนสงขยะมูลฝอยของรถเก็บขนเก็บขนขยะ
มูลฝอยไปยังสถานที่ฝงกลบ จะตองไมไกลมากจนทําใหคาดําเนินการสูงเกินไป
♦ การวางแผนใชพื้นที่ในอนาคต : จะตองไมตั้งอยูในเขตพื้นที่ที่จะพัฒนาเปนทีอ่ ยู
อาศัยในอนาคต หรืออยูในเขตพื้นที่การเกษตรที่อุดมสมบรูณ และควรมีแผน
การใชประโยชนของพื้นที่ภายหลังการฝงกลบเสร็จสิ้นทั้งพื้นที่แลว
♦ สนามบิน : สถานีฝงกลบจะตองอยูห างจากเขตสนามบิน เพื่อปองกันเครื่องบิน
จากการรบกวนของนก ซึ่งอาจทําใหเกิดอุบัติเหตุได

ปจจัยทางสิง่ แวดลอม

♦ ระยะหางจากบานเรือน : สถานที่ฝงกลบขยะมูลฝอยควรอยูหางจากชุมชน และ


บานเรือนมากที่สุดเทาที่จะทําได
♦ แหลงน้ํา : สถานที่ฝงกลบขยะมูลฝอยควรตั้งอยูหางจากแหลงน้ําเพื่อการบริโภค
♦ สภาพนิเวศวิทยาที่เปราะบาง : สถานีฝงกลบมูลฝอยไมควรตั้งอยูในเขตปาอุดม
สมบูรณ หรือพื้นที่ที่มีสภาพนิเวศวิทยาทีเ่ ปราะบาง

12-3. การออกแบบระบบฝงกลบ

การคํานวณขนาดของพื้นที่ฝงกลบเปนขั้นตอนแรกที่ตองทําในการออกแบบ

♦ เริ่มจากการหาปริมาตรความจุของขยะมูลฝอยที่จะฝงกลบ โดยพิจารณาจาก
จํานวนปที่ใช ปริมาณและองคประกอบของขยะที่จะฝงกลบ ความหนาแนน
ของขยะหลังการบดอัด และปริมาณของวัสดุกลบทับรายวันและวัสดุกลบทับ
ขั้นสุดทาย ซึ่งไมใชการคํานวณที่งายนัก
♦ การหาปริมาตรความจุของบอฝงกลบมูลฝอย สามารถคํานวณจากสมการดังตอไปนี้
• V = N x 365 x W/D
โดยที่ V = ความจุของบอฝงกลบ
N = ระยะเวลาฝงกลบ (ป)
W = ปริมาณขยะมูลฝอยที่ฝงกลบรายป (ตัน/ป)
D = ความหนาแนนของการบดอัดขยะ (ตัน/ลบ.ม.)
(ใช 0.55)

♦ ขนาดของพื้นที่ที่ตองการใชกอสรางระบบฝงกลบขยะ สามารถคํานวณจาก

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 12. การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล • 12-4


สมการดังตอไปนี้
• A = V/H x k
โดยที่ A = ขนาดพืน้ ที่ทั้งหมดที่ตองการสําหรับระบบฝงกลบ
(ตารางเมตร)
V = ความจุของบอฝงกลบ (ลบ.ม.)
H = ความสูงของชั้นฝงกลบไมรวมดินกลบทับ และดินกลบ
ทับชั้นสุดทาย (เมตร)
K = คาคงที่ที่เผื่อพื้นที่สรางอาคาร, ระบบบําบัดน้ําเสีย, ถนน
และการปลูกตนไม (ใช 1.5)

„ ตัวอยางการคํานวณความจุในการฝงกลบเปนเวลานาน 20 ป
จํานวน อัตราการ ปริมาณขยะ ปริมาณขยะ ความจุของ พื้นที่ที่ตองการ
ประชากร ผลิตขยะ ฝงกลบรายวัน ฝงกลบ 20 ป การฝงกลบ
ตอคน ชวง 20 ป
(คน) (กิโลกรัม/คน/วัน) (ตัน/วัน) (1,000 ตัน/20 ป) (1000 ลบ.ม.) (1000 ตร.ม.)
10,000 0.70 7 72 130 33
20,000 0.70 14 143 260 65
30,000 0.70 21 215 390 98
50,000 0.70 35 358 650 163
100,000 0.70 70 715 1,301 325
200,000 0.70 140 1,431 2,601 650
หมายเหตุ : 1) ปริมาณขยะฝงกลบรายวันในรอบ 10 ป สมมติใหมีคา 1.4 เทา ของปริมาณขยะฝงกลบรายวันในปจจุบัน
2) การเพิ่มของประชากรไมนํามาพิจารณา
3) ขนาดพื้นที่ที่ตองการคํานวณจากการกําหนดความสูงของการฝงกลบที่ไมรวมดินกลบทับ = 6.00 เมตร
(ชั้นละ 2 เมตร จํานวน 3 ชั้น) และเผื่อพื้นที่สําหรับการกอสรางสาธารณูปโภคอีก 50% ของพื้นที่
ที่คํานวณได

ขอมูลทางดานธรณีวิทยาที่ตอ งการ

♦ ในการออกแบบพื้นที่ฝงกลบจะตองใชขอมูลทางดานธรณีวิทยา ขอมูลเหลานี้
สามารถหาไดจากการตรวจสอบเอกสารหรือทําการสํารวจภาคสนาม ในการ
สํารวจภาคสนามจํานวนของการขุดเจาะสํารวจขึ้นอยูกับสภาพพื้นที่วามีความ
ซับซอนเพียงใด
• การทบทวนเอกสารที่เคยศึกษามาแลว : เอกสารเหลานี้ ไดแก รายงาน
การวิจยั ขอมูลทางธรณีวิทยา และขอมูลเกี่ยวกับการประเมินผลกระทบ
สิ่งแวดลอม
• การสํารวจภาคสนาม : เปนการสํารวจทางภูมิศาสตร การขุดเจาะดิน ขุดหลุม
ตรวจสอบดินบริเวณขางใต และบริเวณใกลเคียงกับพื้นที่ฝงกลบที่นําเสนอ

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 12. การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล • 12-5


• ขอมูลทางอุทกธรณีวิทยา : เปนการสํารวจขอมูลน้ําใตดินชั้นอุมน้ํา และ
อัตราการซึมผานน้ําของชั้นดิน ทิศทางการไหลของน้ําบาดาล

ปจจัยสําคัญที่ตองพิจารณาในการออกแบบระบบฝงกลบ

♦ ถนนทางเขา
• ควรปูผิวถนนทางเขาโครงการระบบฝงกลบดวยวัสดุที่ทนทานตอทุก
สภาพอากาศ
♦ สาธารณูปโภค
• ควรมีระบบไฟฟา และระบบประปาในสถานที่สรางระบบฝงกลบ
♦ วัสดุกันซึม สําหรับบอฝงกลบ
• ใชดินเหนียวบดอัด หรือวัสดุสังเคราะห โดยมีระบบทอรวบรวมน้าํ ชะขยะ
อยูเหนือชั้นวัสดุกันซึม ซึ่งประกอบดวยทอ PVC หรือทอ HDPE เสน
ผา ศูนยกลางไมนอยกวา 4 นิ้วที่เจาะรู และหุมดวยแผนกรองใยสังเคราะห
และวางในชั้นกรวดหนา 30 เซนติเมตรที่มีคาอัตราการซึมผานของน้ําไม
นอยกวา 1x10-3 เซนติเมตร/วินาที
♦ ระบบระบายกาซที่เกิดจากการฝงกลบขยะมูลฝอย
• กาซที่เกิดจากการฝงกลบมูลฝอยจะตองระบายออกดวยทอระบายใน
แนวนอน หรือแนวตั้ง ซึ่งวางหางกันประมาณ 30 – 40 เมตร
♦ การระบายน้ําฝน
• ควรระบายน้ําฝนในพื้นที่ออกสูรางระบายน้ําแบบเปด
♦ ระบบรวบรวมน้ําชะมูลฝอย
• การกอสรางทอรวบรวมน้ําชะมูลฝอยตองสามารถรวบรวม และนําน้ําชะ
มูลฝอยออกจากบอฝงกลบ โดยวางทอรวบรวมลาดลงใหน้ําสามารถไหล
ตามแรงโนมถวงไปยังบอเก็บน้ําชะขยะมูลฝอยหรือบอสูบ
♦ การบําบัดน้ําชะขยะมูลฝอย (Leachate Treatment)
• น้ําชะขยะที่รวบรวมไดตองนําไปผานกระบวนการบําบัดจนไดตาม
มาตรฐานคุณภาพน้ําทิ้ง ดังแสดงในภาคผนวก 6
• การออกแบบระบบบําบัดน้ําชะขยะขึ้นกับปริมาณของน้ําชะขยะ และ
ความเขมขนของ BOD จากน้ําชะขยะ ระบบบําบัดน้ําชะขยะมูลฝอยมี
หลายวิธี เชน ระบบบอผึ่ง ระบบบอเติมอากาศ ระบบตะกอนเรง
ระบบ SBR เปนตน แตระบบที่นิยมใชคือบอผึ่งโดยที่ตัวอยางการ
คํานวณแสดงในหัวขอ 2-7-1 ในภาคผนวก 2

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 12. การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล • 12-6


♦ พื้นที่ฉนวน (Buffer zone)
• จะตองออกแบบพื้นที่ฉนวน โดยรอบอาณาเขตของสถานที่ฝงกลบโดยมี
ระยะหางจากแนวเขตที่ดิน ไมนอยกวา 25 เมตร เพื่อใชประโยชนพนื้ ที่
สําหรับถนน คูระบายน้ํา การปลูกตนไมสลับแถว เพื่อปดกั้นสายตาและ
ลดปญหากลิ่นสูภายนอก
♦ บอตรวจ (Monitoring well)
• ติดตั้งบอติดตามตรวจสอบเพื่อตรวจวัดการรั่วไหลของน้ําชะมูลฝอยลงสู
ชั้นน้ําใตดิน ควรติดตั้งบอตรวจ 2 บอในดานทางลาดเอียงลงของการ
ไหล ของน้ําใต(Downgradient) และอีก 1 บอในดานตนทางของการ
ไหลของน้ําใตดิน(Upgradient)
♦ เครื่องจักรกล
• ประเภท ขนาด และจํานวนของเครื่องจักรกลที่ใชงานในการฝงกลบขยะ
มูลฝอยขึ้นอยูกับปริมาณขยะมูลฝอยที่ตองกําจัดในแตละวัน ประเภทของ
เครื่องจักรกลที่จําเปนตองใชงานประกอบดวย รถดันตีนตะขาบ, รถขุดดิน,
รถบรรทุกน้ํา และรถปคอัพใชงานทั่วไป ควรพิจารณาใชรถบดอัดขยะ
มูลฝอยแบบลอหนาม (Compactor) เมื่อตองฝงกลบขยะมูลฝอยมากกวา
100 ตัน/วัน

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 12. การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล • 12-7


„ โครงสรางของบอตรวจ Monitoring Well

ที่มา : เกณฑ มาตรฐาน และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน, กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี


และสิ่งแวดลอม, 2541

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 12. การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล • 12-8


12-4. การดําเนินงาน

การเตรียมเครื่องจักรกลที่เหมาะสมสําหรับการฝงกลบ

♦ จะตองจัดหาเครื่องจักรกลที่ใชในการฝงกลบใหเหมาะสมกับขนาดของระบบ
ฝงกลบ และสมรรถนะของเครื่องจักร

„ แนวทางในการกําหนดชนิดและปริมาณเครื่องจักรกลที่ตองใชในการดําเนินการฝงกลบมูลฝอย
ปริมาณมูลฝอย เครื่องจักรกล
(ตัน/วัน) จํานวน ชนิด น้ําหนักเครื่องจักรกล อุปกรณประกอบa
(ปอนด)
0-50 1 รถดันตีนตะขาบ 10,000-30,000 ใบมีดดันดิน
Front-end loader
(1 ถึง 2 ลบ.หลา)
ใบมีดดันขยะ
50-150 1 รถดันตีนตะขาบ 30,000-60,000 ใบมีดดันดิน
Front-end loader
(2 ถึง 4 ลบ.หลา)
Bullclam
ใบมีดดันขยะ
1 รถเกลี่ยมูลฝอย หรือรถขุดลาก
1 รถบรรทุกน้ํา
150-300 1-2 รถดันตีนตะขาบ 30,000 + ใบมีดดันดิน
Front-end loader
(2 ถึง 5 ลบ.หลา)
Bullclam
ใบมีดดันขยะ
1 รถเกลี่ยมูลฝอย หรือรถขุดลากb
1 รถบรรทุกน้ํา
300c 1 รถดันตีนตะขาบ 45,000 + ใบมีดดันดิน
Front-end loader
(2 ถึง 5 ลบ.หลา)
Bullclam
ใบมีดดันขยะ
1 รถบดอัดมูลฝอย
1 รถเกลี่ยมูลฝอย หรือรถขุดลากb
1 รถบรรทุกน้ํา
-a รถบดถนน

a
หมายเหตุ : โดยทั่วไปขึน้ กับความตองการใชงานของแตละแหง
b
ทางเลือกระหวางรถเกลี่ยมูลฝอยกับรถขุดลาก ขึ้นกับสภาพของแตละทองถิ่น
c
สําหรับขยะทุก 500 ตัน/วัน ที่เพิ่มขึ้นใหเพิ่มจํานวนเครื่องจักรกลอยางละ 1 ชิ้น

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 12. การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล • 12-9


„ เครื่องจักรกลที่ใชในงานฝงกลบมูลฝอย : (a) รถดันตีนตะขาบ, (b) รถดันตีนตะขาบชนิดใบมีดดันดินใหญ,
(c) รถบดอัดมูลฝอย, (d) รถเกลี่ยมูลฝอย, (e) รถบรรทุกน้ํา และ (f) รถขุดลาก

ที่มา: Integrated Solid Waste Management Engineering Principles and Management Issues, Goerge
Tchobanoglous/ Hilary Theisen Samuel/ A. Vigil, 1993, by McGraw-Hill, Inc.

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 12. การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล • 12-10


„ คุณสมบัติของเครื่องจักรกลตางๆ ที่ใชในงานฝงกลบมูลฝอย
เครื่องจักรกล งานมูลฝอย งานดินฝงกลบมูลฝอย
การแผกระจาย การบดอัด การขุด การแผกระจาย การบดอัด การขนถาย
หรือการเกลี่ย หรือการเกลี่ย
รถดันตีนตะขาบ ดีมาก ดี ดีมาก ดีมาก ดี ใชงานไมได
รถตักตีนตะขาบ ดี ดี ดีมาก ดี ดี ใชงานไมได
รถดันลอยาง ดีมาก ดี พอใช ดี ดี ใชงานไมได
รถตักลอยาง ดี ดี พอใช ดี ดี ใชงานไมได
รถบดอัดมูลฝอย ดีมาก ดีมาก เลว ดี ดีมาก ใชงานไมได
รถเกลี่ย ใชงานไมได ใชงานไมได ดี ดีมาก ใชงานไมได ดีมาก
รถขุดลาก ใชงานไมได ใชงานไมได ดีมาก พอใช ใชงานไมได ใชงานไมได
หมายเหตุ : (1) ฐานการประเมิน: ดินกลบฝงเปนดินที่ทํางานงาย และระยะขนถายดินกลบฝงไมมากเกินกวา
1,000 ฟุต (ประมาณ 300 เมตร)
ที่มา: 1. Integrated solid waste management engineering principles and management issues,
George Tchobanoglous/ Hilary Theisen Samuel/ A. Vigil, 1993 by McGraw-Hill, Inc.
2. สํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ, เอกสารฝกอบรมทางวิชาการเรื่อง “การจัดการ
มูลฝอย” ระหวางวันที่ 19-23 กันยายน 2531 โดยความรวมมือจากกรมการปกครอง
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช และองคการความรวมมือระหวางประเทศแหงญี่ปุน (JICA).
3. Design, Construction, and Monitoring of Landfills, Second Edition, Amalendu Bagchi,
by John Wiley & Sons, Inc.

การบดอัดมูลฝอย และการใชวัสดุกลบทับรายวัน

♦ หลังจากการทําการฝงกลบในแตละวัน ควรมีการกลบทับดวยวัสดุกลบทับ (เชน


ดิน) เพื่อปองกันกลิ่น, แมลง และการปลิวหรือกระจัดกระจายของมูลฝอยที่มี
น้ําหนักเบา เชน ถุงพลาสติก

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 12. การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล • 12-11


„ รูปแสดงชั้นฝงกลบมูลฝอย

ที่มา : เกณฑ มาตรฐาน และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน, กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี


และสิ่งแวดลอม, 2541

ขั้นตอนการปฏิบัตงิ านฝงกลบบนพื้นทีฝ่ ง กลบ


แบงออกเปนขัน้ ตอนยอยได 7 ขั้นตอน ดังนี้

♦ ขั้นตอนที่ 1
• เมื่อรถขนมูลฝอยเทกองมูลฝอยลงสูพื้นที่ฝงกลบแลว รถแทรกเตอรจะ
ทําการเกลี่ยมูลฝอยใหเปนชั้นหนาประมาณ 50 – 60 เซนติเมตร ใหทั่ว
พื้นที่ที่กําหนดใหฝงกลบในแตละวัน โดยทั่วไปการปฏิบัติงานรายวันจะ
บดอัดเซลลใหมีความกวาง 3 – 6 เมตร และมีความสูงประมาณ 2 – 3
เมตร โดยความยาวของเซลลขึ้นกับปริมาณขยะในแตละวัน แลวทําการ
ย้ําใหมูลฝอยที่มีขนาดใหญ เชน ลังไม ถังพลาสติก (ถามี) ใหแตกหัก
ยุบตัวลง แลวทําการบดอัดโดยใชรถแทรกเตอรวิ่งทับบดอัดไปมาอยาง
นอย 5 เที่ยวจนทั่ว มูลฝอยจะมีความหนาแนนของมูลฝอยประมาณ 550
กิโลกรัม/ลูกบาศกเมตร (จากความหนาแนนของมูลฝอยที่ขนสงจากรถ
ขนมูลฝอย ประมาณ 200 กิโลกรัม/ลูกบาศกเมตร) เปนการเสร็จสิ้นการ
ทํางานขั้นแรก

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 12. การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล • 12-12


♦ ขั้นตอนที่ 2
• นําขยะมูลฝอยที่เทกองไวแตยังไมไดเกลี่ยมาทําการเกลี่ยเปนชั้นหนา
50 - 60 เซนติเมตร เหนือชั้นขยะมูลฝอยที่บดอัดไปแลวใหทั่วพื้นที่
และทําการบดอัดในลักษณะเดียวกันจะไดขยะมูลฝอยบดอัดชั้นที่ 2
จากนั้นทําการบดอัดในลักษณะเดียวกันทีละชั้นตามขั้นตอนเดิม จนได
ชั้นขยะมูลฝอยบดอัดที่มีความสูงในแนวดิ่งประมาณ 2–3 เมตร (ตามที่
กําหนด) และควรแตงผิวหนาขยะมูลฝอยบดอัดใหมีความลาดเอียงทํา
มุม 30 องศา ซึ่งปริมาณขยะมูลฝอยที่บดอัดลงบนพื้นที่ที่กําหนด และบด
อั ด ให ไ ด ต ามความสู ง ที่ ต อ งการในแต ล ะวั น จะเท า กั บ ปริ ม าณขยะ
มูลฝอยที่เก็บขนไดตอวัน มูลฝอยที่บดอัดไดในหนึ่งวันจะเรียก วา 1
เซลล (Cell)
♦ ขั้นตอนที่ 3
• เมื่อทําการเกลี่ยและบดอัดขยะมูลฝอยกองสุดทายเสร็จสิ้นแลวในแตละ
วัน ใหทําการกลบทับมูลฝอยดวยดินที่จัดเตรียมไว โดยใชดินกลบทับ
ขยะมูลฝอยที่บดอัดแลวทั้งดานบน และดานขางหนาประมาณ 15
เซนติเมตร แลวบดอัดใหแนนอีกครั้ง เพื่อปองกันกลิ่น และพาหะนําโรค
ดินที่จัดเตรียมไวจะตองขนยายมากองไวในบริเวณใกลพื้นที่ดําเนินงาน
ฝงกลบ หรือในตําแหนงที่รถแทรกเตอรสามารถนําไปใชไดอยางสะดวก
♦ ขั้นตอนที่ 4
• ในวันถัดมาใหทําการเกลี่ย และบดอัดมูลฝอยในลักษณะเดียวกันตาม
ขั้นตอนที่ 1–3 ขนานกับพื้นที่ที่กําหนดตอจากเซลที่ฝงกลบไปแลว
♦ ขั้นตอนที่ 5
• ใหดําเนินการฝงกลบตามขั้นตอนที่ 1– 4 ทําเชนเดียวกันนี้ทุกวันจน
กระทั่งมูลฝอยบดอัดเต็มบอ ซึ่งเปนการเสร็จสิ้นการฝงกลบชั้นที่หนึ่ง
ซึ่งเรียกการฝงกลบในแตละชั้นวา Lift จากนั้นใหทําการกลบทับชั้น
มูลฝอยบดอัดดวยดินหนา 30 เซนติเมตร สําหรับโครงการกําจัดมูลฝอย
แบบฝงกลบตามหลักสุขาภิบาลที่มีการฝงกลบชั้นที่ 2 หรือ 3 สูงขึ้นไป
ผูควบคุมงานจะตองดําเนินการกอสรางคันดินสําหรับการฝงกลบในชั้น
ที่สองลวงหนา กอนที่การฝงกลบในชั้นที่หนึ่งจะเต็ม และควรกอสราง
ตามแบบที่ไดกําหนดไว และควรกอสรางรางระบายน้ําผิวดินควบคูกัน
ไปดวย เพื่อใชในการระบายน้ําที่ไหลจากผิวถนนชั้นบนลงมาตามคันดิน
หรือชั้นมูลฝอยที่กลบทับหนาดวยดินแลวเพื่อระบายออกสูพื้นที่ขางเคียง
โดยตรง และควรปลูกหญาที่ทางลาดดานนอกของคันดิน เพื่อเปนการลด
การกัดกรอนดินของน้ําฝน

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 12. การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล • 12-13


♦ ขั้นตอนที่ 6
• เมื่อกอสรางคันดินสําหรับการฝงกลบมูลฝอยชั้นที่ 2 เสร็จแลว ให
ดําเนินการฝงกลบตามขั้นตอนที่ 1–5 ไปเรื่อย ๆ จนมูลฝอยเต็มทั้งชั้น และ
ถาในแบบรายละเอียดของโครงการมีการฝงกลบชั้นที่ 3 ก็ควรกอสราง
คันดินชั้นที่ 3 ลวงหนา
♦ ขั้นตอนที่ 7
• เมื่อกอสรางคันดินสําหรับการฝงกลบมูลฝอยชั้นที่ 3 แลว ใหดําเนินการ
ฝงกลบตามขั้นตอนที่ 1 – 5 ไปเรื่อย ๆ จนมูลฝอยเต็มทั้งชั้น
♦ การปดทับชั้นฝงกลบชั้นสุดทาย : เมื่อดําเนินการฝงกลบมูลฝอยตามขั้นตอนที่
1–7 จนถึงชั้นฝงกลบสุดทาย ใหทําการกลบทับดวยชั้นดินเหนียวที่มีอัตราการ
ซึมน้ําต่ําหนา 45 เซนติเมตร และกลบทับดวยชั้นดินกลบทับหนา 45 เซนติเมตร
หรืออาจใชแผนพลาสติก HDPE แทนการใชชั้นดินเหนียว แลวกลบทับดวย
ชั้นดินหนา 60 เซนติเมตร ปรับใหดานบนของชั้นดินมีความลาดชันประมาณ
3–6% เพื่อเปนการระบายน้ําออกจากพื้นที่ สวนชั้นดินเหนียวหรือแผนพลาสติก
ใชปองกันน้ําฝนที่ตกลงบนพื้นที่ฝงกลบไมใหซึมลงสูชั้นมูลฝอยดานลึกลงไป
แลวกลายเปนน้ําชะมูลฝอย

„ ขั้นตอนการปฏิบัติงานฝงกลบขยะพื้นที่ฝงกลบ
ขั้นตอนที่ 1

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 12. การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล • 12-14


ขั้นตอนที่ 2

ขั้นตอนที่ 3

ขั้นตอนที่ 4

ขั้นตอนที่ 5

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 12. การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล • 12-15


ขั้นตอนที่ 6

ขั้นตอนที่ 7

ที่มา : คูมือการดําเนินการ และบํารุงรักษา โครงการระบบกําจัดมูลฝอยแบบฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล ภายใต


แผนการใชเงินกู JBIC โครงการกองทุนสิ่งแวดลอมระยะที่ 1, สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม, 2543
หมายเหตุ : ควรระวังไมใหแผน HDPE ดานลางฉีกขาดจากการปฏิบัติงานของรถแทรกเตอร ถาชั้นทราย
รองพื้นเหนือแผน HDPE มีความหนานอยเกินไปควรเสริมความหนาดวยดินหรืออาจใชขยะมูล
ฝอย กอนที่ปฏิบัติงานฝงกลบเหนือแผน HDPE

การสรางทางขึ้นลงพืน้ ที่ฝง กลบ

♦ การสรางทางขึ้นลง : ภายในพื้นที่ฝงกลบมูลฝอยซึ่งมีคันดินลอมรอบจะตอง
กําหนดตําแหนงทางขึ้นลงของรถขนมูลฝอย และรถแทรกเตอร และทําการสราง
ทางขึ้นลงบอฝงกลบโดยอาจใชดินทําเปนทางขึ้นลงเพื่อใหรถขนมูลฝอย รถ
แทรกเตอรลงไปปฏิบัติงานไดสะดวก และยังเปนการปองกันการฉีกขาดของแผน
พลาสติก HDPE ที่ ปูไวอันเนื่องมาจากการทับของลอเหล็กตีนตะขาบดวย

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 12. การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล • 12-16


„ ทางลงสูพื้นที่ฝงกลบมูลฝอย

ที่มา : คูมือการดําเนินงานและบํารุงรักษา โครงการระบบกําจัดมูลฝอยแบบฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล ภายใตแผน


การใชเงินกู JBIC โครงการกองทุนสิ่งแวดลอมระยะที่ 1, สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม, 2543

ตองมีการปองกันการเกิดน้ําทวมภายในบอฝงกลบมูลฝอย

♦ จะตองปองกันการเจือจางของน้ําชะขยะมูลฝอยดวยน้ําฝนที่ไหลนอง น้ําที่ไหล
เขาสูระบบบําบัดน้ําเสียควรเปนน้ําชะมูลฝอยเทานั้น เพื่อใหไดประสิทธิภาพ
ระบบบําบัดน้ําเสียสูงสุด
♦ อาจใชคันดินขนาดหลังดินกวาง 0.5 เมตร ลาดดานขาง 1:1.5 สูง 0.50 เมตรตลอด
ความยาวของบอฝงกลบในการแบงแยกน้ําฝนกับน้ําชะลางขยะมูลฝอย และพื้น
บอฝงกลบถูกออกแบบใหมีความลาดชัน เพื่อชวยเก็บรวบรวมน้ําเสียใหไหลไป
รวมที่ทอรวบรวมน้ําเสียที่ฝงอยูชั้นลางสุด ซึ่งเปนทอเจาะรูและถูกหุมดวย
Geotextile และมีกรวดลอมรอบ ทอมีขนาดเสนผาศูนยกลางไมนอยกวา 4 นิ้ว ซึ่ง
ตอกับทอประธาน การแบงการใชพื้นที่ออกเปน Zone ตามแผนการใชพื้นที่
ตามลําดับกอนหลัง จะชวยแยกน้ําฝนที่ไหลนองและน้ําชะมูลฝอยออกจากกันได

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 12. การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล • 12-17


♦ ขั้นตอนการแบงเขตน้ําฝน และน้ําเสียออกจากกันทําไดโดยการปดกั้นทอบริเวณ
บอตรวจระหวางพื้ นที่ ที่ใ ชงานและพื้น ที่ที่ยังไมไดใชงานดว ยกระสอบทราย
น้ําเสียจากพื้นที่ฝงกลบจะไมสามารถไหลยอน กลับมาสูบอพักน้ําเสียบริเวณจุดที่
ยังไมใชงาน แตน้ําฝนจากบริเวณที่ไมไดทําการฝงกลบจะไหลเขาสูบอพักน้ําเสีย
และสามารถระบายน้ําฝนโดยการใชเครื่องสูบน้ํา สูบน้ําฝนจากบอพักน้ําเสีย
บริเวณจุดปดทอ เพื่อระบายน้ําฝนออกจากบริเวณคันดินของพื้นที่ที่ยังไมได
ฝงกลบตอไป สวนน้ําชะขยะมูลฝอยจะไหลไปสูบอสูบน้ําเสีย และบอบําบัดน้ํา
เสียตามลําดับ ดังแสดงในรูปดานลาง

„ ภาพแสดงการสูบน้ําฝนออกจากบอพักสูรางระบายน้ําฝน โดยใชเครื่องสูบน้ําเคลื่อนที่

ที่มา : บริษัททีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนดแมเนจเมนท จํากัด

„ ภาพแสดงเครื่องสูบน้ําเคลื่อนที่

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 12. การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล • 12-18


การระวังการเกิดไฟไหม

♦ กาซที่เกิดจากการฝงกลบประกอบไปดวยกาซมีเทนซึ่งสามารถติดไฟได ดังนั้นจึง
ควรระวังการเกิดไฟไหม

ควรมีการแยกของเสียอันตราย และขยะติดเชื้อ

♦ ของเสียอันตรายและขยะติดเชื้อจากโรงพยาบาลควรดําเนินการจัดการดวยวิธีอื่น

การทําความเขาใจกับคนคุยขยะ

♦ ควรมีการควบคุมดูแลคนคุยขยะ เนื่องจากคนเหลานั้นอาจจะไดรับอันตรายจาก
การปฏิบัติงานบดอัดขยะหรือจากขยะติดเชื้อ
♦ การทําความเขาใจกับคนคุยขยะเปนสิ่งสําคัญ โดยอาจใชมาตรการตอไปนี้
1. ขึ้นทะเบียนอนุญาตใหเขา-ออกสถานที่
2. จัดระเบียบคนคุยขยะและแนะนําใหไปทํางานนอกสถานที่ฝงกลบ
3. ใหโอกาสประกอบอาชีพอื่น เชน เปนพนักงานคัดแยกขยะในโรงงานคัดแยก
และแปรสภาพวัสดุเพื่อนํากลับมาใชใหม (MRF) หรือเปนพนักงานเก็บขน
ขยะ

ควรมีการปดทับหลุมฝงกลบชั้นสุดทายอยางถูกตอง

1. การปดพื้นที่ฝงกลบจะตองเปนระบบการปดทับที่ไมตองการการดูแลรักษา
มากนัก และจะตองลดการไหลซึมของน้ําฝนลงสูชั้นมูลฝอยบดอัดเบื้องลาง
ซึ่งจะเปนการลดปริมาณน้ําชะขยะมูลฝอยที่จะเกิดขึ้น
2. การปลูกพืชคลุมบนชั้นปดทับชั้นสุดทายเปนวิธีที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการ
ปองกันการเกิดพังทะลายของดิน
3. ควรปรับความลาดชันของชั้นปดทับชั้นสุดทายใหมีความลาดชัน 3–6% เพื่อ
ปองกันการเกิดน้ําขังบนพื้นที่

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 12. การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล • 12-19


„ โครงสรางการปดทับชั้นสุดทาย

ที่มา : เกณฑ มาตรฐาน และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน, กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม, 2541

12-5. การปดสถานีฝงกลบ (Closing Facility)

การใชประโยชนจากบริเวณฝงกลบในชวงสุดทายจะตองมีการ
พิจารณาตัง้ แตชวงแรกของขั้นตอนการออกแบบ

♦ ควรมีการพิจารณาการใชประโยชนของพื้นที่ฝงกลบหลังจากฝงกลบเต็มแลว ตั้งแต
ระยะการตัดสินใจเลือกสถานที่เพื่อที่จะไดใชประโยชนสูงสุด การวางแผนที่ดี
ตั้งแตเริ่มตนจะชวยลดคาใชจายและสามารถใชสถานที่ใหเกิดประโยชนสูงสุด การ
วางแผนจึงเปนสิ่งสําคัญ เนื่องจากในอนาคตอาจมีการกอสรางอาคารบริเวณ
สถานที่ฝงกลบหรือบริเวณใกลเคียง ตอไปนี้เปนการใชประโยชนจากพื้นที่ฝงกลบ
• ทําเปนสวนสาธารณะ
• สถานที่ฟนฟูสภาพสัตวปา
• สนามกอลฟ
• ที่จอดรถ

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 12. การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล • 12-20


12-6. การพิจารณาทางดานสิ่งแวดลอม

ควรมีการพิจารณาทางดานสิง่ แวดลอมอยางระมัดระวัง

♦ การปนเปอนของขยะมูลฝอย : ควรมีการบําบัดน้ําชะมูลฝอยใหไดคุณภาพตาม
มาตรฐานน้ําทิ้งโรงงานอุตสาหกรรมหรือมาตรฐานน้ําทิ้งจากอาคารประเภท ก
♦ การปลิวหรือกระจัดกระจายของขยะมูลฝอย : การใชดินกลบทับทุกวันเปนสิ่ง
สําคัญที่จะชวยปองกันการปลิว หรือการกระจัดกระจายของขยะมูลฝอยที่มีน้ําหนัก
เบา เชน แผนพลาสติก
♦ เสียง : งานที่กอใหเกิดเสียงดัง เชน การบดอัดควรทําในชวงเวลากลางวัน

„ ปจจัยทางสิ่งแวดลอมที่ควรพิจารณา
องคประกอบดาน สภาพ สภาพ สภาพ ม
สิ่งแวดลอม แวดลอม แวดลอม แวดลอม นุ
บรรยากาศ สภาพแวดลอมทางสังคม
ทางน้ํา ทางดิน ทางชีวภาพ ษ
ย

การสาธารณสุ ข
อุ ต สาหกรรม
และเศรษฐกิจ
ปจจัยเกี่ยวกับมนุษย
คุณภาพดิน
คุณภาพน้ํา
อุทกวิทยา

และสุขาภิบาล
พื้นดิน
อากาศ

การใชน้ําและการแบงพื้นที่
การคมนาคมทางบก

สภาพแวดลอมที่ถูกสุขลักษณะ
ความสั่นสะเทือน
มลพิษทางอากาศ

การเกษตรและปาไม
การปนเปอนของดิน
การปนเปอนของน้ํา
ระบบน้ําใตดิน

ปจจัยที่เกี่ยวของ
กลิ่นรบกวน

พื้นที่สีเขียว
โรคระบาด
การประมง

กับสิ่งแวดลอม/
สัตวน้ํา
ชุมชน
เสียง

สัตว

รายการ
พืช

การมีโครงการ { {
การมีโครงการ

การย อ ยสลายและการ
สลายตัวของขยะมูลฝอย, { { { ~ { { { { { { { {
การบําบัดน้ําชะขยะ
การขนสงขยะมูลฝอย { { { { {
ขั้นตอนการดําเนินงาน

การดําเนินการฝงกลบ ~ { {

การยอ ยสลายและการ
{ { { { { {
สลายตัวของขยะ
การบําบัดน้ําขยะ { { ~ { { { { {

ที่มา : Japan Bank for International Cooperation (JBIC); “A Guide to Preparing an Environmental
Impact Assessment (Waste Disposal Sector)”, March 1996.
หมายเหตุ : หัวขอที่มีสัญลักษณ ~ ควรพิจารณาดานสิ่งแวดลอมทุกกรณี, หัวขอที่มีสัญลักษณ { ควรพิจารณาหากมี
ความจําเปน

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 12. การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล • 12-21


12-7. การติดตามตรวจสอบ
การติดตามตรวจสอบเปนสิ่งจําเปน

♦ การติดตามตรวจสอบการดําเนินงานระบบฝงกลบมูลฝอยจะชวยประหยัดคาใชจายและยังชวย
ลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม และควรบันทึกขอมูลเปนประจํา

„รายการที่ควรติดตามตรวจสอบในการดําเนินการฝงกลบมูลฝอย
การดําเนินงานฝงกลบขยะมูลฝอย
ปริมาณขยะทั้งหมดในรอบการตรวจสอบ (ตัน) ตัน (ตอคนตอวัน) (กิโลกรัม/คน/วัน)
ดินกลบรายวัน (Daily Cover) 1 ทุกวัน 2 สัปดาหละครั้ง 3 บางครั้ง
4 อื่น ๆ ( )
น้ําทวมที่เกิดจากพื้นที่ฝงกลบ จํานวนครั้งที่ทวม ครั้ง
ไฟไหม จํานวนครั้งที่มีเหตุการณไฟไหม ครั้ง

สิ่งแวดลอม
การบําบัดน้ําชะขยะมูลฝอย คุณภาพน้ําเขาระบบบําบัดน้ําเสีย คุณภาพน้ําออกจากระบบบําบัด
พารามิเตอร 1
พารามิเตอร 2
พารามิเตอร 3
พารามิเตอร 4
พารามิเตอร 5
สรุป
บอตรวจ บอตําแหนงเหนือน้ํา บอที่ 1 บอที่ 2 บอที่ 3
พารามิเตอร 1
พารามิเตอร 2
พารามิเตอร 3
พารามิเตอร 4
พารามิเตอร 5
สรุป
การรองเรียนจากประชาชนรอบพื้นที่ จํานวนครั้งของการรองเรียน ครั้ง
สรุปเรื่องการรองเรียน
(1 )
(2 )
(3 )
(4 )
(5 )
การประชุมรวมกับกลุมที่เกี่ยวของ จํานวนสมาชิก จํานวนครั้งของการประชุม สรุปการประชุม
กลุม 1
กลุม 2
กลุม 3

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 12. การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล • 12-22


13. โครงการอื่น ๆ
13-1. การหมักทําปุย (Composting)
องคประกอบสวนใหญของขยะมูลฝอยจากชุมชนเปนสารอินทรีย ซึ่งจะทําใหเกิดกาซมีเทนที่
ติดไฟไดจากขบวนการยอยสลายแบบไรอากาศภายในบอฝงกลบ การหมักปุยจะทําใหปริมาณ
สาร อินทรียลดลงและยังสามารถนําไปผลิตปุย ซึ่งสามารถนําไปใชในการเกษตรกรรมได แต
เนื่องจากปุยจากขยะมูลฝอยมักจะถูกกองทิ้งไวโดยไรประโยชน เกษตรกรไมนิยมใชเนื่องจาก
ความกังวลเรื่องคุณภาพของปุย ดังนั้นการดําเนินการหมักปุยจะตองทําใหเปนระบบที่มีคุณภาพ
ซึ่งจะทําใหมีผูใชปุยนี้มากขึ้น เกษตรกรเปนผูใชปุยรายใหญตองการปุยที่มีคุณภาพที่แนนอน ซึ่ง
การผลิตปุยที่มีคุณภาพสูงนั้นเปนสิ่งที่ทําไดคอนขางยาก ดังนั้นอันดับแรกในการพิจารณาวิธี
จั ด การขยะมู ล ฝอย จึ ง ควรใหความสํ าคัญ กับ การกอ สรา งระบบฝง กลบมูลฝอยอย า งถู ก หลั ก
สุขาภิบาลกอน ในคูมือนี้กลาวถึงปจจัยที่ควรพิจารณาอยางคราวๆ ในการวางแผนการทําปุยหมัก

ปจจัยทางเทคนิค

การทําปุยหมักมีเทคนิคหลายประการ
• เทคโนโลยีการหมักปุยมีหลายวิธี แตทุกวิธีมีหลักสําคัญที่เหมือนกัน คือ
ใชกระบวนการหมัก
• ระบบการหมักประกอบไปดวยขบวนการทางกลศาสตร และขบวนการทาง
ชีววิทยา เชน กระบวนการหมัก การรอนปุยและกระบวนการบม
• ระยะเวลาของการหมัก
การหมักมี 2 ระยะ ในระยะแรกตองใชเวลาประมาณ 3 สัปดาห ระยะที่ 2 ตอง
ใชเวลามากกวา 60 วัน

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 13. โครงการอื่น ๆ • 13-1


„ ภาพแสดงกระบวนการหมักปุย

มูลฝอยอินทรีย การหมัก

อากาศ
สารปรับความชืน้ การเก็บรักษา
ปุย

♦ อัตราการหมักปุย
• ปริมาณของปุยที่หมักไดขึ้นอยูกับคุณภาพของขยะมูลฝอยที่ใช โดยเฉพาะ
ปริมาณความชื้นในขยะมูลฝอย (Moisture Content)
• อัตราการผลิตปุยจากการหมักโดยทั่วไป จะอยูในชวง 10% ถึง 30% ของ
ปริมาณขยะมูลฝอยที่เก็บรวบรวมได
♦ การรักษาสภาวะที่มีอากาศในการหมัก
• การรักษาสภาวะที่มีอากาศเปนสิ่งที่สําคัญ เพราะจะทําใหเกิดการหมักที่ดี
การหมักแบบใชอากาศจะเกี่ยวของกับปจจัยหลายประการ แตปจจัยที่สําคัญ
ที่สุด คือ ความชื้น ถามีความชื้นมากเกินไปจะทําใหเกิดสภาวะหมักแบบไร
อากาศ ซึ่งจะทําใหเกิดกลิ่นเหม็น ดังนั้นการหมักจึงตองอยูภายในอาคารเพื่อ
ปองกันฝนในฤดูฝน
• เพื่อที่จะลดปริมาณความชื้นของมูลฝอยอินทรีย จําเปนตองใชวัสดุผสมเพื่อ
ปรับความชื้น เชน ใชแกลบหรือปุยที่หมักเสร็จแลวผสมในการหมัก โดยใช
ปุยเปนวัสดุปรับความชื้นจะไดประสิทธิภาพสูง เนื่องจากปุยจะเปนแหลงที่
ใหจุลินทรียในกระบวนการหมัก

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 13. โครงการอื่น ๆ • 13-2


„ สภาวะที่เอื้ออํานวยตอการหมักปุย
องคประกอบ สภาวะที่เอื้ออํานวยตอการหมักปุย
C/N ในขยะ 30-35
ขนาดของสารตางๆ ในขยะ 0.5-1.5 นิ้ว
ความชื้น 50 – 60 %
ปริมาณอากาศ 10 – 30 ลูกบาศกฟุต/วัน/ปอนด
อุณหภูมิสูงสุด 55 องศาเซลเซียส

ที่มา : เอกสารชุดคูมือการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการ เพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมระดับจังหวัด เลมที่ 8;


การจัดการมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล, สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม

การพิจารณาดานสิ่งแวดลอมก็สําคัญ
• ถึงแมวาการหมักทําปุยจะเปนเทคโนโลยีที่ใหคุณคาตอสิ่งแวดลอม แตก็ทําให
เกิดกลิ่นเหม็นได ถากระบวนการหมักอยูในสภาวะที่ไมเหมาะสม ดังนัน้ ในการ
เลือกสถานที่ตั้งโรงงานหมักปุยจึงควรพิจารณาพื้นที่ที่มีความเหมาะสม
• ในเรื่องคุณภาพของปุย จะตองพิจารณาเรื่องการปนเปอนของโลหะหนักจาก
ขยะมูลฝอยดวย

ปจจัยทางสังคม

♦ แหลงกําเนิดขยะมูลฝอยเปาหมาย
• ผูที่กอใหเกิดขยะมูลฝอยอินทรียเปนจํานวนมากเชน ผูประกอบการภัตตาคาร
รานอาหาร และโรงแรม ซึ่งกลุมเหลานี้ถือวาเปนเปาหมายของโครงการ
♦ ความตองการใชปุย
• ความสําเร็จของโครงการคือ การที่มีตลาดปุยที่แนนอน ดังนั้นผูที่วางแผนงาน
ควรศึกษาถึงสภาวะของตลาดปุยและคุณสมบัติของปุยที่ตองการ
♦ การติดตอสื่อสารกับเกษตรกร
• การติดตอสื่อสารกับเกษตรกรจะทําใหเกิดชองทางทางการตลาดของปุย

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 13. โครงการอื่น ๆ • 13-3


13-2. การเผาในเตาเผา

การกําจัดขยะมูลฝอยโดยการใชเตาเผา เปนวิธีการกําจัดขยะมูลฝอยที่มีประสิทธิภาพดีมากในการ
ลดปริมาณขยะมูลฝอยที่จะนําไปฝงกลบได แตในขณะเดียวกันก็ยังเปนเทคโนโลยีที่ยังเปนที่
ถก เถียงในดานสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะอยางยิ่งการเกิดไดออกซิน (dioxin) ซึ่งไดกลายเปนปญหา
ทางสังคมที่สําคัญทั่วโลก ดังนั้นการวางแผนสรางโรงงานเผาขยะจึงตองคํานึงถึงประเด็นในดาน
ตางๆ อยางรอบคอบ ในบทนี้จะกลาวถึงปจจัยที่ควรคํานึงในการวางแผนโรงงานเผาขยะ

ปจจัยทางเทคนิค

♦ กระบวนการเผาขยะ
• มีเทคโนโลยีเกี่ยวกับการเผาในเตาเผาหลายอยาง แตองคประกอบหลักของ
ระบบ คือ เตาเผาขยะ หมอตมน้ํา (boiler) และระบบบําบัดกาซ
• กรณีที่ขยะมูลฝอยมีแคลอรีต่ําเกินไป เชน ประมาณ 1,000 kcal/Kg จะทําให
เตาเผาไมสามารถทํางานไดดี เนื่องจากความรอนที่เกิดขึ้นจากขยะมูลฝอยนั้น
ไมสามารถเผาไหมมูลฝอยเองทั้งหมด จําเปนตองใชเชื้อเพลิงอื่นชวย
♦ ปจจัยดานสิ่งแวดลอม
• เตาเผาไมสามารถกําจัดขยะใหหายไปหมด เพียงแตเปลี่ยนขยะมูลฝอยเปน
กาซ และเถา
• กาซจากเตาเผาสวนมากประกอบไปดวยไอน้ํา, คารบอนไดออกไซด (CO2),
ออกไซดของไนโตรเจน (Nox), ออกไซดของซัลเฟอร (SOx), ไฮโดรคลอริค
แอซิด (HCl) และโลหะหนัก องคประกอบเปนกรด เชน ออกไซดของ
ไนโตรเจน(NOx) และ ออกไซดของซัลเฟอร (SOx) และโลหะหนัก ควรมีการ
บําบัดใหไดคาตามมาตรฐานกอนปลอยทิ้ง
• เมื่ อ ไม น านมานี้ ทั่ ว โลกได มี ก ารกล า วถึ ง มาตรการลดการปล อ ยก า ซ
คารบอนไดออกไซด (CO2) เพื่อปองกันการเกิดสภาวะโลกรอน
♦ ไดออกซิน (Dioxin)
• ไดออกซินเปนสารประกอบคลอรีนอินทรียมีอันตรายตอสุขภาพ ซึ่งเกิดจาก
ปฏิกิริยาเคมี จากการเผาไหม จะพบอยูทั้งในกาซและเถา
• ควรมีการดําเนินการปองกันการเกิด และปลดปลอยสารไดออกซิน ทั้งในชวง
กอสรางและชวงการเดินระบบ ในการกอสรางควรมีการติดตั้งอุปกรณในการ

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 13. โครงการอื่น ๆ • 13-4


กําจัดไดออกซิน และติดตั้งอุปกรณกําจัดเถาที่ปนอยูในกาซ เชน ถุงกรอง
และควรสรางเตาเผาใหมีขนาดใหญ สวนในขั้นตอนการเดินระบบอาจจะ
ปองกันโดยการควบคุมการสันดาปและควบคุมอุณหภูมิของกาซ

„ ภาพแสดงโรงงานเผาขยะมูลฝอย

1. บอรับมู ลฝอย (Receiving Pit) 6. ตัวแลกเปลี่ยนความรอน (Heat Exchanger)


2. ปนจั่นยกขยะ (Charging Crane) 7. ถุงกรองกําจัดกาซ (Acid Gas Spray Dry Scrubber)
3. กรวยสําหรับป อนขยะ (Feed Hopper) 8. เครื่องดักฝุน (Particulate Collection)
4. แผงตะกรับเคลื่อนยายมูลฝอย (Grate System) 9. ปลองระบายควัน (Stack)
5. เครื่องกําเนิ ดไฟฟาจากไอน้ํา (Steam Generator) 10. การกําจัดเถา (Ash Quench/ Removal)

ที่มา : Combustion Engineering, Inc.; “Windsor, Connecticut, 1990. Inc”, reprinted by United States Environmental
Protection Agency, “Decision-Makers’ Guide To Solid Waste Management, Volume II”, August 1995

♦ ระบบบําบัดเถา
• เถาที่เกิดจากการเผาขยะมูลฝอยมี 2 ประเภทคือ เถาหนัก (Bottom ash) และ
เถาลอย (Fly ash) เถาเหลานี้จะถูกนําไปกําจัดโดยการฝงกลบ
• สําหรับเถาลอยจะมีโลหะหนักและไดออกซินปนอยู ดังนั้น การกําจัดเถาลอย
ควรทําอยางระมัดระวัง อาจจะนําไปทําใหเปนแทงแข็งโดยการผสมกับ
ซี เ มนต ค อนกรี ต แล ว นํ า ไปฝ ง กลบแบบนิ ร ภั ย เพื่ อ ป อ งกั น การรั่ ว ไหลสู
สิ่งแวดลอม

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 13. โครงการอื่น ๆ • 13-5


♦ การนําพลังงานกลับมาใช (energy recovery)
• โรงงานเผาขยะจะทําใหเกิดพลังงาน ซึ่งสามารถใชผลิตไฟฟา และไอน้ําได
ถามีการติดตั้งอุปกรณในการนําพลังงานกลับมาใช
♦ ขยะมูลฝอยจากโรงพยาบาล
• เตาเผาขยะเปนวิธีที่มีประสิทธิภาพ และชวยทําใหเกิดความปลอดภัยจากขยะ
มูลฝอยติดเชื้อจากโรงพยาบาล

ปจจัยทางสังคม

♦ การเลือกพื้นที่
• การเลือกพื้นที่ตั้งโรงงานเผาขยะมูลฝอย ยังคงเปนปญหาที่มีความขัดแยงกัน
อยางมากสําหรับระบบการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน
1. เตาเผามักจะถูกมองวาเปนวิธีการที่ขัดแยงกับหลักการรีไซเคิล ดังนั้นผูที่วาง
แผนควรศึกษาและคํานึงถึงเทคโนโลยีที่เปนทางเลือกแบบอื่นดวย การ
ออกแบบขนาดโรงงานเผาขยะมูลฝอยนั้นควรพิจารณาถึงกิจกรรมที่ทําให
ปริมาณขยะมูลฝอยลดลงดวย เชน การรีไซเคิล
2. การตอบคําถามที่วา “ทําไมจึงตองสรางที่นี่” เปนสิ่งสําคัญ ดังนั้นผูที่วางแผน
ควรหาสถานที่ที่เปนทางเลือกไวหลายบริเวณ
3. การประเมินมลพิษทางอากาศที่เกิดขึ้น ความเสี่ยงตอชุมชนและผูที่อยู
ใกลเคียงนั้นเปนสิ่งสําคัญ ถึงแมวาจะอยูในระยะดําเนินการแลวก็ตาม ก็ยังคง
ตองใหความสําคัญ
♦ ประเด็นดานเศรษฐศาสตรและการเงิน
• ถึงแมวาคาใชจายในการกอสราง และดําเนินการของโรงงานเผาขยะมูลฝอย
คอนขางสูง แตโรงงานเผาขยะมูลฝอยก็ยังชวยลดคาใชจายที่ตองใชเพื่อการ
ฝงกลบ เชน คาใชจายในการซื้อที่ดินที่นอยกวา เปนตน
• ผูที่ ว างแผนควรศึก ษาและพิจ ารณาอยางรอบคอบถึ งความเป น ไปได ท าง
การเงินของโรงงานเผาขยะมูลฝอย

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น 13. โครงการอื่น ๆ • 13-6


ภาคผนวก
ภาคผนวก 1
กระบวนการพัฒนาโครงการ
ภาคผนวก 1.
กระบวนการพัฒนาโครงการ

■ กระบวนการพัฒนาโครงการ

ขั้นตอนของโครงการ การมีสวนรวมของประชาชน การวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม

กอนจัดทําโครงการ

การมีสวนรวมในโครงการนํารอง

การกําหนดโครงการ

ทางเลือกของสถานที่ตั้งโครงการ
การมีสวนรวมในการเลือก การวางขอบเขตการศึกษา
สถานที่ตั้งโครงการ
การศึกษาความเหมาะสม การวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม
(EIA) และวางแผนจัดการโครงการ

การออกแบบรายละเอียด การติดตอสื่อสารกับชุมชน การลดผลกระทบสิ่งแวดลอม

สผ. และ JBIC เห็นชอบ

ดําเนินโครงการ

ติดตามตรวจสอบผลและเตรียมรายงานการติดตามตรวจสอบ
ดําเนินงานและบํารุงรักษาระบบ

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองทองถิ่น ภาคผนวก 1.ขบวนการพัฒนาโครงการ • ผ 1-1


ภาคผนวก 2
รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค
ภาคผนวก 2
รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค
2-1. การวางแผนงานโดยรวม (Comprehensive Planning)
2-1-1. ปริมาณขยะมูลฝอยชุมชน
♦ ผูที่วางแผนควรทําการหาน้ําหนักขยะมูลฝอยชุมชนหลาย ๆ ครั้งตลอดป โดยใช
เครื่องชั่งน้ําหนักสําหรับรถขนาดใหญ (ถาเปนไปไดควรทําการเก็บตัวอยางมูลฝอย
อยางนอย 2 ครั้งตอป คือในชวงฤดูฝนและชวงฤดูแลง) และดําเนินการทําตามขั้นตอน
ตอไปนี้
1. เลือกชวงเวลาเก็บรวบรวมขอมูลโดยพิจารณาตามฤดูกาล
• การเก็บรวบรวมขอมูลควรทําหลาย ๆ ครั้งควรเก็บใหได 2 ครั้ง เปนอยางนอย
• ควรเก็บขอมูลใหครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด อยางนอยที่สุดควรทําใหได 1 ครั้ง
หรือถาทําไดมากกวานั้นก็จะเปนสิ่งที่ดี
2. ชั่งน้ําหนักรถที่บรรทุกขยะมูลฝอย โดยทําการชั่งทั้งคันรถ
• ควรชั่งน้ําหนักรถบรรทุกขยะทุกคันถาเปนไปได แตถาไมสามารถชั่งไดครบ
ทุกคันใหเลือกชั่งเปนบางคัน สําหรับรถคันที่เลือกมาชั่งน้ําหนักควรทราบ
จํานวนประชากรที่ไดรับบริการ เพื่อนํามาวิเคราะหหาอัตราการผลิตมูลฝอย
ของประชากรตอไป ในกรณีนี้ตองพิจารณาอัตราสวนของปริมาณมูลฝอยจาก
แหลงธุรกิจการคาดวย
• กรณีที่ไมมีเครื่องชั่งน้ําหนักรถ ใหนับจํานวนรถเก็บขยะมูลฝอยทั้งหมดแลว
จึงแปลงไปเปนปริมาณขยะมูลฝอย โดยพิจารณาที่ความจุของแตละคัน อยาใช
น้ําหนั กบรรทุก สูงสุดเปนความจุ ของรถควรใหใช ปริมาณการบรรทุ กจริง
เนื่องจากรถบรรทุกขนาด 2 ตันจะไมสามารถบรรทุกขยะมูลฝอยได 2 ตัน จึง
ควรพิจารณาอัตราการบรรทุกประกอบการคํานวณดวย การเปลี่ยนปริมาณ
ความจุของขยะมูลฝอยในรถไปเปนน้ําหนักแสดงไดดังสมการตอไปนี้
W = ∑ V(i)*k(i)*r(i)
โดยที่ W = น้ําหนักขยะมูลฝอยในชวงเวลาที่เก็บขอมูล
∑ = ผลรวมสําหรับการบรรทุกทั้งหมด
V(i) = ความจุของตัวถังที่ใชบรรทุกขยะมูลฝอยของรถเก็บขยะ
มูลฝอยคันที่ i (ม.3)

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-1


k(i) = อัตราการบรรทุกของรถที่ใชบรรทุกขยะมูลฝอยคันที่ i
โดยที่ k(i) = 1.0 ในกรณีบรรทุกเต็ม, ในกรณีที่บรรทุกไมเต็ม
ตองประมาณการอัตราสวนการบรรทุก
r(i) = ความหนาแนนของขยะมูลฝอยที่บรรทุกของรถเก็บขยะ
มูลฝอยคันที่ i (ตัน/ม.3)
3. คํานวณหาอัตราการผลิตขยะมูลฝอยของประชากร (กิโลกรัม/คน/วัน)
♦ ขยะมูลฝอยอื่น ๆ ควรจะตองพิจารณาหาปริมาณดวย
• พิจารณากิจกรรมของคนเก็บขยะ : ถาคนเก็บขยะทําการแยกขยะมูลฝอยที่
สามารถรีไซเคิลไดก็ควรตองพิจารณาปริมาณขยะมูลฝอยดังกลาวดวยเพราะ
ขยะมูลฝอยเหลานี้เปนขยะมูลฝอยที่แฝงอยูซึ่งควรจะนํามาพิจารณาดวย
• พิจารณาขยะมูลฝอยอื่นนอกเหนือจากขยะมูลฝอยชุมชน เชน ขยะอันตราย, ขยะ
มูลฝอยติดเชื้อ และขยะมูลฝอยจากอุตสาหกรรม ควรนํามาพิจารณาหาปริมาณ
ของขยะมูลฝอยดวย ถาขยะมูลฝอยเหลานี้รวมอยูในขยะมูลฝอยชุมชนจะตองทํา
การแยกออกจากกัน

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-2


„ ตัวอยางการคํานวณหาอัตราการผลิตขยะมูลฝอยชุมชน
วันที่ หมายเลข ปริมาตร อัตราการ ความหนา ปริมาณของ
รถ (ม.3) บรรทุก แนนของ ขยะมูลฝอย
ขยะมูลฝอย (ตัน)
(ตัน/ลบ.ม.)
(v) (k) (r) (a)=(v)*(k)*(r)
1 ต.ค. 2524 8 0.8 0.3 1.9
จันทร 2524 8 0.9 0.3 2.2
2524 8 0.4 0.3 1.0
5534 6 0.7 0.4 1.7
5534 6 0.8 0.4 1.9
5534 6 0.7 0.4 1.7
5534 6 0.3 0.4 0.7
2 ต.ค. 2524 8 1.0 0.3 2.4
อังคาร 2524 8 0.9 0.3 2.2
2524 8 0.8 0.3 1.9
2524 8 0.5 0.3 1.2
5534 6 0.9 0.4 2.2 ขยะมูลฝอย จํานวน อัตรา
5534 6 0.8 0.4 1.9 ที่ ประชากรที่ การผลิตขยะ
5534 6 0.8 0.4 1.9 เก็บขนได ไดรับบริการ
3 ต.ค. 2524 8 1.0 0.3 2.4 ทั้งหมด เก็บขน
พุธ 2524 8 0.7 0.3 1.7 (ตัน) (คน) (กรัม/คน/วัน)
5534 6 0.9 0.4 2.2
(b)=∑(a) (C) (d)=(b)/(c)/3 วัน
5534 6 0.6 0.4 1.4 32.4 14,000 771

* ตัวอยางนี้แสดงขอมูลเพียง 3 วัน แตในการวิเคราะหขอมูลที่แทจริง การเก็บขอมูลเพียง 3 วัน นับวานอยเกินไป


** เมื่อหาน้ําหนักขยะมูลฝอยโดยใชการชั่งน้ําหนักทั้งคันรถเรียบรอยแลว การคํานวณจึงเริ่มจากผลรวมของปริมาณ
ของขยะมูลฝอย (a)

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-3


2-1-2. การคาดการณปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนในอนาคต

♦ ปริมาณขยะมูลฝอยแตละวันในอนาคต สามารถประมาณไดจากขั้นตอนตอไปนี้ :
1. ประมาณอัตราการผลิตขยะมูลฝอยในอนาคต
• สามารถคาดคะเนปริมาณขยะมูลฝอยในอนาคตไดโดยการกําหนดอัตราการ
เติบโต (growth rate) ซึ่งอัตราการเติบโตจะตองพิจารณาจากปจจัยตาง ๆ ที่
เกี่ยวของกับสถานการณในอนาคตภายในพื้นที่นั้น บางครั้งอัตราการเติบโต
อาจใชอัตราการเติบโตของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) แตจะตอง
คํานึงอยูเสมอวาการประมาณนี้เปนการประมาณอยางหยาบ ดังนั้น ควรจะมี
การตรวจสอบผลโดยใชกราฟ
• ถาหากมีขอมูลอัตราการผลิตขยะยอนหลังมากกวา 5 ป ควรใชวิธีการศึกษา
แนวโนม (Trend method) ซึ่งจะกลาวอยางยอ ๆ ตอไป
2. การประมาณจํานวนประชากรในอนาคต
• สามารถใชขอมูลการประมาณจํานวนประชากรในอนาคตจากหนวยงานอื่นๆ
ในทองถิ่น
• ถาขอมูลของหนวยงานอื่นไมมีหรือไมนาเชื่อถือ ควรจะทําการประมาณดวย
ตนเอง เชน การใชวิธีศึกษาแนวโนม (trend method)
3. ประมาณจํานวนขยะมูลฝอยในอนาคต
• ปริมาณขยะมูลฝอยในอนาคตในปที่ i สามารถคํานวณไดจากผลคูณระหวาง
จํานวนประชากรในอนาคต และอัตราการผลิตขยะมูลฝอยของประชากรใน
อนาคตในปที่ i
♦ วิธีศึกษาแนวโนม (Trend method)
• สมการที่ใชวิธีศึกษาแนวโนม มีลักษณะดังนี้ คือ
V = a+b*t
โดยที่ V คือ คาเปาหมาย เชน ปริมาณขยะมูลฝอยหรือจํานวนประชากร
t คือ ป
a, b คือ พารามิเตอรที่ใชวัดในการศึกษาแนวโนม
• การประมาณคา a, b ที่เหมาะสมโดยใชวิธีทางสถิตินี้รูจักกันดีคือ Least
square Approximation

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-4


2-1-3. การวิเคราะหองคประกอบของขยะมูลฝอย

♦ การวิเคราะหองคประกอบเพือ่ บงบอกลักษณะของขยะมูลฝอยชุมชน
• ควรทําไดหลาย ๆ ครั้ง อยางนอยที่สุด 2 ครั้งตอป ตามฤดูกาล
• ภายใน 1 วัน สามารถวิเคราะหได 3 ตัวอยาง ดังนั้นควรเก็บตัวอยางจํานวน
15 ตัวอยาง โดยใชเวลาวิเคราะห 5 วัน
• ควรทําการวิเคราะหมากกวา 5 หรือ 6 ตัวอยาง
♦ การเก็บตัวอยาง
• ประมาณ 200 กิโลกรัมตอ1 ตัวอยาง
♦ สถานที่สําหรับสุมตัวอยางที่เหมาะสม
• จะตองใชพื้นที่มากกวา 50 ตร.ม. ตอหนึ่งตัวอยาง
• จะตองนําไปทิ้งไดงายหลังจากการวิเคราะหองคประกอบแลว
• จะตองคํานึงถึงเรื่องกลิ่นจากขยะ
♦ ขั้นตอนในการวิเคราะหองคประกอบของขยะมูลฝอย มีดังตอไปนี้
1. กระจายตัวอยางขยะใหแผกระจายบนแผนพลาสติก
2. แบงขยะออกเปน 4 กอง เทา ๆ กัน (Quartering)
3. เลือกตัวอยาง 2 สวนที่กองอยูตรงขามกันมาคลุกเคลากันและคัดออกเปน
สัดสวน 50:50 และทําซ้ําตามขอ 2 และขอ 3 จนเหลือขยะประมาณ 50 กก.
แลวทําการคัดแยกองคประกอบทางกายภาพ
4. แยกขยะมูลฝอยตามแบบบันทึกขอมูลที่ให
5. นําขยะมูลฝอยที่แยกแตละองคประกอบแลวใสลงในถังแยก
6. ชั่งขยะมูลฝอยที่แยกประเภทแลว
7. บันทึกน้ําหนักและปริมาตร

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-5


„ ตารางแสดงตัวอยางแบบบันทึกขอมูล
องคประกอบขยะมูลฝอย น้ําหนัก (กก.) ปริมาตร (ลิตร)
ขยะมูลฝอย
เศษอาหาร
กระดาษที่รีไซเคิลไมได
พลาสติกที่รีไซเคิลไมได
เสนใยที่รีไซเคิลไมได
เศษหญาและไม
แบตเตอรี่
หลอดไฟฟลูออเรสเซนท
อื่น ๆ
ขยะมูลฝอยที่รีไซเคิลได
กระดาษ
กระดาษลูกฟูก
ขวดพลาสติกทําจาก PET
พลาสติกอื่น ๆ
เสนใย
กระปองเหล็ก
ขวดแกว
เหล็กอื่น ๆ
กระปองอลูมิเนียม
อลูมิเนียมอื่น ๆ

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-6


„ เครื่องมือที่ใชวิเคราะหองคประกอบของขยะมูลฝอย
เครื่องมือ จํานวน การใชงาน
ผาใบพลาสติกปูพื้นผืนใหญ 1 ปูพื้น
พลั่ว 3 ผสมและแยกขยะมูลฝอย
ถุงมือ 15 ปองกันมือจากการคัดแยกองคประกอบ
คนงาน 7 (ตอวัน)
ปายชื่อ 15 แสดงองคประกอบของขยะ เพื่อการบันทึกภาพ
ถัง 15 บรรจุสิ่งของที่ตองการแยก
สายวัด 1 วัดปริมาตรของตัวอยางมูลฝอย
ตาชั่ง 2 ชั่งน้ําหนักตัวอยางมูลฝอย
กลอง 1 บันทึกภาพ
รถขนขยะ 1 หรือ 2 คัน เก็บรวบรวมขยะมูลฝอยตัวอยาง และขนสงไปทิ้งหลังจากวิเคราะห
เสร็จสิ้นแลว

„ ภาพแสดงการวิเคราะหองคประกอบขยะ (ซาย : เปนการแยกขยะมูลฝอย, ขวา : การชั่งน้ําหนัก)

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-7


2-2. การใหความรูดานสิ่งแวดลอม

2-2-1. เทคนิคการใหความรูดานสิ่งแวดลอมแกประชาชน

ƒ เทคนิคการประชาสัมพันธ
เทคนิค วิธีการ ขอดี ขอเสีย
1. สรุปโครงการใหฟง - เขาเยี่ยม หรือโทรศัพทไปหา - มี โ อกาสให ข อ มู ล พื้ น ฐาน - ตองใชเวลานาน
โดยยอ ผูนํากลุม หรือบุคลากรหลัก และหาผลตอบสนองกอนที่
(Briefings) เพื่ อแจ งผลการตั ดสิ นใจใน จะแจงแกสาธารณชน และ
โครงการ เปนการใหขอมูล เปนการกระตุนบุคลากรหลัก
พื้นฐาน หรือตอบคําถาม ถึงประเด็นที่จะมีผลกระทบ
ตอพวกเขา
2. ประชาสัมพันธ - ชี้แจงผลการศึกษาหาสถาน - มี โ อกาสให ข อมู ลอย าง - หนั งสื อพิ มพ จะเสนอเรื่ อง
โ ค ร ง ก า ร โ ด ย ที่ตั้งโครงการอยางละเอียด ละเอียด เพื่อกระตุนความ ราวตามที่ผูสื่อขาวเห็น และ
ละเอียดผานสื่อ โดยตีพิมพในหนังสือพิมพ สนใจใหมารวมกันพิจารณา หน วยงานเจ าของโครงการ
(Feature Stories) ห รื อ ผ า น สื่ อ วิ ท ยุ แ ล ะ หา สถานที่ ตั้ งโครงการ ไม สามารถควบคุ มวิ ธี ก าร
โทรทัศน โดยเฉพาะในขั้ นตอนหลั ก นําเสนอขาว
เชน การประเมินทางเลือก
และการตัดสินใจเลือกสถาน
ที่ ตั้ งโครงการ โดยการ
ประชาสัมพันธผานสื่อ เพื่อ
ดึ งดู ดความสนใจก อนการ
ประชุมจริงกับประชาชน
3.ส ง รายงานหลั ก ทาง - สงรายงานการศึกษาทาง ดาน - การใหขอมูลรายละเอียดแก - เสียคาใชจายในการพิมพและ
ดานเทคนิค และเอก เทคนิค และเอกสารทางดาน บุ ค คลที่ ใ ห ค วามสนใจกั บ จัดสงทางไปรษณีย โดยผูรับ
สารด านสิ่ งแวดล อ ม สิ่งแวดลอมทางไปรษณียไป โครงการมากมั ก จะเพิ่ ม บางคนอาจไมไดอานรายงาน
ทางไปรษณีย ยังองคกรตางๆหรือผูนํากลุม ค ว า ม น า เ ชื่ อ ถื อ ใ ห กั บ เลย
(Mailing out key ตาง ๆ หรือผูสนใจอื่น ๆ การศึ ก ษาของโครงการ
technical reports or เพราะสรางความกระจางได
environment
อยางเต็มที่
documents)
4. ประชุมนักขาว - นําเสนอเรื่องราวอยางยอ ๆ - กระตุนสื่อใหสนใจโครงการ - นั ก ข า วจะมาเพื่ อ ทํ า ข า ว/
(News conferences) ใหนักขาว ตามดวยชวงเวลา และติ ด ตามเผยแพร ท าง นํ าเสนอข าวที่ น าสนใจ
ถาม-ตอบ และมักมีการแจก โทรทั ศน /วิ ทยุ โดยตรงเป น เทานั้น จึงไมสามารถควบคุม
คูมือสรุปเรื่องที่นําเสนอ ประจํา ซึ่งอาจชวยดึงความ รูปแบบที่นําเสนอไดแมวาจะ
สนใจของประชาชนให เข า ต องการให เ สนอข า วแบบ
รวมประชุมหารือ ตรงไปตรงมาก็ตาม

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-8


เทคนิค วิธีการ ขอดี ขอเสีย
5. จดหมายขาว - สรุ ปความก าวหน าของการ - ให ข อ มู ล มากกว า ที่ สื่ อ นํ า - ต องใช บุ คลากรและงบ
(Newsletter) ศึ ก ษาทางเลื อ กสถานที่ ตั้ ง เสนอผานสื่อไดแกผูสนใจ ประมาณในการเตรี ยมการ
โครงการโดยจั ด พิ มพ เ ป น - มักเปนวิธีแจงขาวสารกอนจะ พิมพและจัดสง
ระยะๆ จั ดส งให ผู ที่ แ สดง มีการประชุมกับชุมชน หรือ - เรื่องราวที่เขียน ตองมีความ
ความสนใจในโครงการ กอนทํ าการตั ดสิ นใจในเรื่ อง น า เชื่ อ ถื อ และไม เ อนเอี ย ง
หลัก ไมเชนนั้นอาจถูกตอตานวา
- เปนการคงความโปรงใสของ เปนโฆษณาชวนเชื่อ
โครงการในชวงที่มีการศึกษา
ทางเทคนิคเพิ่มเติม
6.บทคว ามแทรกใ น - คลายกับจดหมายขาว แตมัก - เข าถึ งชุ มชนทั้ งหมดพร อม - ตองใชเวลาและแรงงานในการ
หนังสือพิมพ แทรกอยู ใ นหนั ง สื อ พิ ม พ ด ว ยข า วสารสํ า คั ญ ที่ ต อ ง เตรียมบทความแทรกและเสีย
(Newspaper inserts) และจํ า หน า ยแจกจ า ยไป พิจารณา เชน ความจําเปนตอง คาใชจายในการแจกจาย
พรอมหนังสือพิมพ มีโครงการ การเลือกสถาน - ต อ งเตรี ย มในรู ป แบบที่
ที่ตั้งโครงการ หนังสือพิมพกําหนด
- เปนวิธีการหนึ่งที่สามารถไป - การใชงบประมาณสาธารณะ
ถึ งทุ กคนในชุ มชน โดย กั บ งานนี้ มี แ นวโน ม จะถู ก
หน วยงานเจ าของโครงการ ตอตานได
สามารถควบคุ ม เนื้ อ หาที่
ตองการจะเผยแพรได
7. การใหขาวแกนักขาว - จัดทําใบประกาศ หรือแถลง - อาจกระตุนความสนใจจากสื่อ - อาจถูกละเลย หรือไมถูกอาน
(News releases) ขาวโครงการสงใหสื่อตางๆ ไดมีประโยชนในการประกาศ ไม ส ามารถควบคุ มการนํ า
เพื่ อสร างความสนใจให สื่ อ กํ าหนดการประชุ มกั บ ขาวสารไปใชได
มาทําขาว สาธารณะ หรือประชาพิจารณ
ในประเด็นสําคัญ และเปน
ขอมูลเบื้องตนใหกับขาวใน
อนาคตได
8. ทุมงบลงโฆษณา - ใช งบประมาณซื้ อพื้ นที่ ลง - ได ผ ลในการประกาศเชิ ญ- คาลงโฆษณาสูง การจัดทํา
(Paid advertisement) โฆษณาของหนั ง สื อ พิ ม พ ชวนใหเขารวมประชุม หรือ เทปเพื่อออกอากาศทางวิทยุ/
หรือทางวิทยุ / โทรทัศน รวมตัดสินประเด็นหลักของ
โทรทัศนมักเสียคาใชจายสูง
โครงการ สามารถเสนอขาว
มีโอกาสถูกตอตานได ถาใช
ในรูปแบบที่ตองการไดงบประมาณสาธารณะกับงาน
นี้
9.นําเสนอตอประชาชน - นําเสนอโครงการตอแกนนํา - กระตุ นให เ กิ ด การสื่ อ สาร - มี ข อเสี ยน อย ยกเว นเฉพาะ
และกลุมผูมีความรู ของชุมชนตางๆ โดยมีการ ประสานงานที่ ดี กั บแกนนํ า บางกลุมที่เปนศัตรู
(Presentations to civic ฉายสไลด และแผนภู มิ ของกลุ มชุ มชน และยั ง
and technical group) ภาพประกอบ เพื่อใหการ สามารถไดรับผลตอบสนอง
นําเสนอนาสนใจขึ้น ในรายละเอียด

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-9


เทคนิค วิธีการ ขอดี ขอเสีย
10. ขอมูลฉบับกระเปา- บรรจุ ข อมู ลเป นชุ ดกระทั ด - กระตุนใหสื่อสนใจโครงการ - มีขอเสียนอย ยกเวนนักขาว
สําหรับนักขาว รัดแจกนักขาว โดยให ข อมู ลความเป นมา บางคนจะไมสนใจ และยังไม
(Press kits) ของโครงการที่สื่อสามารถใช สามารถควบคุมการนําขอมูล
ในการเสนอขาวตอในอนาคต ไปใชได
ได
11.ประกาศทางสื่อ ที่ - เสนอขอความสั้น ๆ ประกาศ - มี ป ระโยชน สํ า หรั บ การ - มีหลายหนวยงานแยงชิงกัน
ใหบริการสาธารณชน ผานสื่อวิทยุ และโทรทัศน ประกาศขาว เชน เชิญชวน ใชบริการนี้ จึงอาจไมได
(Public service โดยไม เ สี ย ค า ใช จ า ยเนื่ อ ง ประชาชนมาประชุม ออกอากาศ หรื อไดออก
announcements) จากเปนสวนหนึ่งของขอผูก อากาศในช วงเวลาที่ มี ผู ฟ ง
มัดในการบริ การประชาชน นอย
ของสื่อ
ที่มา : แปลจาก United States Environmental Protection Agency, “Decision-Makers’ Guide To Solid Waste Management,
Volume II”, 1995.

ƒ เทคนิคการมีสวนรวมของประชาชน
เทคนิค วิธีการ ขอดี ขอเสีย
1. กลุม/คณะทํางาน - จั ด ตั้ ง กลุ ม ที่ ป ระกอบด ว ย - ช วยสอดส องดู แลขั้ นตอน - มีแนวโนมจะเปนกลุมตอตาน
ผูใหคําปรึกษา สมาชิก ซึ่งเปนตัวแทนกลุม การเลือกสถานที่ตั้งโครงการ โครงการ หากขอเสนอแนะของ
(Advisory group/ ประชาชนที่ มี ค วามสนใจ - ประสานการติ ดต อระหว าง กลุมถูกละเลย
task forces) โครงการอาจเปนกลุมนโยบาย แกนนําหลักของกลุมตาง ๆ - เป น ข อ ผู ก มั ด หนั ก ที่ ต อ ง
ที่คอยใหขอคิดเห็นทางดาน - ประเมินปฏิกิริยาของชุมชน จั ดหาเจ าหน าที่ ที่ ต องทุ มเท
เทคนิ ค หรื อทางด าน ล วงหน า ต อสื่ อประชา สั ม เวลาให ก ารสนั บ สนุ น การ
ประชากร พันธ หรือตอผลการตัด สิน ทํางานของคณะกรรมการของ
ใจโครงการ กลุม
- จัดการประชุม/ประชาพิจารณ
2. กลุมเปาหมาย - จัดกลุมอภิปรายยอย โดยใช - ได รั บ ทราบปฏิ กิ ริ ย าตอบ - ทราบปฏิกิริยาของชุมชน แต
(Focus groups) ผู ดํ า เนิ น รายการมื อ อาชี พ สนองอย างละเอี ยดของแนว ไมทราบจํานวนประชาชนที่มี
เพื่อรับทราบปฏิกิริยาโตตอบ ความคิ ดและตั ดสิ นใจของ ปฏิ กิ ริ ยาตอบสนองแบบ
ที่จะเกิดจากสาธารณชน สาธารณชนตอโครงการ เดียวกัน
- อาจประกอบดวยหลายวาระ - เหมาะสํ า หรั บ ใช ทํ า นาย - อาจทํ า ให ช าวบ า นรู สึ ก ว า
และกลุมประชุมหลายรูปแบบ ปฏิกิริยาโตตอบที่จะเกิดขึ้น กําลังถูกใชอิทธิพลครอบงํา
3. โทรศัพทสายดวน - ประชาสั ม พั น ธ ห มายเลข - ให ชาวบ านรู สึ กอุ นใจว าจะ - จะประสบความสําเร็จหรือไม
(Hotline) โทรศั พท ที่ สามารถโทรไป โทรไปหาใครได เปนการให ก็ขึ้นอยูกับความสามารถของ
ถามคําถาม หรือเปนศูนย ขอมูลในขั้นตอนเดียว และ เจาหนาที่ที่ตอบรับโทรศัพท
กลางขอมูลการเลือกสถานที่ สามารถให บริ การติ ดต อสื่ อ - อาจเสียคาใชจายมาก
ตั้งโครงการ สารระหวางกันไดทั้ง 2 ทาง

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-10


เทคนิค วิธีการ ขอดี ขอเสีย
4. การสัมภาษณ - สั ม ภาษณ แ กนนํ า องค ก ร - สามารถใช กํ า หนดหั ว ข อ - ตองการเจาหนาที่สัมภาษณ
(Interviews) ปกครองสวนทองถิ่น แกน หารือกับชุมชน หรือประเมิน และใชเวลามาก
นํากลุม หรือประชาชนราย ปฏิกิริยาของกลุมตางๆ ตอ
บุคคลแบบตัวตอตัว โครงการ
- สามารถใช ป ระเมิ น สิ่ ง ที่
กําลังทําอยูวาเปนอยางไรได
5. การรับฟงความคิด - จัดประชุมอยางเปนทางการ - อาจจะใช เ ป น การประชุ ม - อาจมีการแถลงการณเกินความ
เห็นจากประชาชน ให ประชาชนสามารถแถลง สรุ ป ก อ นทํ า การตั ด สิ น ใจ จริงในหลากหลายประเด็น
(Hearings) และนํ า เสนอความคิ ด เห็ น ครั้งสุดทาย - ไ ม เ ป ด โ อ ก า ส ใ ห มี ก า ร
อยางเปนทางการ - มีประโยชนในการทําบันทึก สนทนาโตตอบกัน
แบบอยางทางการเพื่อใชใน - ตองใชเวลาเตรียมการ และ
แงกฎหมายได ดําเนินงาน
6. ประชุมหารือกับ - จั ดประชุ มอย างเป นกั นเอง - เป น รู ป แบบที่ ถู ก ต อ งตาม - เป ดโอกาสให มี การสนทนา
กลุมชุมชน มากขึ้ น เป ดโอกาสให กฎหมายในการใหสาธารณ โตตอบกันในวงจํากัด ยกเวน
(Meetings) ประชาชนได เ สนอจุ ด ยื น ชนรับฟงสาระตาง ๆ จะใชรูปแบบจัดกลุมประชุม
ถามคําถาม และอื่น ๆ - อาจจั ดรู ปแบบการประชุ ม ยอย
ให เป นกลุ มย อยที่ สามารถ - เนื้อหาการประชุมอาจนอกลู
อภิปรายแสดงความคิดเห็ น นอกทางเกิ น ความจริ ง ของ
ได โครงการ
- ตองใชบุคลากร และเวลาใน
การเตรียมการประชุม
7. การประชุมเชิง - จัดการประชุมยอยลงไปอีก - มีประโยชนมากสําหรับงาน - กลุมประชุมยอย ๆ อาจตอง
ปฏิบัติการ เพื่อใหงานแตละประเด็น ยอย เชน การตั้งเกณฑในการ จั ด ประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร
(Workshop) สมบูรณ คัดเลือกสถานที่ตั้งโครงการ หลายกลุมในสถานที่ตาง ๆ
หรือการตรวจสอบประเมิ น กัน จึงไมเหมาะที่จะใหผูชม
แตละทางเลือก กลุมใหญติดตามได และตอง
- เปดโอกาสใหมีการสนทนา ใชเจาหนาที่และเวลาสําหรับ
โตตอบไดอยางเต็มที่ และ การประชุมหลายครั้ง
เปนวิธีที่ดีในการเขาถึงความ
เห็นที่สอดคลองรวมกัน
8. การลงคะแนนเสียง - ประชาชนทั้งเมืองลงคะแนน - ไดประชามติที่แนนอน เปน - ค าใช จ ายในการรณรงค ใ ห
ของราษฎร เสี ย งเพื่ อ ตั ด สิ น ว า ควรจะ เสี ยงข างมากในการติ ดสิ น ออกมาใช เ สี ยงค อนข างสู ง
(Plebiscite) ก อสร างโครงการที่ หรื อไม เลื อ กสถานที่ ตั้ ง โครงการ และใชเวลามาก และคนทั่วไป
หรือสรางที่ใด หรื อตั ดสิ นว าควรก อสร าง อาจตกอยู ภ ายใต อิ ท ธิ พ ล
โครงการหรือไม ครอบงํ า ให ห ลงเชื่ อ และ
ตอตานได

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-11


เทคนิค วิธีการ ขอดี ขอเสีย
9. การสํารวจความ - ใช คํ าถามที่ เ ตรี ยมมาอย า ง - วิ เ คราะห ค วามเห็ น ของ - เปนสิ่งที่สะทอนความคิดเห็น
คิดเห็น ระมัดระวัง ถามประชาชน ประชาชนทั่วไป ออกมาเปน ของประชาชนจากการถาม
(Polls) กลุ มหนึ่ งที่ ถู กเลื อกให เป น ตัวเลขประมาณการ คําถาม ณ ขณะนั้น ซึ่งความ
ตั ว แทนความคิ ด เห็ น ของ คิดเห็นอาจเปลี่ยนแปลงไดใน
สาธารณชน ภายหลัง
- ให น้ํ าหนั กทุ กแนวความคิ ด
เห็นเทากันหมด
- งบคาใชจายสูง และตองใช
มืออาชีพเตรียมคําถาม
ที่มา : แปลจาก United States Environmental Protection Agency, “Decision-Makers’ Guide To Solid Waste
Management, Volume II”, 1995.

2-3 การเลือกสถานที่ตั้งโครงการ กับการพิจารณาดานสังคม สิ่งแวดลอม และการ


มีสวนรวมของประชาชน

2-3-1 การวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม

หัวขอพื้นฐานของการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมที่กําหนดโดย JBIC สําหรับโครงการจัดการขยะ


มูลฝอย
หัวขอพิจารณา ผลการพิจารณา
มลภาวะ เสี ย งจากการจราจร และ ควรพิจารณา และมีมาตรการตรวจวัด และจัดการกับเสียง และ
มลพิ ษ ทางอากาศที่ เ กิ ด จาก มลพิษทางอากาศในขณะจัดเก็บและขนสงมูลฝอย
การจั ด เก็ บ และขนส ง มู ล
ฝอย
เสี ย ง การสั่ น สะเทื อ น และ ควรพิจารณา และมีมาตรการตรวจวัด และจัดการกับเสียง การ
กลิ่ น ที่ เ กิ ด จากการบดอั ด สั่นสะเทือน และกลิ่นที่เกิดจากการบดอัด และคัดแยกขยะ
และคัดแยกขยะ
กลิ่นรบกวน เสียง และมลพิษ ควรพิจารณาและมีมาตรการตรวจวัด และจัดการกับกลิ่นรบกวน
ทางอากาศที่เกิดจากกระบวน จากบอเก็บขยะ เพื่อปอนเตาเผาและเพื่อรอการหมัก รวม ทั้ง
การจั ดการขยะ เช น เตาเผา เสียงที่เกิดจากการทํางานของอุปกรณที่เกี่ยวของ สําหรับปญหา
ขยะ และการหมักปุย มลพิษทางอากาศที่เกิดจากเตาเผาขยะควรมีการพิจารณา และหา
มาตรการตรวจวัดในการจัดการปญหา

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-12


หัวขอพิจารณา ผลการพิจารณา
มลภาวะ การกํ า จั ด กากที่ เ หลื อ จาก ควรพิจารณาและมีมาตรการตรวจสอบและจัดการกับกากทีเ่ หลือ
กระบวนการยอย ใหมี ขนาด จากกระบวนการบดอัดและคัดแยกขี้เถาลอย และขี้เถาใตเตาเผา
เล็ก และการคัดแยกของเตาเผา และวัสดุที่ถูกคัดแยกออกกอนหมักปุย
และการหมักปุย
ขยะที่ ก ระจั ด กระจาย กลิ่ น ควรพิจารณาและมีมาตรการที่จําเปนในการจัดการกับขยะที่
รบกวน สั ตว ต างๆ เช น หนู กระจัดกระจาย กลิ่นรบกวน สัตวตาง ๆ เชน หนู แมลง และน้ํา
แมลง และน้ําชะขยะที่เกิดจาก ชะขยะในพื้นที่ฝงกลบ
พื้นที่ฝงกลบ
ทรั พ ยากรกายภาพ ผลของการก อ สร า ง และ ถาพื้นที่โครงการมีพืชพรรณ และสัตวที่มีคุณคาหรือหายากอยู
และชีวภาพ ดําเนินโครงการที่มีตอระบบ มีความจําเปนตองศึกษาถึงผลที่จะเกิดขึ้นตอสิ่งมีชีวิตเหลานั้น
นิเวศนวิทยา และหามาตรการจัดการที่เหมาะสมมารองรับ
ผลตอภูมิทัศน ควรศึกษาผลของการมีโครงการตอสภาพภูมิทัศน และความงาม
ในแงทัศนวิสัย และควรหามาตรการที่เหมาะสมมาจัดการ
คุณภาพชีวิต และ ผลจากการก อ สร า ง และ มีความจําเปนที่จะตองหลีกเลี่ยงพื้นที่โครงการที่มีผลกระทบกับ
ความเปนอยูของมนุษย ดําเนินโครงการที่มีตอสถาน สถานที่สําคัญทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรม ถา
ที่ สํ า คั ญ ทางประวั ติ ศ าสตร ไม สามารถเลี่ ยงได ตองมี มาตรการปองกั น รวมถึ งการปรั บ
และมรดกทางวัฒนธรรม เปลี่ยนแผนการกอสราง และการวางแผนดานงบประมาณ
ผลกระทบตอระบบ ควรมีการศึกษาถึงผลที่เกิดกับระบบสาธารณูปโภคที่มีอยูแลว
สาธารณูปโภคทีม่ ีอยูแลว และหามาตรการที่จําเปนมารองรับ
ผลกระทบตอการใช การบําบัดน้ําทิ้ง และการระบายน้ําที่บําบัดแลวออกนอกโครงการ
ประโยชนแหลงน้ําในพื้นที่ พิจารณาถึงผลตอการใชประโยชนของน้ําในพื้นที่ทายน้ําของ
ทายน้ําของโครงการฝงกลบ โครงการดวย
ขยะมูลฝอย
ผลกระทบสิ่ ง แวดล อ มใน ทํ าเลที่ ก อสร าง อุ ปกรณ ที่ ใช วิ ธี การก อสร าง และช วงเวลา
ระหวางการกอสราง ดําเนินการควรมีการวางแผนจัดการอยางรัดกุม เพื่อใหพื้นที่
รอบๆ ไดรับผลกระทบนอยที่สุด
การติดตามตรวจสอบ ระบบการติดตามตรวจสอบที่เหมาะสมเปนสิ่งจําเปน (1) เมื่อมี
สิ่งแวดลอม การใช ม าตรการป อ งกั น ผลกระทบต อ สิ่ ง แวดล อ ม ต อ งมี
มาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบนั้ นดวย (2) แม วาบาง
ประเด็นที่ตรวจสอบจะยังไมเกิดผลกระทบมากนักในปจจุบัน
แตก็สมควรจะดําเนินการติดตามตรวจสอบตอไป

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-13


ประเด็นทางสิ่งแวดลอมพื้นฐานที่ JICA กําหนดใหเปนแนวทางดานสิ่งแวดลอม
ประเด็น เนื้อหา
1 การตั้งถิ่นฐานใหม ปญหาการตั้งถิ่นฐานใหม เพื่อประกอบอาชีพในพื้นที่นั้น
2 กิจกรรมทางเศรษฐกิจ การเสียโอกาสในการผลิต เชน สูญเสียที่ดิน การเปลี่ยนโครงสรางทาง
เศรษฐกิจ
3 การจราจร และสาธารณูป ปริมาณจราจร และอุบัติเหตุที่เพิ่มขึ้น มีผลกระทบตอโรงเรียน โรงพยาบาล
โภค และอื่น ๆ
4 การแยกเปนชุมชนใหม การแยกชุมชน เนื่องจากความยากลําบากในการเดินทาง
5 มรดกทางวัฒนธรรม การสูญเสีย และเสื่อมคุณคาของวัด ศาลเจา มรดกทางวัฒนธรรม ฯลฯ
6 การใชน้ํา และสิทธิ ความยากลําบากในการทําประมง สิทธิในการใชน้ํา
สิ่งแวดลอมทางสังคม

ประโยชนรวมกัน
7 เงื่อนไขทางสาธารณสุข สภาพสุขาภิบาลที่เสื่อมลง เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะ การเกิด
แหลงเพาะพันธุแมลง
8 ของเสียที่เกิดขึ้น เศษวัสดุกอสราง ดินสวนเกิน และกากขี้เถาจากเตาเผา
9 อันตราย (ความเสี่ยง) ความเสี่ยงจากการยุบตัวของดินจนเกิดอุบัติเหตุ
10 ภูมิประเทศ และธรณีวิทยา การเปลี่ยนแปลงลักษณะภูมิประเทศ และธรณีวิทยา เนื่องจากการขุด และ
ทําคันดิน
11 การพังทลายของดิน การพังทลายของดินจากน้ําฝน หลังการปรับพื้นที่และการตัดตนไม
12 น้ําใตดิน การปนเปอนของน้ําชะขยะลงสูชั้นน้ําใตดิน
13 สภาพทางชลศาสตร การเปลี่ยนแปลงอัตราการไหลของน้ํา สภาพพื้นดินใตทองแมน้ํา ปริมาณ
สิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ

น้ําไหลเขาออก
14 เขตชายฝงทะเล การเปลี่ยนสภาพภูมิประเทศ และพันธุไมชายฝงทะเล เนื่องจากการใช
ประโยชนของพื้นที่
15 พันธุพืช และสัตว การสู ญ พั น ธุ ข องพื ช และสั ต ว ป ญ หาการแพร พั น ธุ เ นื่ อ งจากการ
เปลี่ยนแปลงสภาพที่อยูอาศัย
16 สภาพอุตุนิยมวิทยา การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ เนื่องจากการพัฒนาโครงการขนาดใหญ
อาคาร และอื่น ๆ
17 ภูมิสถาปตย การเปลี่ยนแปลงภูมิประเทศ เนื่องจากการพัฒนาที่ดิน การทําลายความ
กลมกลืนของทิวทัศน เนื่องจากการกอสราง

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-14


ประเด็น เนื้อหา
18 มลพิษทางอากาศ มลพิษทางอากาศ เนื่องจากไอเสียจากโรงงานและรถยนต การปนเปอน
ของกาซพิษ
19 มลพิษทางน้ํา การระบายเศษดิน ทราย และน้ําทิ้งอุตสาหกรรมกอใหเกิดมลพิษตอแมน้ํา
และน้ําใตดิน
มลภาวะสิ่งแวดลอม

20 การปนเปอนของดิน การปนเปอนของดินจากการทิ้งขี้เถาจากเตาเผา และขยะที่ไมสามารถ


เผาไหมได
21 เสียง และการสั่นสะเทือน การเกิดเสียง และการสั่นสะเทือน เนื่องจากรถเก็บขนขยะ การทํางานใน
พื้นที่ฝงกลบขยะ
22 การทรุดตัวของดิน การทรุ ด ตั ว ของดิ น เนื่ อ งจากระดั บ พื้ น ดิ น และระดั บ น้ํ า ใต ดิ น ที่
เปลี่ยนแปลง
23 กลิ่นรบกวน การเกิดกลิ่นรบกวนจากเตาเผา และสถานที่ฝงกลบขยะ ฯลฯ

2-4. การพิจารณาผลกระทบทางสังคม

2-4-1. หลักการของการพิจารณาผลกระทบทางสังคม

1. เปนเรื่องเกี่ยวกับ “ความหลากหลาย” ของสาธารณชน


เนื่องจากการพิจารณาผลกระทบทางสังคมจะเกี่ยวของกับชุมชนโดยตรง ดังนั้นการ
มีสวนรวมของชุมชนจึงมีความจําเปน การใหประชาชนเขามามีสวนรวมควรเปน
กระบวนการที่คลองตัวและเกิดการตอบสนองระหวางกัน สมาชิกของชุมชนควร
เขารวมกระบวนการการวิเคราะหผลกระทบทางสังคมอยางเต็มรูปแบบ คําวา “ความ
หลากหลาย” มีความสําคัญ เปนสิ่งจําเปนที่ตองใหกลุมตาง ๆ ที่ไดรับผลกระทบมี
โอกาสเขารวม ในอีกแงหนึ่งการวิเคราะหผลกระทบทางสังคมจะชวยชี้ชัดวากลุม
ใดในสังคมที่จะไดรับผลกระทบจากโครงการ และจะมีวิธีจัดการปญหาใหกลุม
เหลานี้อยางไร ความเกี่ยวของของชุมชนควรครอบคลุมถึงกลุมที่ไมมีโอกาสเขา
รวมในการตัดสินใจกับภาครัฐ เพราะอุปสรรคทางวัฒนธรรม ภาษา และเศรษฐกิจ
ตัวอยางเชน กรณีของโครงการจัดการขยะ การมีสวนรวมของคนคุยขยะมีความจํา
เปนมาก

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-15


2. ความเปนธรรมตอกลุมผูไดรับผลกระทบ
พื้นฐานของการพิจารณาผลกระทบทางสังคม คือการวิเคราะหวาใครได ใครเสียใน
แต ล ะทางเลื อ ก สิ่ ง สํ า คั ญ คื อ ต อ งวิ เ คราะห ว า ทางเลื อ กหนึ่ ง ๆ อาจจะก อ ผลไม
พึงประสงคตอสิ่งแวดลอม หรือมีผลกระทบรายแรงตอสุขภาพของประชาชนที่มี
รายได น อ ย หรื อ ชนกลุ ม น อ ยได ควรพิ จ ารณาถึ ง ความเป น ธรรมต อ ผู ไ ด รั บ
ผลกระทบโดยปรึ ก ษาหารือ อยา งใกล ชิด และเห็น ใจกับ กลุ ม ผู ไ ด รั บ ผลกระทบ
ชุมชนขางเคียง กลุมตาง ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งกลุมผูมีรายไดนอย ชนกลุมนอย เปน
ตน การวิเคราะห ผลกระทบเหลานี้ตองเริ่มในชวงของการกําหนดขอบเขตของ
โครงการ เพื่อใหแน ใจวาปญหาจะไมไดถูกละเลย
3. ควรพิจารณาประเด็นที่เกี่ยวของจริง
ในการกําหนดขอบเขตการพิจารณาผลกระทบทางสังคมควรจะพิจารณาประเด็นที่
เกี่ยวของจริง ๆ ไมใชครอบคลุมเฉพาะประเด็นที่ศึกษาไดงายเทานั้น เชน ตองไม
มุงวิเคราะหเฉพาะดานเศรษฐกิจ และประชากรศึกษา โดยใชขอมูลเฉพาะประชากร
ที่ขึ้นทะเบียนตามกฎหมายไวเทานั้น เนื่องจากขอมูลเหลานี้สามารถหาได มีอยูแลว
และหาไดงายเทานั้น แตจะตองมั่นใจวาขอบเขตการวิเคราะหไ ดครอบคลุมทุ ก
ประเด็นที่มีความสําคัญซึ่งมีผลกระทบกับชุมชนและกลุมตางๆทุกกลุม ทั้งกลุมที่อยู
ในทะเบียน และนอกทะเบียนจริง
4. ระบุวิธีการศึกษาที่เหมาะสม และสมมุติฐานที่ใชในการพิจารณาผลกระทบทาง
สังคม
ในการพิจารณาผลกระทบทางสังคมควรระบุวิธีการ และสมมุติฐานตาง ๆ ที่เหมาะ
สมกับสภาพแวดลอมเฉพาะของชุมชนทองถิ่นและลักษณะของโครงการที่นําเสนอ
รายงานการวิเคราะหผลกระทบทางสังคม ควรอธิบายถึงวิธีการที่นํามาใช และ
สมมุติฐานในการวิเคราะหผลกระทบทางสังคมนั้น ๆ ดวย
5. ชี้ใหเห็นถึงความสําคัญของตัวแปรทางสังคม และความสําคัญของผลกระทบ
การพิจารณาผลกระทบทางสังคมควรพิจารณาถึงความสําคัญของตัวแปรทางสังคม
หรือของผลกระทบที่เกิดขึ้น เชนในกรณีหนึ่งอาจเนนไปที่ผลกระทบที่เกิดกับการ
อยูอาศัยหรือรูปแบบการดํารงชีวิต ขณะที่อีกดานหนึ่งอาจเนนไปที่ผลกระทบตอ
ครอบครัวที่ทําธุรกิจเล็ก ๆ ในพื้นที่ใกลเคียงโครงการ ถามีเหตุผลที่ชัดเจนวาตัวแปร
ใดตัวแปรหนึ่งมีความสําคัญมากกวาตัวแปรอื่น ๆ จะตองแสดงใหเห็นเหตุผลอยาง
ชัดเจน ในทํานองเดียวกันควรใหเหตุผลที่เลือกพิจารณาใหความสําคัญกับประเด็น
ผลกระทบหนึ่ง ๆ มากกวาประเด็นอื่น ๆ ดวย

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-16


6. ประสานงานอยางแข็งขัน และรวดเร็วกับผูวางแผนโครงการ
การพิจารณาผลกระทบทางสังคมไมใชการที่บริษัท ฯ ที่ปรึกษาซึ่งทํางานใหภาครัฐ
จะนําเสนอรายงานฉบับสมบูรณโดยที่ภาครัฐไมมีสวนเกี่ยวของมากอนเลย ควรเปน
การดําเนินการรวมกันอยางแข็งขันและรวดเร็วระหวางบริษัท ฯ ที่ปรึกษาและผูวาง
แผนของภาครัฐตลอดทุกขั้นตอนของกระบวนการวิเคราะห และวางแผนโครงการ
ซึ่งตองมีการประสานงานกันอยางใกลชิด เพื่อใหผูวางแผนของภาครัฐรับทราบถึง
ปญหาที่อาจเกิดขึ้น และมีโอกาสที่จะแกไขกอนที่ทุกสิ่งทุกอยางจะสายเกินไป
7. ใชบุคลากรที่มีความสามารถ และประสบการณในการพิจารณาผลกระทบทางสังคม
ที่ปรึกษาที่ดีที่สุดของภาครัฐที่จะมาชวยทําการพิจารณาผลกระทบทางสังคม ควร
เปนนักสังคมวิทยาที่ไดรับการอบรม และมีประสบการณในการสํารวจทางสังคม มี
ความคุนเคยกับวิธีการศึกษาทางดานสังคมเปนอยางดี บุคลากรเหลานี้จะรวมถึงนัก
มนุษยวิทยาทางวัฒนธรรม, นักสังคมศาสตร, นักภูมิศาสตรทางวัฒนธรรม/สังคม
และนักวิชาการในสาขาที่เกี่ยวของ อยางไรก็ตาม การวิเคราะหของผูเชี่ยวชาญใน
สาขาอื่ น ๆ (เช น เศรษฐศาสตร , สั ง คมประวั ติ ศ าสตร ) อาจเป น นั ก วิ เ คราะห
ผลกระทบทางสังคมที่มีประสิทธิภาพ ถาผูวิเคราะหมีความสนใจ และไดรับการ
ฝกฝนมาอยางถูกตอง ในทางตรงขาม นักมนุษยวิทยาและนักสังคมวิทยาบางคน
อาจไมมีความสนใจเรื่องการพิจารณาผลกระทบทางสังคม และไมมีประสบการณ
ในการประยุกตใชกับการศึกษานี้เชนกัน ดังนั้นการเลือกบุคลากรที่จะมาทําการ
พิจารณาผลกระทบทางสังคมจะตองเลือกอยางพิถีพิถัน ซึ่งควรเปนผูที่เคยผานการ
ฝกอบรม และมีประสบการณกับงานประเภทนี้ จึงจะเหมาะที่จะเปนผูวิเคราะหและ
เลือกประเด็นในการประเมินได
8. จัดทําแผนการติดตามตรวจสอบ และแผนแกไขผลกระทบทางสังคม
การพิจารณาผลกระทบทางสังคม ไมใชเปนเพียงการวิเคราะหผลกระทบ แตจะเปน
พื้นฐานในการจัดทําแผนแกไขผลกระทบทางสังคม และแผนการติดตามตรวจสอบ
ความสัมฤทธิ์ผลของแผนแกไขนี้
9. อางอิงแหลงขอมูล
การจัดทํารายงานพิจารณาผลกระทบทางสังคมที่ดี จะตองอางอิงแหลงที่มาของขอ
มูลที่ใชวิเคราะหดวย เพราะในหลายกรณีตองสามารถทําใหกลุมชุมชนตาง ๆ มี
ความไววางใจในผลการศึกษาวาอยูในวิถีของสิ่งที่ปฏิบัติไดตามกฎหมาย ถายังไม
สามารถรับประกันความมั่นใจได ผูที่แจงขาวแกชุมชนไมควรใหรายละเอียดชุมชน
ทันที หรือใหเพียงขาวในรูปแบบสรุปสั้น ๆ กอน
10. แผนรองรับกรณีเกิดชองวางระหวางขอมูล

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-17


เปนเรื่องปกติที่ไมสามารถรวบรวมขอมูลทุกอยางที่ตองการไดภายในเวลาจํากัด ผู
วิเคราะหจะตองยอมรับในปญหาของชองวางที่เกิดจากการขาดขอมูลบางสวนที่อาจ
มีอยูแตไมสามารถรวบรวมไดทัน และยอมรับในขอกังขาเกี่ยวกับความนาเชื่อถือ
ของขอมูลบางอยางที่ไดมา ในการปรึกษาหารือกับผูวางแผนขององคกรปกครอง
สวนทองถิ่น นักวิเคราะหตองประเมินความสําคัญของขอมูลที่ขาดหายไป และ
วางแผนจัดเก็บข อมูลนั้นในอนาคต หรือหาวิธีดําเนินการอื่นเพื่อใหยังสามารถ
วางแผนไดดีโดยไมตองใชขอมูลที่ขาดเหลานั้น

2-4-2. ตัวแปรที่ใชศึกษาเพื่อพิจารณาผลกระทบทางสังคม

1. ลักษณะของประชากร
• โครงสรางประชากรในปจจุบันของกลุมที่คาดวาจะไดรับผลกระทบเปน
อยางไร เปนโครงสรางที่คงที่แลว หรือยังมีการเปลี่ยนแปลงอยู
• มีกลุมออมทรัพย และกลุมตาง ๆ ทางสังคมภายในชุมชนหรือไม
• มีการแบงแยกกลุมตามเชื้อชาติ ฐานะการเงิน และลักษณะสังคมหรือไม
• ฐานะทางเศรษฐกิจ การจางงาน และการกระจายรายไดของประชากรเปน
เชนไร
• ลักษณะการจางงานในทองถิ่นเปนอยางไร กิจกรรมที่จางงานมีอะไรบาง
(โดยเฉพาะในกลุมของผูที่อาจจะไดรับผลกระทบจากโครงการ) จํานวน
ประชากรที่ตกงานเปนกลุมใด มีจํานวนเทาใด
• มีการอพยพเขา-ออก ของประชากรในฤดูกาลตาง ๆ อยางไร หรือมีการยาย
เขา-ออก ในโอกาสใดเปนกรณีพิเศษหรือไม
• โครงการที่นําเสนอจะมีผลกระทบตอลักษณะประชากรหรือไม
2. โครงสรางของชุมชน และสถาบัน
• ชุมชนที่จะไดรับผลกระทบมีโครงสรางเปนอยางไร ทั้งกลุมที่ขึ้นทะเบียน
กั บ ทางราชการ และกลุ ม ที่ ไ ม ไ ด ขึ้ น ทะเบี ย น (มั ก เป น กลุ ม ที่ ร วมตั ว กั น
เนื่องจากปจจัยทางวัฒนธรรมประเพณี กลุมอาสาสมัครตาง ๆ และกลุม
ผูสนใจในเรื่องใด ๆ เรื่องเดียวกัน)
• อัตราการจางงาน และฐานะทางเศรษฐกิจของแตละกลุม เปนอยางไร
• มีความไมเสมอภาคทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมระหวางประชากร
กลุมที่มีเชื้อชาติตางกัน หรือมีปจจัยอื่น ๆ หรือไม
• กลุมตางๆ เคยไดรับผลกระทบอะไรจากการเปลี่ยนแปลงตางๆในอดีตบาง

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-18


• มีการเชื่อมโยงกับองคกรระดับภูมิภาค และองคกรระดับชาติอยางไร
• จะเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางไรกับตัวแปรดังกลาวขางตนจากโครงการที่
เสนอ
3. กลุมการเมือง และสังคม
• การกระจายอํานาจ และความรับผิดชอบภายในชุมชนเปนอยางไร ทั้งแบบ
เปนทางการ และไมเปนทางการ
• ผูมีสวนเกีย่ วของมีใครบาง
• ผูมีสวนเกีย่ วของใหความสนใจในเรื่องใด
• มีการบริหารจัดการอํานาจภายใน และภายนอกอยางไร
• ผูมีสวนเกีย่ วของมีปฏิกิริยา และตอบสนองตอโครงการที่เสนออยางไร
4. ปจจัยสวนบุคคล และครอบครัว
• ป จ จั ย อะไรบ า งที่ มี ผ ลกระทบต อ ชี วิ ต ประจํ า วั น ของกลุ ม ที่ จ ะได รั บ ผล
กระทบในชุมชน
• รูปแบบความสัมพันธของครอบครัว, เพื่อน และคนรูจกั เปนอยางไร
• รูปแบบของผูอยูอาศัยมีความมั่นคงอยางไร
• ประชาชนในกลุมตาง ๆ มีความรูสึกพึงพอใจในการดําเนินชีวิตหรือไม
• ประชาชนมีความสนใจอยางไรกับผลที่ไดรับจากโครงการที่เสนอ ตอการ
ดําเนินชีวิต และสิ่งที่โครงการจะปรับปรุงไดดีขึ้น
• ประชาชนมีทา ทีอยางไรตอความเสี่ยง, สุขอนามัย และความมัน่ คงทาง
เศรษฐกิจและสังคม ที่เปนผลมาจากโครงการที่เสนอ
• ประชาชนมีความคิดเห็นตอคุณคาของสิ่งแวดลอมอยางไร
• ประชาชนมีความกังวลตอการโยกยาย หรือเปลี่ยนที่อยูใหมที่อาจเปนผลมา
จากโครงการที่เสนอหรือไม
• ประชาชนมีความเชื่อมั่นตอองคกรทางการเมือง และทางสังคมของตนเองที่
จะเขามาจัดการการเปลี่ยนแปลงเหลานี้หรือไม
5. ทรัพยากรชุมชน
• ประชาชนใชที่ดิน และสิ่งแวดลอมธรรมชาติอยางไร เปนการใชเพื่อการ
ดํารงชีพหรือไม ใชทางดานจิตใจหรือไม หรือใชเพื่อการพักผอนหยอนใจ
มีความขัดแยงระหวางการใชแบบตาง ๆ หรือไม
• มีการนับถือสักการะสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ หรือใชในเชิงศาสนาหรือไม
• มีคุณคาทางวัฒนธรรม พื้นที่เชิงพาณิชย พื้นที่สําหรับการพักผอนหยอนใจ

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-19


หรือพื้นที่สําหรับการพบปะสังสรรคของชุมชนใกลเคียงหรือไม
• มีคุณคาทางวัฒนธรรมในดานของความสัมพันธทางสังคม เชน มีการจัดตั้ง
เปนชมรม หรือกลุมแบบไมเปนทางการหรือไม
• มีคุณคาทางประวัติศาสตร สถาปตยกรรม หรือการเก็บรวบรวมโบราณวัตถุ
หรือเอกสารทางประวัติศาสตรหรือไม
• มี การบริก ารชุ มชนอยา งไร มีระบบสาธารณูปโภคตาง ๆ เช น ระบบน้ํ า
ประปา ระบบไฟฟา โรงเรียน และการบริการสาธารณสุขหรือไม
• โครงการที่เสนอจะมีผลกระทบตอตัวแปรดังกลาวขางตนอยางไร

2-4-3. ขั้นตอนการพิจารณาผลกระทบสิ่งแวดลอม

ขั้นที่ 1 จัดทําแผนการมีสวนรวมของประชาชนที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งประชาชนที่ไดรบั ผล


กระทบทั้งหมดจะไดเขารวม
• ระดับการมีสวนรวมของประชาชนจะตองมีความหลากหลายตามลักษณะของ
โครงการ สําหรับโครงการจัดการขยะมูลฝอย และการจัดการน้ําเสียจะ ตองทํา
การสํารวจทางสังคมตั้งแตแรกเริ่มโครงการ ซึ่งจะเปนประโยชนในการเขาใจ
ลักษณะโดยทั่วไปของชุมชน ชี้ใหเห็นถึงกลุมที่อาจไดรับผล กระทบ เขาใจถึง
ความสามารถของชุมชนในการจายคาบริการจัดการขยะมูลฝอย และน้ําเสีย
และหาทางสรางจิตสํานึกของประชาชนตอปญหาขยะมูลฝอยและน้ําเสีย โดย
ใหการ ศึกษาทางดานสิ่งแวดลอม และทําใหประชาชนมีสวนรวมกับโครงการ
ที่เสนอ

ขั้นที่ 2 ระบุทางเลือกตาง ๆ และขอมูลของแตละทางเลือก


• ควรมีการกําหนดทางเลือกตาง ๆ ตามวัตถุประสงค และความตองการสําหรับ
โครงการที่เสนอ ผูวิเคราะหผลกระทบทางสังคมจะตองทําการพิจารณาและหา
ข อมู ลเพิ่ มเติ มให เพี ยงพอสํ าหรั บแต ละทางเลื อก เพื่ อที่ จะทํ าการวิ เคราะห
เปรียบเทียบ ขอมูลที่จําเปนสําหรับการประเมินทางเลือกตาง ๆ มีดังนี้
- สถานที่ตั้ง
- ขนาดพื้นที่ที่ตอ งจัดหา รวมถึงพื้นที่สําหรับสิ่งอํานวยความสะดวก
ตาง ๆ (ถนน, ระบบสาธารณูปโภค ฯลฯ)
- โอกาสที่จะตองโยกยายประชาชนที่อาศัยอยูในพื้นที่ และจํานวน
ของประชาชน

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-20


- โอกาสที่จะเกิดผลกระทบทางลบตอชุมชนรอบ ๆ พื้นที่โครงการ
- ขนาด และความสามารถรองรับของระบบ
- ตนทุนประมาณการสําหรับการกอสราง การดําเนินงานและบํารุงรักษา
- ระยะเวลาการกอสราง และกําหนดการดําเนินการ
- ความตองการแรงงานในพื้นที่สําหรับการกอสราง และการดําเนิน
งานระบบ
- ความตองการทางดานเทคนิค และการเงินในการดําเนินงานและ
บํารุงรักษา

ขั้นที่ 3 เก็บขอมูลพื้นฐานของชุมชนในพื้นที่
• หลังจากการกําหนดวิธีการทํางานรวมกับประชาชนในพื้นที่ จนไดรับการ
ยอมรับจากประชาชน และไดรวบรวมขอมูลของทางเลือกตาง ๆ แลว ผู
วิเคราะหผลกระทบทางสังคมควรจะชี้ใหเห็นถึงสภาพที่เปนอยูในปจจุบัน
ของแตละพื้นที่ที่อาจไดรับผลกระทบโดยทําการสํารวจทางสังคม เพื่อตอบ
คําถามดังตอไปนี้
- ประชาชนกลุมใดที่อาจไดรับผลกระทบมีจํานวนเทาใด ประชาชน
เหลานี้อยูรวมกันเปนกลุมหรือกระจัดกระจาย
- ประชาชนแตละกลุมมีความสัมพันธกับสิ่งแวดลอม หรือสิ่งแวดลอม
ที่มนุษยสรางขึ้น
- ประชาชนแตละกลุมมีประวัติความเปนมาอยางไร
- กลุมการเมือง และสังคม โครงสราง และความสัมพันธของเครือขาย
ของแตละกลุมของประชาชน
- มีกลุมผูมีรายไดนอย หรือชนกลุมนอยเขารวมดวยหรือไม และมี
ความตองการพิเศษอะไร
- ลักษณะทางวัฒนธรรม และความคิดของแตละกลุมเปนอยางไร มี
ความคิดตอองคกรทางการเมืองและสังคมอยางไร มีความสัมพันธ
กับสิ่งแวดลอมอยางไร ประสบการณชนิดใดที่เคยประสบเมื่อมีการ
เปลี่ยนแปลงทางสังคมเกิดขึ้น
- ลักษณะทางเศรษฐกิจ และประชากรที่เกี่ยวของเปนอยางไร สภาพ
การวางงานเปนอยางไร มีที่อยูอาศัยเพียงพอหรือไม การเขาถึงระบบ
สาธารณู ป โภคเป น อย า งไร รวมถึ ง การศึ ก ษา การบริ ก ารทาง
สาธารณสุข การขนสงเปนอยางไร มีการเคลื่อนยายของประชากร
เขาออกจากพื้นที่ตามฤดูกาลหรือรูปแบบอื่นหรือไม

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-21


ขั้นที่ 4 กําหนดขอบเขตที่ถูกตองของการพิจารณาผลกระทบทางสังคม
• จะตองกําหนดขอบเขตของการวิเคราะหผลกระทบทางสังคมใหชัดเจน และ
กําหนดวิธีที่ถูกตอง เพื่อใหไดประเด็นที่ถูกตอง การกําหนดขอบเขตควรมี
การปรึกษาหารือกับกลุมที่ไดรับผลกระทบโดยใชกระบวนการมีสวนรวม
ของประชาชน ปจจัยที่ตองพิจารณามีดังนี้
- จํานวนของประชาชนที่คาดวาจะไดรับผลกระทบ
- การคงอยูของกลุมที่เ สียประโยชน เช น ชนกลุ มนอยทางเชื้ อชาติ
หรือศาสนา
- ระยะเวลาที่คาดวาจะไดรับผลกระทบ
- ผลกระทบตอเนื่องที่อาจเกิดขึ้น
- ผลประโยชน และตนทุนของกลุมที่ไดรับผลกระทบ
- ความจําเปนของการลดความรุนแรงของปญหา
- การตัดสินใจทีต่ รงกับปญหา
- สิ่งที่คาดไมถึง
- ขอโตแยง
ขั้นที่ 5 การคาดคะเนผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
• หลังจากกําหนดขอบเขตของการพิจารณาผลกระทบทางสังคมแลวการวิเคราะห
จริงจะเริ่มจากการหาผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากโครงการที่เสนอพรอมกับทาง
เลือกตาง ๆ ภายใตพื้นฐานความรูที่มีเกี่ยวกับโครงการ และทางเลือกที่พิจารณา
ซึ่งเกี่ยวกับการเลือกสถานที่ตั้งโครงการ และประชาชนที่ไดรับผลกระทบ การ
วิเคราะหจะศึกษาขอมูลที่เก็บรวบรวมได บันทึกที่เกี่ยวของกับเหตุการณ
คลาย ๆ กัน หรือประชาชนที่คลายกัน ขอมูลสํามะโนประชากรและสถิติ
ประชากร แหลงขอมูล ขอมูลภาคสนามที่ไดจากการสัมภาษณ การประชุม การ
สํารวจ และการสังเกต มีหลายวิธีในการคาดผลกระทบที่จะเกิดขึ้น รายละเอียด
จะขึ้นกับปจจัยตางๆ เชน ขอบเขตของโครงการที่เสนอ พื้นที่ที่เกิดผลกระทบ
และขอมูลที่มีอยู ซึ่งวิธีการคาดคะเนมีดังนี้
- การเปรียบเทียบ : เปรียบเทียบเหตุการณที่คลายกัน และผลที่เกิดขึ้น
- การประมาณเชิงเสน : ใชแนวโนมที่เกิดขึ้นในปจจุบนั สําหรับ
คาดคะเนในอนาคต
- การเพิ่มขึ้นของประชากร : เหตุการณทที่ ําใหมีการเพิม่ ขึ้นหรือลดลง
ของประชากรจะสงผลตอการเปลี่ยนแปลงตัวแปรอื่น ๆ เชน ที่อยูอาศัย
และการใชทรัพยากร

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-22


- สถานการณจําลอง : ใชเหตุผลที่ถูกตองตามหลักการและรูปแบบขอมูล
มาทําสถานการณจําลอง
- คําแนะนําจากผูเชี่ยวชาญ : รับฟงความคิดเห็นจากผูเชีย่ วชาญเกีย่ วกับ
สถานการณจําลอง และการเปลี่ยนแปลง
- คาดการณสิ่งทีจ่ ะเกิดในอนาคต : ตัวอยางเชน คาดการณธุรกิจขนาดเล็กที่
ชนกลุมนอยเปนเจาของในชุมชนในอนาคต ถาไมมีโครงการเกิดขึน้
- แบบจําลองคอมพิวเตอร : เปนประโยชนตอวิธีการตาง ๆ ขางตน

ขั้นที่ 6 ทํานายผลการตอบสนองของทองถิ่นตอผลกระทบที่เกิดขึ้น
• เปดเผยสิ่งที่รูเกี่ยวกับกลุมทีค่ าดวาจะไดรบั ผลกระทบ และชนิดของผล
กระทบที่คาดการณไว เพื่อดูวา
- ผลตอบสนองจากประชาชนทองถิ่นจะเปนอยางไร
- ความคิดเห็นของกลุมประชาชนจะถูกชักนําจากความคิดของผูนํา
ชุมชนหรือไม
- ผูนําชุมชนมีความเห็นในดานบวกหรือลบตอโครงการ
- มีแนวทางที่ประชาชนทองถิ่นจะปรับตัวใหเขากับโครงการ หรือคาด
วาจะเกิดการโยกยายถิ่น
- กลุมประชาชนตาง ๆ ยังคงสามารถดํารงชีวิตอยางปกติสุข หรือจะ
เกิดการสูญเสียที่ไมสามารถเรียกคืนได
ขั้นที่ 7 พิจารณาผลกระทบทางออม และผลกระทบสะสม
• อันที่จริงแลว ขั้นตอนนี้มิไดเปนสวนหนึ่งของการวิเคราะหกระบวนการ แต
เปนประเด็นพื้นฐานของหลาย ๆ ขั้นตอน ผลกระทบทางสังคมเกือบทั้งหมด
ไมเกิดขึ้นในทันที แตจะเกิดขึ้นหลังจากเกิดเหตุการณไปแลว และอาจ
เกิดขึ้นไดในพื้นที่ที่หางไกลจากโครงการ ผลกระทบสะสมจะมีความสําคัญ
มาก กลุมประชาชนพื้นเมืองหรือชนกลุมนอยอาจไดรับผลกระทบอยาง
รุนแรงตอความเสี่ยงของการสูญสิ้นวัฒนธรรม หรือสูญสิ้นคุณคาไป
เนื่องจากแรงกดดันตาง ๆ ที่เกิดขึ้น และโครงการที่เกิดขึ้นอาจผลักดันให
กลุมเหลานี้สูญหายไป
ขั้นที่ 8 แนะนําทางเลือกใหมเมื่อตองการ
• เมื่อระบุผลกระทบที่รุนแรงออกมาไดแลว ตองพิจารณาหาทางเลือกที่จะทํา
ใหปญหาเบาบางลง และทํางานรวมกับผูวางแผนโครงการ และกลุมผูไดรับ
ผลกระทบ เพื่อพิจารณาวาทางเลือกนั้นมีความเปนไปไดหรือไม ตองแนใจ
วาไดทําการวิเคราะหผลกระทบทางสังคม และสิ่งแวดลอมของทางเลือก

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-23


ตางๆ แลว เมื่อมีการโตแยงที่เกี่ยวกับการพิจารณาทางเลือกหรือการเลือก
ทางเลือกเกิดขึ้น การประนีประนอมจะชวยแกไขขอขัดแยงได
ขั้นที่ 9 จัดทํา และติดตามตรวจสอบแผนบรรเทาปญหา
• ทํางานรวมกับผูวางแผนโครงการ และกลุมผูไดรับผลกระทบเพื่อหาทาง
บรรเทาปญหาทางสังคมที่อาจจะเกิดขึ้น และนําแผนนี้ไปไวในเอกสารการ
พิจารณาผลกระทบทางสังคม ตองมั่นใจวาแผนบรรเทาปญหาที่ตองการนั้น
มี ก ารอธิ บ ายอย า งชั ด เจน สํ า หรั บ การตั ด สิ น ใจ และมี โ ปรแกรมติด ตาม
ตรวจสอบที่จะทําใหมั่นใจวามาตรการบรรเทาปญหานั้นเกิดขึ้นจริง

2-4-4. กรอบในการวางแผนการมีสวนรวมของชุมชน

♦ กรอบในการทํางานตอไปนี้เปนประเด็นในการวางแผนการมีสวนรวมของชุมชน
โดยสามารถปรับเปลี่ยนแกไขใหเขากับการใชงานจริง ซึ่งแนวทางนี้เกี่ยวของกับ
การพัฒนาสถานที่ฝงกลบมูลฝอยมากกวากิจกรรมเกี่ยวกับการนําขยะมูลฝอยกลับ
มาใชใหม (Recycling program)
ก. ความเปนมา
• ประวัติความเปนมาของโครงการ
• ประเด็นหลัก
• ความจําเปนทีต่ องมีโครงการ
ข. กําหนดผูมสี วนเกีย่ วของกับโครงการ
• แผนที่แสดงทีต่ ั้งโครงการ และขอบเขตพื้นที่การใหบริการ
• ชุมชนที่เกีย่ วของกับโครงการ
• องคกร และสถาบันที่เกี่ยวของกับโครงการ
ค. ขอเสนอสําหรับการปรึกษาชุมชน และการใหความรูดานสิ่งแวดลอมแกชุมชน
ขั้นที่ 1 รายงานเบื้องตน / แสดงถึงความจําเปนที่ตองมีโครงการนี้
• วัตถุประสงค
- เพื่อกระตุน ชุมชนใหมกี ารตอบสนอง หลังจากไดรับทราบขอมูล
โครงการ และรับฟงความคิดเห็นจากชุมชนเกี่ยวกับโครงการที่เสนอ
• การใหขอมูลขาวสาร / กิจกรรมการใหความรูดานสิ่งแวดลอม
- สรุปยอความจําเปนที่ตองมีโครงการ และรายงานผลการปรึกษาชุมชน
ลงในหนังสือพิมพ
- ใหขาวการประชุมกับสาธารณชนผานรายการทีวี และรายการวิทยุ

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-24


- การประชุมรวมกับสาธารณชน
- การประชุมกับกับหนวยงานที่เกี่ยวของกับการศึกษา
- ตีพิมพในหนังสือพิมพ (ครั้งที่ 1)
- กําหนดกลุมผูเกี่ยวของ และชองทางในการติดตอกับแตละกลุม

ขั้นที่ 2 เสนอพื้นที่ทางเลือก
• วัตถุประสงค
- รับฟงความเห็นของชุมชนในพื้นที่ที่มีศักยภาพ และความเห็นชอบ
ในวิธีการประเมินพื้นที่
• ใหขอมูลขาวสาร / กิจกรรมการใหความรูดานสิ่งแวดลอม
- การประชุมรวมกับประชาชนในแตละชุมชน
- การประชุมรวมกับผูแทนของกลุมตาง ๆ ที่มีสวนเกี่ยวของ
- การประชุมรวมกับคณะครูในโรงเรียน
- ตีพิมพในหนังสือพิมพ (ครั้งที่ 2)
ขั้นที่ 3 การประเมินพื้นที่ทางเลือก และการเลือกพื้นที่
• วัตถุประสงค
- หาขอมูลปลีกยอยที่ถูกตองจากชุมชนที่อาศัยในพื้นที่ เพือ่ ชวยในการ
ประเมินพืน้ ที่
- ตองมั่นใจวาชุมชนมีความพอใจกับการพิจารณาพื้นที่ทุกแหง และ
ขอความเห็นชอบกับผลของกระบวนการคัดเลือกพื้นที่
• การใหขอมูลขาวสาร / กิจกรรมการใหความรูดานสิ่งแวดลอม
- ไปเยี่ยมชมพื้นที่ที่มีศักยภาพ
- ประชุมเชิงปฏิบัติการกับชุมชนเพื่อประเมินพื้นที่ทางเลือก
- พูดคุยกับครูในสถานศึกษา / จัดกิจกรรมการใหความรูดานสิ่งแวดลอม
แกนกั เรียน
- ตีพิมพในหนังสือพิมพ (ครั้งที่ 3)
ขั้นที่ 4 การศึกษาความเปนไปได / การประเมินสิ่งแวดลอมขั้นตน
• วัตถุประสงค
- สรางมาตรการ และรูปแบบที่จําเปนตอการบรรเทาปญหา
- รับฟงความคิดเห็นจากชุมชนใกลเคียงพืน้ ทีโ่ ครงการ
• การใหขอมูลขาวสาร / กิจกรรมการใหความรูดานสิ่งแวดลอม
- ประชุมกับประชาชนในชุมชนที่ใกลเคียงกับพื้นที่โครงการ
- ทําการประเมินสิ่งแวดลอมขั้นตน

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-25


- ตีพิมพในหนังสือพิมพ (ครั้งที่ 4)
ขั้นที่ 5 การออกแบบโครงการ/การวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมเบื้องตน
• วัตถุประสงค
- รับฟงรายละเอียดขอมูลที่เกีย่ วของจากผูที่ไดรับผลกระทบโดยตรง
และขอความคิดเห็นสําหรับมาตรการบรรเทาปญหา
• การใหขอมูลขาวสาร / กิจกรรมใหความรูดานสิ่งแวดลอม
- การสํารวจขอมูลทางสังคม
- ทําสรุปรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและการวิเคราะห
ผลกระทบสิ่งแวดลอมอยางเต็มรูปแบบ
- นําเสนอการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม
- ตีพิมพในหนังสือพิมพ (ครั้งที่ 5)
- การจัดนิทรรศการ
• การประชาพิจารณ (ถาจําเปน)
ขั้นที่ 6 การดําเนินการ / การกอสราง
• วัตถุประสงค
- ใหขอมูลกับชุมชนเกี่ยวกับกิจกรรมการกอสรางอยางครบถวน
- แกปญหาของขอของใจตาง ๆ ที่มี เกี่ยวกับการกอสราง
- วิเคราะหผลกระทบจากการกอสราง
• การใหขอมูลขาวสาร / กิจกรรมการใหความรูดานสิ่งแวดลอม
- จัดใหมีศูนยโทรศัพทสายดวน เพื่อรับฟงขอมูลจากประชาชน
- ประชุมกับชุมชนในพื้นที่โครงการ
- ตีพิมพในหนังสือพิมพ (ครั้งที่ 6)

ขั้นที่ 7 การดําเนินการ และการบริหารการจัดการ


• วัตถุประสงค
- รับขอมูลเกี่ยวกับผลกระทบของโครงการ และจัดการกับขอขัดแยง
ตาง ๆ
• การใหขอมูลขาวสาร / กิจกรรมการใหความรูดานสิ่งแวดลอม
- จัดใหมีศูนยโทรศัพทสายดวนถึงองคกรปกครองสวนทองถิ่นโดย
ตรง เพื่อรับขอมูลจากประชาชน
- จัดการประชุมกับผูนําชุมชนอยางตอเนื่องเปนประจํา

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-26


ง. กําหนดการ
• กําหนดระยะเวลาของแตละขั้นตอน ตั้งแตขั้นตอนที่ 1 ถึง 7
• รางกําหนดการของแตละขั้นตอนและกิจกรรม ในรูปแบบของแผนภูมิ
จ. คาใชจาย งบประมาณ และความรับผิดชอบ
• ประมาณการคาใชจายขององคกรปกครองสวนทองถิ่น จากระยะเวลาการทํา
งานของเจาหนาที่ และคาใชจาย
• หนาที่ความรับผิดชอบ และบทบาทของแตละภารกิจในแตละขั้น ทั้งองคกร
ปกครองสวนทองถิ่น องคกรพัฒนาชุมชน (NGO) ตัวแทนชุมชน และ
หนวยงานทองถิ่น
ฉ. ขอเสนอติดตามตรวจสอบ การพิจารณา และทบทวนแผนงาน
• ขอเสนอชวงเวลาในการพิจารณาแผนงาน

2-4-5. รายละเอียดการติดตามตรวจสอบผลการดําเนินงาน ของแผนการมีสวนรวมของประชาชน


• ระยะเวลาการทบทวนแผน
• รายชื่อผูเกี่ยวของที่มีสวนไดสวนเสีย
• กิจกรรมที่ตองดําเนินการ รวมทั้งวันที่ เวลา และสถานที่ประชุม
• ระดับของการมีสวนรวมในการประชุมของผูที่เกี่ยวของ
• หัวขอหลักของการพิจารณาและเรื่องที่เสนอ
• ขอเสนอเพื่อจัดการกับเรื่องตาง ๆ และปญหาตาง ๆ ที่เสนอ
• รายละเอียดขอมูลจากหนวยงานเทศบาล ทั้งที่เปนเอกสารและโดยการพูดคุย
• วิธีการเสนอปญหาของผูที่มีสวนรวมจากชุมชน
• ปญหาที่เคยประสบในระหวางดําเนินกิจกรรมการมีสวนรวมของประชาชน
และวิธีการทีจ่ ะดําเนินการตอไปในอนาคต

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-27


2-5. การวางแผนการจัดเก็บคาบริการ

2-5-1. คาใชจายในการจัดการขยะมูลฝอย

พึงระลึกไววาคาใชจายในการจัดการขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น ทั้งจากการเก็บขนขยะมูลฝอยและการ
กําจัดขยะมูลฝอยคอนขางสูงดังนั้น การจัดเก็บรายไดเพื่อใหครอบคลุมคาใชจายทั้งหมดจึงเปน
เรื่องคอนขางยาก

„ คาใชจายจริงในการดําเนินงานเก็บรวบรวม และกําจัดขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่นตาง ๆ
ในป พ.ศ.2540
เทศบาล ปริมาณขยะ การเก็บขน2 การกําจัด รวม จํานวนของ คาใชจายในการ
1 คาใชจาย คาเก็บขน คาใชจาย คากําจัด คาใชจาย ตนทุน ครัวเรือน จัดการขยะตอครัวเรือน
ทีเก็บขนได

(1000 บาท) (บาท/ตัน) (1000 บาท) (บาท/ตัน)ํ ั (1000 บาท) (บาท/ตัน) (บาท/ครัวเรือน/เดือน)
(ตัน)
อุดรธานี 69,350 12,578 181 587 8 13,165 190 45,575 24
อุบลราชธานี 73,000 16,279 223 312 4 16,591 227 23,822 58
เชียงราย 29,200 5,705 195 1,099 38 6,804 233 21,097 27
สกลนคร 20,805 1,934 93 74 4 2,008 97 15,202 11
อํานาจเจริญ 10,950 3,451 315 2,871 262 6,322 577 7,231 73
พัทลุง 12,775 6,918 542 399 31 7,317 573 11,006 55
ฉะเชิงเทรา 23,360 4,811 206 543 23 5,354 229 14,851 30
สุพรรณบุรี 16,425 11,398 694 - - - - 8,792 -
ปราจีนบุรี 7,300 3,253 446 132 18 3,385 464 7,057 40
อางทอง 7,300 1,614 221 450 62 2,064 283 4,296 40
นาน 12,410 2,695
2
217 252 20 2,947 237 7,628 32
บานหมี่ 2,920 560 192 319 109 879 301 1,260 58
แมสอด 15,330 5,770 376 289 19 6,059 395 10,992 46
บางคลา 3,650 3,128 857 - - - - 2,962 -
โคกสําโรง 3,285 1,739 529 1,565 476 3,304 1,006 2,288 120
พระอินทราชา3 5,475 1,443 264 276 50 1,719 314 1,889 76
เฉลีย่ 19,596 5,372 347 655 80 6,027 427 11,622 49

หมายเหตุ : 1) ประมาณการบนสมมุติฐานวาใหมีการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยครอบคลุมพื้นที่เขตเทศบาลทั้งหมด
2) ประมาณการคาใชจายในการเก็บขนขยะ บนสมมุ ติ ฐ านว า ค า น้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง คิ ด เป น ร อ ยละ 60
ของคาแรงงาน คาบํารุงรักษาคิดเปนรอยละ 30 ของคาน้ํามันเชื้อเพลิง และคาใชจายอื่น ๆ คิดเปน
รอยละ 10 ของคาจางแรงงาน
3) จํานวนครัวเรือนของสุขาภิบาลพระอินทราชา คาดประมาณจากจํานวนประชากร 6,410 คน มี
จํานวนสมาชิกในครัวเรือน = 3.4 คน
ที่มา : โครงการศึกษาความเหมาะสมของคาบริการ และองคกรบริหารของทองถิ่นที่จัดใหมีระบบบําบัดน้ําเสีย
และระบบกําจัดขยะมูลฝอย ; สํานักนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม, ตุลาคม 2543

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-28


2-5-2. แบบสํารวจภาคสนามเพื่อสอบถาม “ความสามารถในการจายคาบริการ”

♦ เนื่องจากคาใชจายในการจัดการขยะมูลฝอยคอนขางสูง ดังนั้นคาบริการที่จัดเก็บควรจะ
กําหนดจากความสามารถของประชาชนที่จะจายได
♦ สํารวจหาจํานวนเปยรอยละของประชาชนที่ยอมรับ คาใชจายจริงของการจัดการขยะมูลฝอย
(แถวที่ 2 และ 3 ของตารางดานลาง)
♦ สํารวจหาคาบริการเฉลี่ยที่ยอมรับไดจากประชาชนที่ไมยอมรับคาบริการที่เทากับคาใชจายที่
เกิดขึ้นจริง โดยใชแบบสอบถาม (แถวที่ 4 และ 5ของตารางดานลาง)
♦ จากนั้น คํานวณคาบริก ารเฉลี่ยโดยน้ําหนัก (ตัว อยางคาธรรมเนียมของจังหวัดอุด รธานี,
(40 x 0.28) + (26 x 0.72) = 30)

„ คาธรรมเนียมการจัดเก็บคาบริการระบบกําจัดมูลฝอยโดยเฉลี่ย จากกรณีศึกษาขององคกรปกครอง
สวนทองถิ่นตาง ๆ
คาธรรมเนียมการ เปอรเซ็นต คาธรรมเนียม เปอรเซ็นต ของ คาเฉลี่ยจากการ
จัดเก็บ คิดจากคา ของประชาชน การจัดเก็บ จาก ประชาชนที่ เทียบสัดสวน
องคกรปกครอง
ดําเนินการจริง ที่ยอมรับ แบบสอบถาม ยอมรับ
สวนทองถิ่น (บาท/ครัวเรือน/ (บาท/ครัวเรือน/ (บาท/ครัวเรือน/
เดือน) (%) เดือน) (%) เดือน)
อุดรธานี 40 28 26 72 30
อุบลราชธานี 30 30 20 70 23
เชียงราย 40 9 16 91 18
สกลนคร 60 24 25 76 33
อํานาจเจริญ 63 17 21 83 28
พัทลุง 65 21 23 79 32
ฉะเชิงเทรา 60 37 29 63 40
สุพรรณบุรี 57 21 26 79 33
ปราจีนบุรี 42 30 25 70 30
อางทอง 30 58 21 42 26
นาน 45 18 23 82 27
บานหมี่ 45 22 19 78 25
แมสอด 30 52 28 48 29
บางคลา 17 58 13 42 15
โคกสําโรง 45 30 25 70 31
พระอินทราชา 40 86 38
24
14 40
เฉลี่ย 44 34 24 66 31
ที่มา : โครงการศึกษาความเหมาะสมของคาบริการ และองคกรบริหารของทองถิ่นที่จัดใหมีระบบบําบัดน้ําเสีย
และระบบกําจัดขยะมูลฝอย ; สํานักนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม, ตุลาคม 2543
2-5-3 โครงสรางคาใชจายเฉลี่ยของครัวเรือนตอเดือน

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-29


♦ กรุณาตรวจสอบ “ความสามารถในการจายคาบริการ” เปรียบเทียบกับโครงสรางคาใชจาย
เฉลี่ยของครัวเรือนตอเดือนในพื้นที่ที่กําลังวางแผน แผนผังขางลางแสดงโครงสรางคาใชจาย
เฉลี่ยของครัวเรือนตอเดือนขององคกรปกครองสวนทองถิ่น 3 ระดับ

„ โครงสรางคาใชจายเฉลีย่ ของครัวเรือนตอเดือนในป 2543


รายจ า ย (บาท/ครัว เรือ น/เดื อ น )
พื้นที่ในเขต 0 1,000 2,000 3,000 4,000 5,000 6,000

28.1%
กรุงเทพมหานคร อาหารและเครื่อ งดื่ ม
24.5%
5,498

ที่ อ ยู อ าศั ย และกิ จ กรรมในครัว เรือ น 4,800


15.1%
การเดิ น ทาง และติ ด ต อ สื่ อ สาร 2,964
14.6%
ค า ใช จ า ยสํ า หรับ สิ่ ง อุ ป โภค 2,852
3.8%
การศึ ก ษา 747
3.4%
เครื่อ งนุ ง ห ม และรองเท า 673
2.6%
ค า ดู แ ลรา งกาย 504
2.4%
ค า รัก ษาพยาบาล 473

คาใชจายทั้งหมด การพั ก ผ อ นและการอ า นหนั ง สื อ


2.2%
432
2.0%
เครื่อ งดื่ ม ที่ มี แ อลกอฮอล
=19,582 0.9%
390

ผลิ ต ภั ณ ฑ บุ ห รี่ 179


บาท/ครัวเรือน/เดือน อื่ น ๆ
0.4%
70

รายจาย (บาท/ครัวเรือน/เดือน)
พื้นที่ในเขต 0 500 1,000 1,500 2,000 2,500 3,000 3,500 4,000

เทศบาล อาหารและเครื่องดื่ม
30.1%
3,440
21.5%
ที่อยูอาศัย และกิจกรรมในครัวเรือน 2,449
16.6%
การเดินทาง และติดตอสื่อสาร 1,896
14.3%
คาใชจายสําหรับสิ่งอุปโภค 1,627
3.9%
การศึกษา 441
2.8%
เครื่องนุงหม และรองเทา 324
2.6%
คาดูแลรางกาย 302
2.3%
คารักษาพยาบาล 257
2.1%
การพักผอนและการอานหนังสือ 239
คาใชจายทั้งหมด เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล 2.0%
233
1.3%
=11,417 ผลิตภัณ ฑบุหรี่ 143
0.6%
อื่น ๆ
บาท/ครัวเรือน/เดือน 66

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-30


รายจาย (บาท/ครัวเรือน/เดือน )
พื้นที่นอกเขต 0 500 1,000 1,500 2,000 2,500 3,000

เทศบาล อาหารและเครื่องดื่ม
35.8%
2,559
20.9%
ที่อยูอาศัย และกิจกรรมในครัวเรือน 1,499
14.1%
การเดินทาง และติดตอสื่อสาร 1,008
11.7%
คาใชจายสําหรับสิ่งอุปโภค 836
4.1%
การศึกษา 291
2.8%
เครื่องนุงหม และรองเทา 204
2.7%
คาดูแลรางกาย 195
2.0%
คารักษาพยาบาล 143
1.8%
การพักผอนและการอานหนังสือ 128

คาใชจายทั้งหมด เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล 1.5%


104
1.4%
=7,158 ผลิตภัณ ฑ บุหรี่ 99
1.3%
อื่น ๆ 92
บาท/ครัวเรือน/เดือน

ที่มา : สํานักงานสถิติแหงชาติ “การสํารวจสถานะทางเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน” พ.ศ. 2543

2-6. การเก็บรวบรวมและการขนสงขยะมูลฝอย
2-6-1. จํานวนรถเก็บขนขยะมูลฝอย
♦ ขอมูลที่ตองการสําหรับการคํานวณ จํานวนของรถเก็บขนขยะมูลฝอย มีดังนี้
• W (ตัน/วัน) : ปริมาณขยะทั้งหมดที่เกิดขึ้นใน 1 วัน จากพื้นที่เปาหมาย
• H : จํานวนวันในสัปดาห ที่ไมไดทําการเก็บขน
• L (ตัน/คัน) : คาเฉลี่ยปริมาณของขยะมูลฝอยที่บรรทุกไดตอคัน
L = ปริมาตรความจุของรถ 1 คัน (ลบ.ม.) x ความหนาแนนเฉลี่ยของ
ขยะมูลฝอย (ตัน/ลบ.ม.)
(ตัวอยาง : ความหนาแนนเฉลี่ยประมาณ 0.2 ถึง 0.4 ตัน/ลบ.ม.)
• Trip : จํานวนเที่ยวเฉลี่ยไปกลับใน 1 วัน
♦ จํานวนรถเก็บขนขยะมูลฝอย คํานวณโดยใชสมการดังตอไปนี้
• จํานวนรถเก็บขนขยะมูลฝอย N = W x K/L/Trip
โดยที่ K = คาที่แสดงถึงสัดสวนขยะมูลฝอยที่มีปริมาณมากขึ้นเนื่องจากมี
ขยะคงคางจากวันที่ไมไดใหบริการจัดเก็บคํานวณไดจาก
K = 7 / (7 – H)
♦ (สําหรับการอางอิง) จํานวนเที่ยวของการเก็บขน ควรใชวิธีการที่แมนยําและถูกตอง
มากขึ้น ไดแก วิธี “Motion Trip Study”
• Motion Trip Study เปนวิธีการบันทึกเวลาในทุกกิจกรรมของการเก็บ
รวบรวมขยะของรถเก็บขน โดยใชนาฬิกาในการบันทึกเวลา เพื่อติดตาม
การทํางานของรถเก็บขนขยะ

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-31


2-6-2. ประเภทของรถเก็บขนมูลฝอยและคาขนสง

ประเภทของรถเก็บขนมูลฝอยและคาขนสง

รถยนตเก็บขนธรรมดาเปดขาง
ความจุ 7.5 ลบ.ม.

รถยนตเก็บขนธรรมดาเปดขาง
คาใชจาย (บาท/ตัน)

ความจุ 10 ลบ.ม.

รถยนตเก็บขนธรรมดาเปดขาง
ความจุ 12 ลบ.ม.

ขนสงโดยรถเทรลเลอร ความจุ 30 ลบ.ม.

ระยะทางจากชุมชนถึงสถานที่กําจัดมูลฝอย (กิโลเมตร)
สัญลักษณ : (5) จํานวนเจาหนาที่เก็บขนมูลฝอย

รูปแสดงการเปรียบเทียบคาใชจายในการเก็บขนและขนสงมูลฝอยโดยทางตรงและโดยผานสถานีขนถาย

ที่มา: โครงการวางแผนจัดการสิ่งแวดลอมฝงทะเลตะวันออก, สํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-32


2-7. การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล
2-7-1. ตัวอยางการคํานวณระบบบําบัดน้ําเสียจากน้ําชะมูลฝอย โดยใชระบบบอผึ่ง

1. เกณฑการออกแบบ
• ปริมาณน้ําชะมูลฝอยคิดเปน 20%จากปริมาณฝนที่ตกลงบนพื้นที่ฝงกลบ
• ปริมาณน้ําฝนรายเดือนสูงสุด ในรอบ 20 ป ไดแก เดือนกันยายน
- ปริมาณฝนเฉลี่ย = 193.20 มม./เดือน
- จํานวนวันที่มีฝนตก = 16.50 วัน
- ปริมาณฝนใน 1 วัน = 193.20 / 16.50
= 11.71 มม./วัน
2. ปริมาณน้ําชะขยะ
• พื้นที่รับน้ําฝน (พื้นที่ฝงกลบ) = 48,000 ตารางเมตร
(48,000/1,600 = 30 ไร)
• ปริมาณฝนตก = 11.71 มม./วัน
• ปริมาณน้ําฝน = 562.08 ลบ.ม./วัน
• ปริมาณน้ําชะขยะ (20%) = 562.08 x 0.20
= 112.42 ลบ.ม./วัน
3. ระบบบําบัดน้ําเสีย
• ระบบบําบัดน้ําเสีย เลือกใชระบบที่เหมาะสม ไดแก ระบบบอผึ่ง
4. คุณสมบัติของน้ําชะขยะ
• BOD เขา = 1,000 มก./ลิตร
• ปริมาณ BOD = 1,000 x 112.42
1,000
= 112.42 กก./วัน
5. การคํานวณ
ก) บอหมัก (บอแรก)
• BOD เขาบอ = 1,000 มก./ลิตร
= 112.42 กก./วัน
• อัตรารับสารอินทรีย = 500 กรัม BOD5/ตร.ม./วัน
• พื้นที่ที่ตองการ = 112.42 / 500
= 224.84 ตร.ม.
= 0.12 ไร

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-33


• ความลึกของบอ = 2.50 เมตร
• ปริมาตรของบอ = 224.84 x 2.50
= 562.10 ลบ.ม.
• ระยะเวลาเก็บกักในบอ = 562.10 / 112.42
=5 วัน
• อัตราการกําจัด BOD = 50 %
• ดังนั้น BOD ออกจากบอ = 1,000x(1.00– 0.50)
= 500 มก./ลิตร
ข. บอผึ่ง (บอที่สอง)
• BOD เขาบอ = 500 มก./ลิตร
= 500x112.42/1,000
= 56.21 กก./วัน
• อัตรารับสารอินทรีย = 34 กรัม BOD5/ ตร.ม./ วัน
• พืน้ ที่ของบอที่ตองการ = 56.21x1,000/34
= 1,653.23 ตร.ม.
= 1.03 ไร
• ความลึกของบอ = 2.00 เมตร
• ปริมาตรของบอ = 1,653.23x 2..00
= 3,306.46 ลบ.ม.
• ระยะเวลาเก็บกักในบอ = 3,306.46 / 112.42
= 29.41
• อัตราการกําจัด BOD = 80 %
• ดังนั้น BOD ออกจากบอ = 500x(1.00– 0.80)
= 100 มก./ลิตร
ค. บอบมบอแรก (บอที่สาม)
• BOD เขาบอ = 100 มก./ลิตร
= 100x112.42/1,000
= 11.24 กก./วัน
• ระยะเวลาเก็บกักในบอ = 7 วัน
• ปริมาตรของบอ = 112.42 x 7
= 786.94 ลบ.ม.
• ความลึกของบอ = 1.50 เมตร

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-34


• พื้นที่ของบอ = 786.94/1.50
= 524.62 ตารางเมตร
• อัตราการกําจัด BOD = 60 %
• ดังนั้น BOD ออกจากบอ = 100x(1.00– 0.60)
= 40 มก./ลิตร

ง. บอบมบอที่ 2 (บอที่สี่)
• BOD เขาบอ = 40 มก./ลิตร
= 40x112.42/1,000
= 4.50 กก./วัน
• ระยะเวลาเก็บกักในบอ =7 วัน
• ดังนั้น ปริมาตรของบอ = 112.42 x 7
= 786.94 ลบ.ม.
• ความลึกของบอ = 1.50 เมตร
• พื้นที่ของบอ = 786.94/ 1.50
= 524.62 ตารางเมตร
• อัตราการกําจัด BOD = 60 %
• ดังนั้น BOD ออกจากบอ = 40x(1.00– 0.60)
= 16 มก./ลิตร
< 20มก./ลิตร OK

องคกรปกครองสวนทองถิ่นสามารถใชน้ําในบอที่สี่ (บอบมที่สอง) สําหรับการรดน้ําตนไม ในพื้นที่


ฉนวน ปลูกตนไม รดน้ําถนนปองกันฝุน ลางรถ ฯลฯ

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 2 รายละเอียดขอมูลทางเทคนิค • ผ 2-35


ภาคผนวก 3
วิธีการประเมินทางเศรษฐศาสตรและการเงิน
ภาคผนวก 3
วิธีการประเมินทางเศรษฐศาสตรและทางการเงิน

3-1. วิธีการทางเศรษฐศาสตร

3-1-1. การเลือกใชอัตราคิดลด (Discount Rate)

เปนการยากที่จะตอบวาจะใชอัตราคิดลดเทาไรในการประเมินทางเศรษฐศาสตร เนื่องจากมีขอ
จํากัดหลายประการ ดังนี้
• ในการประเมินทางเศรษฐศาสตรของโครงการหนึ่งๆ จะเลือกใชอัตราคิดลดเพียงคาเดียวเทา
นั้น ถึงแมวาอาจจะมีการเลือกใชอัตราคิดลดหลายคาในการวิเคราะหขอมูลซ้ําๆ หลายครั้งใน
ขั้นวิเคราะหความออนไหว (sensitivity analysis) ของโครงการก็ตาม แตจะเลือกใชเพียงคา
เดียวเทานั้นในการวิเคราะหอัตราสวนคาใชจายตอผลประโยชนที่ไดรับ (Cost/benefit) หรือ
รายการยอยตางๆ ของโครงการทางดานสิ่งแวดลอม และดานการพัฒนา
• อัตราคิดลดที่ใชจะไมสะทอนถึงสภาพเงินเฟอของปตาง ๆ มูลคาทั้งหมดที่วิเคราะหเปนราคา
จริง หรือราคาคงที่ในปตาง ๆ แลวคิดลดลงมา
• ตามทฤษฎีแลว อัตราคิดลดสามารถมีคาทั้งบวก ศูนย และติดลบได หากไมคิดลดลงมาที่ป
เดียวกัน (หรือใชอัตราคิดลดเปนศูนย) ก็จะเกิดปญหาในการเปรียบเทียบอัตราการบริโภคใน
ปปจจุบัน และปอนาคตได (ฐานเวลาตางกัน)

สําหรับการประเมินทางดานการเงิน อัตราดอกเบี้ยที่ใชมักสะทอนถึงอัตราทางการตลาดเพื่อการลง
ทุน และตนทุนของโครงการ ซึ่งมีความออนไหวและแปรผันตามกระแสการเงินในปจจุบันหรืออัตรา
เงินเฟอดวย อัตราคิดลดที่ใชในการประเมินทางเศรษฐศาสตรเปนคาที่ไมไดมาแบบงายนักในระบบ
เศรษฐกิจ และที่จริงแลวตองเลือกใชอยางระมัดระวัง นักเศรษฐศาสตรจึงไดพัฒนาระบบตารางและ
วิธีการในการเลือกใชอัตราคิดลดที่เหมาะสมตามปรากฎการณทางเศรษฐกิจและสังคมดังนี้

(1) คาเสียโอกาสของทุน (Opportunity Cost of Capital)

แนวทางนี้อยูบนพื้นฐานของการผลิตที่เกิดขึ้น เมื่อเงินตนไดถูกเลือกลงทุนในโครงการหนึ่ง
มากกวาอีกโครงการหนึ่ง หรือการเลือกลงทุนในโครงการใดโครงการหนึ่งโดยเฉพาะของ
รัฐบาลมากกวาของเอกชน ตามความหมายนี้ “คาเสียโอกาส” ของเงินลงทุนจะเกี่ยวของ
โดยตรงกับทฤษฎีการลงทุนเพื่อการผลิต (Capital productivity) ในการลงทุนสรางโรงงาน
หรือซื้อเครื่องจักร คุณคาของเงินแตละหนวยที่ลงทุนไปจะบังเกิดผลตอบแทนจํานวนหนึ่งที่
แนนอนเมื่อเวลาผานไป ซึ่งอัตราคิดลดในกรณีนี้ก็คืออัตราคืนทุนนั่นเอง

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 3


วิธีการประเมินทางเศรษฐศาสตรและทางการเงิน • ผ 3-1
แนวทางนี้จะใกลเคียงกับอัตราดอกเบี้ยในทางการเงินมาก แมวาอัตราดอกเบี้ยทางการเงินอาจจะ
ปรับสูงขึ้นเล็กนอยสําหรับภาวะเงินเฟอดวย มูลคาเสียโอกาสที่แทจริง (หลังจากปรับอัตราเงิน
เฟอแลว) จะขึ้นกับการเปลี่ยนแปลงรายไดที่แทจริง การกระจายรายได รสนิยม และเทคโนโลยี

การเลือกใชอัตราคิดลดตามวิธีคิดแบบมูลคาเสียโอกาสของการลงทุนนี้ พบไดในโครงการ
เงินกูของธนาคารโลก (World Bank) ที่มักมีเงื่อนไขวาโครงการที่มีสิทธิไดรับเงินกูจะตอง
รับรองวาโครงการจะไดอัตราคืนทุนรายปไมต่ํากวาอัตราที่กําหนด ซึ่งธนาคารโลกคิดมาจาก
มูลคาเสียโอกาสของการลงทุนนั่นเอง

(2) มูลคาในการยืมเงิน (Cost of Borrowing Money)

รัฐบาลของหลายประเทศมีการยืมเงินมาใชในโครงการพัฒนาตางๆ จากแหลงเงินทุนทั้งภาย
ในหรือจากตางประเทศ กลไกทางการเงินที่ใชจะรวมถึงหนี้ที่รัฐบาลกูยืม เงินเฟอหรือภาษี
จากการบริโภคของภาคเอกชน โดยเฉพาะอยางยิ่งกรณีที่ประเทศหนึ่งตองการกูยืมเงินจาก
ตาง ประเทศ แนวทางนี้อาจนํามาใชในการกําหนดอัตราคิดลดได

อันตรายของเงื่อนไขในการกูยืมเงินมักเกิดจากการใหกูยืมดวยเงื่อนไขพิเศษเกินไป (มีอัตรา
ดอกเบี้ยเงินกูที่ต่ํามาก หรือมีการชวยรับภาระดอกเบี้ยแทนใหดวย) ซึ่งจะเปนผลดีตอ
โครงการที่จะใหกําไรสุทธิในระยะยาวหรือในทางกลับกัน การคิดอัตราคิดลดสูงเกินปกติจะ
ดูเปนผลดีสําหรับโครงการที่มีผลตอบแทนในระยะสั้น การใหเงื่อนไขพิเศษเหลานี้มักผิด
เพี้ย นไปจากสภาพทางเศรษฐกิจ ที่แ ทจ ริง ซึ่ง จะทํ า ใหเ กิ ด ความผิ ด พลาดในการจัด สรร
ทรัพยากรที่มีอยูจํากัดได

(3) อัตราทางสังคมที่ขึ้นกับกาลเวลา (Social Rate of Time Preference)

แนวความคิดนี้เกี่ยวของกับความสามารถของสังคมในการสะทอนอัตราคิดลดไดแมนยํากวา
การใชราคาตลาดเอกชน (ที่เปรียบเทียบระหวางอัตราการบริโภคในปจจุบันและอนาคต) ถา
ผูบริโภคแตละคนใชจายในปจจุบันมากเกินกวาการเก็บออมไวเพื่อการลงทุน และการผลิต
ในอนาคตแลว อัตราทางสังคมที่ขึ้นกับเวลาจะนําไปสูการลดลงของอัตราคิดลดที่รุนแรงกวา
การคิดตามราคาตลาด (เนื่องจากชวงอายุขัยของผูบริโภคแตละคนจะสั้นกวาชวงอายุโครง
การมาก) อัตราคิดลดตามวิธีนี้จะขึ้นกับสถานการณของแตละประเทศโดยเฉพาะ (ถาอัตรา
ทางสังคมถูกกําหนดโดยกระบวนการทางการเมืองก็จะขึ้นกับระยะเวลาที่ผูมีอํานาจทางการ
เมืองดํารงตําแหนง หรือรอบของการเลือกตั้ง ซึ่งมักไมนานนัก)

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 3


วิธีการประเมินทางเศรษฐศาสตรและทางการเงิน • ผ 3-2
โดยสรุปแลว อัตราคิดลดที่แทจริงที่จะใชในการวิเคราะห อัตราสวนผลประโยชนตอตนทุน
เปนคาเฉพาะของแตละประเทศ และอาจถูกกําหนดขึ้นเปนนโยบายของรัฐบาล ปจจัยสําคัญ
ที่มีผลตอการกําหนดอัตรานี้คือ มูลคาเสียโอกาสในการลงทุน เงื่อนไขของหนวยงานที่
บริจาคหรือใหเงินกู ตนทุนทางการเงินของรัฐบาล และแนวคิดของรัฐบาลตอการบริโภค-
การลงทุน ของภาค เอกชนผสมผสานไปกับความเกี่ยวของถึงประชากรรุนตอไปในอนาคต

ผูวิเคราะหโครงการควรหาแนวทางการกําหนดอัตราคิดลดจากหนวยงานราชการ ที่เปนผู
กําหนดนโยบายของประเทศ หากไมมีแนวทางดังกลาว นักเศรษฐศาสตรจะตองทําการ
ประเมินดวยวิธีทางเศรษฐศาสตร โดยใชชวงของอัตราที่สะทอนสภาพการลงทุนโครงการ
ในปจจุบันหรือเร็ว ๆ นี้ ของภาครัฐและเอกชนในประเทศ ซึ่งอัตราเหลานี้จะอยูบนพื้นฐาน
ของคาใชจายจริงที่มีการปรับดวยอัตราเงินเฟอแลว

3-1-2. การประเมินดวยวิธีคํานวณ

เมื่อกําหนดชวงเวลาและอัตราคิดลดไดแลวสามารถคํานวณคาทางเศรษฐศาสตรไดหลายรูปแบบ
ในหัวขอนี้จะกลาวถึงสูตรคํานวณตาง ๆ ที่นิยมใชกัน และการใชประโยชนจากตารางดอกเบี้ย
เงินตน และตารางในการคิดลดตาง ๆ รวมทั้ง ตัวอยางการคํานวณของเทคนิควิธีตาง ๆ ดังนี้

(1) การคํานวณ “มูลคาปจจุบัน” (Present Value)

การวิเคราะหสวนใหญเนนที่เปาหมายของโครงการ โดยเปรียบเทียบจากอัตราสวนรายการ
ผลประโยชนที่ไดทั้งหมด (benefit) ตอเงินลงทุนทั้งหมด(cost) ตลอดชวงเวลาของโครงการ
ตัวอยางการคํานวณที่นําเสนอตอไปนี้ทั้งหมดเปนการประเมินโครงการทางเศรษฐ ศาสตร

สมมุติฐานเกี่ยวกับเวลา และรายการทางการเงินตาง ๆ ที่จําเปน ไดแก


• จะนับปเริ่มตนของโครงการใด ๆ ก็ตามเปนปที่ 0 หรือปที่ 1
• จะเลือกปใดเปนปเริ่มตนก็ได แตปฐาน (base year) ในการคํานวณตองกําหนดแนนอน
• กระแสการเงินตาง ๆ (ทั้งเงินลงทุน และผลประโยชนที่ได) จะนับเริ่มตนที่ปลายปนั้น
ๆ เชน กระแสการเงินในปที่ 2 เกิดขึ้นเมื่อสิ้นปที่ 2 ตนทุนและกําไรตาง ๆ ที่เกิดขึ้นใน
ระหวางป จะถูกคิดลดเปนคาของปนั้นทั้งป เชน เงินลงทุนที่เกิดขึ้น ณ เวลาใดก็ตามใน
ปที่ 5 จะถูกคิดลดเปนคาของปที่ 5 ทั้งป การสมมติเชนนี้ อาจไดผลที่เบี่ยงเบนไปจาก
จริงเล็กนอย เนื่องจากการใชจายจริงหรือใบเสร็จตาง ๆ จะถูกคิดลดลงนับจากเวลาที่ใช

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 3


วิธีการประเมินทางเศรษฐศาสตรและทางการเงิน • ผ 3-3
ไปจริง ซึ่งคาเบี่ยงเบนนี้โดยปกติมักมองขามไปได แตหากตองการความแมนยําจริงๆ
ตองคิดจากเวลาที่ใชจายจริง ๆ ทุกรายการ
• คาใชจายตาง ๆ (ทั้งคาลงทุน และคาดําเนินการ) รวมทั้งผลกําไรตาง ๆ จะคิดเปนกระแส
การเงิน เชนเดียวกันหมด

สัญลักษณตาง ๆ ที่มักใชในสูตรของการคํานวณทางเศรษฐศาสตร ไดแก


r = อัตราคิดลด หรืออัตราดอกเบี้ย เปนเลขทศนิยม
n = จํานวนปทั้งหมดที่เกี่ยวของในการวิเคราะหทางเศรษฐศาสตร
t = ปที่เกี่ยวของแตละป โดยปกติจะเขียนไวขางใตเปนเลข 1, 2, …., n
Bt = ผลประโยชนที่ไดในปที่ t
Ct = คาใชจาย หรือเงินลงทุนในปที่ t (ทั้งตนทุน คาดําเนินการ คาบํารุงรักษา
หรือคาเปลี่ยนทดแทนเครื่องจักร)
∑ = ซิกมา, เปนสัญลักษณ แสดงถึงผลรวมของตัวแปรในชวงเวลาหนึ่ง ๆ
สูตรที่นิยมใชมากที่สุดในการศึกษาอัตราสวนผลประโยชนตอตนทุนคือสูตรหามูลคาปจจุบัน
สุทธิ (Net Present Value, NPV หรือ Net Present Worth) ซึ่งเปนการหามูลคาในปจจุบันของ
ผลประโยชนสุทธิ โดยการคิดมูลคาตาง ๆ เกี่ยวกับรายได-รายจาย ณ ปตาง ๆ ของโครงการ
กลับมาเปนมูลคาในปฐาน หรือปเริ่มตนของโครงการ(ปที่ 1) มีสูตร 2 สูตรที่ใหผลเทากันคือ

n (B t − C
t
) =
n

B t

n

C t
NPV = ∑ NPV
t =1
( 1 + r
t
) t =1
(1 + r ) t t =1
(1 + r )t
อัตราผลตอบแทนภายในทางเศรษฐศาสตร (Economic Internal Rate of Return : EIRR) คือ
อัตราผลตอบแทนการลงทุนที่ทําใหมูลคาปจจุบันของผลตอบแทน (Benefit) และเงินลงทุน
(Cost) เทากัน อัตรานี้ไดมาจากวิธีคํานวณ โดยคิด EIRR เทียบเทากับอัตราคิดลด (r) ตาม
สมการตอไปนี้

n (B t − C t ) n B t n C t
∑ = 0 ∑ = ∑
t =1
( 1 + r
t
) t =1
(1 + r ) t t =1
(1 + r )t
EIRR เปนที่นิยมใชในสถาบันการเงินตาง ๆ ในความหมายของอัตราคิดลด ที่ทําใหมูลคา
ปจจุบันของโครงการเทากับศูนย ถาคํานวณอัตราผลตอบแทนภายใน (EIRR) ได 15% และ

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 3


วิธีการประเมินทางเศรษฐศาสตรและทางการเงิน • ผ 3-4
คํานวณมูลคาของทรัพยากรที่ใชลงทุนได 10% หมายถึงวาโครงการนี้นาที่จะลงทุนได
ในทางเศรษฐศาสตร แตหากคิดมูลคาของทรัพยากรที่ใชในการลงทุนได 18% ก็แสดงวาเปน
โครงการที่ไมนาสนใจทางเศรษฐศาสตร การคํานวณ EIRR ใหอัตราคิดลดหลายคาได
เพราะเปนการยากที่จะหาคาอัตราคิดลดสําหรับกลุมเงื่อนไขตาง ๆ ที่ทําใหมูลคาปจจุบันเปน
ศูนยได ดังนั้นในการพิจารณาวาโครงการนาสนใจหรือไม ตองนําคา EIRR ที่คํานวณไดไป
ลองเปรียบเทียบอัตราคิดลดทางเศรษฐศาสตรวิธีอื่น ๆ ดวย

อัตราสวนผลประโยชนตอทุน (Benefit-Cost Ratio, B/C)

เปนการหาอัตราสวนของมูลคาปจจุบันของผลประโยชนหารดวยเงินลงทุน ดังสมการ
Bt

B C ratio =
(1 + r )t
Ct

(1 + r )t
อัตราสวนนี้เปนการเปรียบเทียบมูลคาคิดลดของผลประโยชนตอมูลคาคิดลดของเงินลงทุน(ใน
กรณีนี้จะคิดผลประโยชนเปนคารวม สวนเงินลงทุนจะประกอบดวยคาลงทุน คาดําเนินการ คา
บํารุงรักษา และการเปลี่ยนทดแทนเครื่องจักร) อีกวิธีหนึ่งในการคิด B/C จะคิดผล ประโยชน
สุทธิจากคาดําเนินการสุทธิ และคิดคาลงทุนเมื่อเริ่มโครงการนั้น โดยมีสมมติฐานวาคา
ดําเนินการในแตละปมาจากคาบริการและรายไดอื่นในปนั้นๆแลว จึงเทียบเฉพาะผล ประโยชน
สุทธิกับคาลงทุนเทานั้น ถาอัตราสวน B/C เทากับ 1 หมายความวาโครงการนี้ไมเกิดผล
ประโยชนเลยตลอดอายุโครงการ จึงทําใหเมื่อคิดลดผลประโยชนที่ไดไปในปเริ่มโครงการแลว
มีคาเทากับผลการคิดลดคาลงทุนตาง ๆ ถา B/C ต่ํากวา 1 หมายถึงเปนโครงการที่ขาดทุนในแง
เศรษฐศาสตร

(2) การเปรียบเทียบมูลคาปจจุบัน จากตัวชี้วัดทั้งสาม

ตัวชี้วัดทั้ง 3 ในที่นี้ตางใชมูลคาปจจุบันของกระแสผลประโยชน และเงินลงทุนรายปมาคิด คือ


มูลคาปจจุบันสุทธิ = (มูลคาปจจุบันของผลประโยชน–มูลคาปจจุบันของคาใชจาย)
(Net Present Value : NPV)

อัตราผลตอบแทนภายใน = (มูลคาปจจุบันของผลประโยชน - มูลคาปจจุบันของคาใชจาย)


ทางเศรษฐศาสตร (EIRR)

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 3


วิธีการประเมินทางเศรษฐศาสตรและทางการเงิน • ผ 3-5
อัตราสวน B/C = มูลคาปจจุบันของผลประโยชน
มูลคาปจจุบันของคาใชจาย

คาเหลานี้จะมีขอบงชี้สัมพันธกัน ดังนี้
NPV B/C ratio EIRR
ถา NPV > 0 ดังนั้น B/C ratio > 1 และ EIRR > r
ถา NPV < 0 ดังนั้น B/C ratio < 1 และ EIRR < r
ถา NPV = 0 ดังนั้น B/C ratio = 1 และ EIRR = r

การเลือกตัวชี้วัดตัวใดตัวหนึ่งใน 3 ตัวนี้มาใชในการจัดทําโครงการหรือเลือกโครงการนั้นเปนสิ่ง
สําคัญ แมวาทั้ง 3 ตัวจะมาจากการคิดลดเปนมูลคาปจจุบันของกระแสคาใชจาย และกระแสผล
ประโยชน ซึ่งเปนเปาหมายทางเศรษฐศาสตรที่เราตองการใหไดสูงสุด ในทางกลับกันจะไม
ถูกตองเสมอไปถาคิดจะใหได EIRR หรือ B/C สูงสุดเทานั้นที่ถูกตองคือควรใหโครงการมีมูลคา
ปจจุบันสุทธิสูงสุดมากกวา ในทํานองเดียวกัน มูลคาปจจุบันสุทธิ มักเปนเงื่อนไขที่ใชเลือกหรือ
จัดลําดับความสําคัญแผนงานวาควรอนุมัติหรือไม หรือควรขยายผลตอ ในกรณีที่ไมมีขอจํากัด
ของงบลงทุนจํากัด จะตองเลือกอนุมัติโครงการที่ใหมูลคาปจจุบันสุทธิสูงสุดกอน

คุณลักษณะของมูลคาปจจุบันทั้ง 3 รูปแบบไดแจกแจงเปนตารางในหัวขอ 3-4 ภาคผนวก 3 แยก


ใหเห็นระหวางการคัดเลือก หรือจัดลําดับความสําคัญของโครงการภายใตเงื่อนไข 3 ขอ คือ
โครงการอิสระที่ไมมีขอจํากัดของเงินลงทุน โครงการอิสระที่มีขอจํากัดของเงินลงทุน และ
โครงการที่ใหประโยชนรวมกัน สําหรับโครงการอิสระที่ไมมีขอจํากัดในการลงทุน สามารถใช
ตัวชี้วัดตัวไหนก็ไดในการพิจารณาวาควรอนุมัติหรือไม แตสําหรับโครงการที่มีขอแมในการลง
ทุนอาจจะอนุมัติโครงการที่ไมคุมคาทางเศรษฐศาสตรบางโครงการไดดวย ในกรณีเชนนี้จะใช
B/C ชวยจัดลําดับความสําคัญของโครงการไดถูกตองกวา สําหรับโครงการที่ใหประโยชนรวมกัน
(เชน มีหลายทองถิ่นใชพื้นที่บําบัดแหงเดียวกัน) คา NPV เปนคาที่จะชวยในการเลือกโครงการได
ถูกตองที่สุด การพิจารณาโครงการในกรณีตาง ๆ ที่กลาวมาแลว จะเลือกโดยดูโครงการที่ใหคา NPV
สูงสุดเปนเกณฑ

3-1-3. การจัดการกับขอมูลที่ใชประเมิน

การประเมินทางเศรษฐศาสตรที่ดีจําเปนตองมีความเขาใจในหลักการของคําที่ขีดเสนใตที่จะนํา
เสนอเพื่อจะไดจัดการกับขอมูลและนํามาคํานวณเพื่อชวยใหการประเมินงายขึ้นได หัวขอนี้จะ

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 3


วิธีการประเมินทางเศรษฐศาสตรและทางการเงิน • ผ 3-6
กล า วถึ ง วิ ธี ก ารในการใช สู ต รที่ นํ า เสนอไปแล ว รวมทั้ ง การใช ต ารางคิ ด มู ล ค า สะสม
(Compounding Tables) และตารางมูลคาคิดลด (Discounting Tables) ซึ่งมีในตํารามาตรฐานทาง
เศรษฐศาสตร และทางสถิติหลายเลม ซึ่งคําที่ควรรูจักประกอบดวย

มูลคาสะสม (Compounding) เปนการหามูลคาในอนาคตของผลรวมในปจจุบันจากสูตร


FVn = P (1+r)n
เมื่อ FVn = มูลคาในอนาคตปที่ n
P = เงินตนในปจจุบัน
r = อัตราดอกเบี้ย
สูตรนี้ใชมากในการคิดหาเงินที่ไดจากบัญชีเงินฝาก เชน หากฝากเงินในปจจุบัน 5,000 บาท ใน
เวลา 5 ป ที่อัตราดอกเบี้ย 10% จะไดยอดรวมในอนาคต เทากับ
FV5 = 5,000 (1+0.10)5
= 5,000 (1.6105)
= 8,052.50 บาท

มูลคาคิดลด (Discounting) เปนคาที่กลับกันกับมูลคาสะสม คานี้จะบอกเราวา ยอดรวมที่จะได


ในอนาคตนั้นมีคาจริงในปจจุบันเทาไร จากการปรับสูตรเดิมเปน
P n
PV =
(1 + r )n
เมื่อ PV = มูลคาปจจุบัน
Pn = เงินรวมที่จะไดรับในปที่ n
r = อัตราคิดลด
ตัวอยาง การหามูลคาปจจุบันของเงิน 12,000 บาท ที่จะไดรับใน 2 ปหนา ถาอัตราคิดลดเปน 10%
PV = 12,000 x 1 .
(1+0.10)2
= 12,000 (0.826446)
= 9,917.35 บาท
หากเงินดังกลาวจะรับในอีก 50 ปขางหนา มูลคาปจจุบันจะเปน
PV = 12,000 x 1 .
(1+0.10)50
= 12,000 (0.008519)

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 3


วิธีการประเมินทางเศรษฐศาสตรและทางการเงิน • ผ 3-7
= 102.23 บาท

ในการประเมินโครงการ เรามักจะคิดลดผลประโยชนสุทธิที่จะไดรับ (= ผลประโยชน – เงินลงทุน)


ในแตละปของโครงการ โดยใชอัตราคิดลดที่เหมาะสมแยกเปนรายป เชน ขอมูลกระแสการเงินของ
โครง การรายปที่อัตราคิดลด 10%

ปที่ 0 1 2 3 4
เงินลงทุน 1,000 0 0 0 0
ผลประโยชนที่ได - 500 600 700 800
ผลประโยชนสุทธิ -1,000 500 600 700 800
ดังนั้น มูลคาปจจุบัน
PV = -1,000 + 500(0.9091) + 600(0.8264) + 700(0.7513) + 800(0.6830)
= 1,022.7 บาท

กรณี ที่ ใ ห ผ ลประโยชน สุ ทธิ ที่เ ท ากั น ทุ ก ป หรื อ เท ากั น ในช ว งหนึ่ ง สามารถใชค า คงที่ ร ายป
“annuity factor” มาคิดลดตัวเลขคงที่จากปตาง ๆ มาที่ปฐานได
(1 + r)n – 1 = มูลคาปจจุบันของ Annuity Factor
n
[r (1 + r) ]
สําหรับโครงการ 5 ปที่อัตราคิดลด 10% จะมีคา annuity factor คือ
= (1 + 0.10)5 – 1
[0.10 (1 + 0.10)5]
= 3.790787

ดังนั้น ถามีโครงการหนึ่ง ที่ใหผลตอบแทนสุทธิ = 5,000 บาท ทุกป ในชวง 5 ปแรก ผลรวม


ของมูลคาปจจุบัน จะเปน
PV = 5,000 (3.790787)
= 78,953.94 บาท
ผลการคิดแบบนี้จะใหคําตอบเทากับการคิดผลตอบแทนแยกเปนรายป แลวมารวมกัน เชน ใน
การลงทุนอยางหนึ่งมีรายไดแนนอนปละ 5,000 บาท เปนเวลา 7 ป เราจะตองหาเงินมาลงทุน
เทาไร หากอัตราดอกเบี้ย (เทากับ อัตราคิดลด) ในขณะนี้เปน 10% ตอป
PV = 5,000 [(1 + 0.10)7 – 1] / [0.10 (1 + 0.10) 7]
= 5,000 x 4.8684
= 24,342 บาท

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 3


วิธีการประเมินทางเศรษฐศาสตรและทางการเงิน • ผ 3-8
ถาดําเนินการตอในปที่ 8 ถึง 10 ของโครงการนั้น จะมีรายไดอีกปละ 10,000 บาท ทุกป มูลคา
ปจจุบันจะเพิ่มเปนเทาไร
PV ของเงิน 10,000 บาท จากปที่ 1 10
PV = 10,000 x 6.1446 (ใชสูตรที่กลาวมาแลว)
= 61,446 บาท

PV ของเงิน 10,000 บาท จากปที่ 1 7


PV = 10,000 x 4.8684
= 48,684 บาท

PV ของเงิน 10,000 บาท จากปที่ 8 10


PV = 61,446 – 48,684
= 12,762 บาท

หรือจะคิดโดยใชแฟกเตอรจากตารางสําเร็จก็จะใหผลลัพธเทากัน คือ
6.1446 – 7.8684 = 1.2762
ดังนั้น PV = 10,000 x 1.2762
= 12,762 บาท

หรือจะคิดจากแฟกเตอรคิดลดในปที่ 8, 9, 10 ก็ใหผลลัพธเปนแฟกเตอรเดียวกัน คือ


0.4665 + 0.4241 + 0.3856 = 1.2762

หากระยะเวลาของโครงการนานหลายป หรือกําหนดเวลาสิ้นสุดไมได สูตรการคิดมูลคาปจจุบันจะ


เปน
P (1 + r )n − 1 1 1 1
PV = = − , = 0
r [1 + r ]  (1 + r ) (1 + r )n
n  n lim
r  r r n →∞ r
 

สูตรนี้มักใชอางอิงในชื่อ Capitalization formula เชน โครงการหนึ่งใหผลกําไรเทากันทุกป


เทากับ 24,000 บาท ไปตลอดกาล ดวยอัตราคิดลด 15% มูลคาปจจุบันจะคิดจาก
PV = 24,000 / 0.15
= 160,000 บาท

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 3


วิธีการประเมินทางเศรษฐศาสตรและทางการเงิน • ผ 3-9
กระแสเงินของโครงการหนึ่ง เปนดังนี้
ปที่ 0 1 2 3 4 ……. ∝
ผลประโยชนสุทธิ -10,000 0 1,000 3,000 8,000 …….. 8,000

ดวยอัตราคิดลด 15% จะหามูลคาปจจุบันของโครงการไดเทากับ


PV = -10,000 + 1,000 + 3,000 + (8,000/0.15)
(1.15)2 (1.15)3 (1.15)4
= -10,000 + 756 + 1,972 + 30,493
= 23,221 บาท

สูตรสุดทายคือการหา อัตราการคืนทุนรายป Amortization rate หรือ Capital recovery factory


ซึ่งเปนการแปลงมูลคาปจจุบันใหเปนผลประโยชนที่จะไดรับรายปที่เทา ๆ กัน ในอนาคต วิธีนี้จะ
ใชการกระจายเงินกูวาตองจายคืนรายปเทาไร ใน n ป ที่อัตราคิดลดที่กําหนด ซึ่งรวมดอกเบี้ยเงิน
กูดวย สูตรนี้ไมไดใชในการวิเคราะหทางเศรษฐศาสตร เพราะการจายดอกเบี้ยเงินกูจัดเปน
Financial Transactions หรือ Transfer payment แตในทางการเงินแลว สูตรนี้มีความสําคัญมาก
A = P [r(1 + r)n] / [(1 + r)n – 1]
เมื่อ A = มูลคาที่ตองจายรายป
P = เงินตนที่ตองจายคืนตลอด n ป ที่อัตราคิดลด r

ตัวอยาง มีการกูเงิน 95,000 บาท เปนเวลา 10 ป ที่อัตราดอกเบี้ย 15% ตอป จะตองจายคืนเงินกู


ทั้งเงินตน และดอกเบี้ยรายปเทาไร ถาตองการจายเทากันทุกป
A = 95,000 [0.15(1 + 0.15)10] / [(1 + 0.15)10 – 11]
= 95,000 x 0.1993
= 18,933.50 บาท / ป

3-2. การประเมินผลประโยชนทางสิ่งแวดลอม โดยวิธีผลประโยชน-ตนทุน

3-2-1. กรอบทั่วไปในการวิเคราะหดานสิ่งแวดลอมดวยวิธีผลประโยชน-ตนทุน (Cost-Benefit)

• NB = Bd + Be – Cd – Cp – Ce
เมื่อ NB = ผลประโยชนสุทธิที่ไดจากการดําเนินตามแผน / โครงการ
Bd = ผลประโยชนทางตรงที่เกิดขึ้นทั้งหมด
Be = ผลประโยชนทางดานสิ่งแวดลอม

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 3


วิธีการประเมินทางเศรษฐศาสตรและทางการเงิน • ผ 3-10
Cd = คาใชจายทางตรงที่จําเปนในการดําเนินการ
Cp = คาใชจายในการปองกัน / ลดผลกระทบทางดานสิ่งแวดลอม
Ce = คาความเสียหายของสิ่งแวดลอมเนื่องจากการดําเนินโครงการ

3-2-2. กรอบในการวิเคราะหโครงการจัดการขยะมูลฝอย โดยใชวิธี Cost-Benefit

• NB = Be - Cp
เมื่อ NB = ผลประโยชนสุทธิที่ไดจากโครงการจัดการขยะมูลฝอย (SWM)
Be = ผลประโยชนทางสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้น
Cp = คาดําเนินโครงการจัดการขยะมูลฝอย
การคํานวณ Be มีความจําเปนอยางยิ่งในการวิเคราะหโครงการทางดานเศรษฐศาสตร

3-2-3. ตารางที่ใชคูกับวิธีการประเมินคุณคาของผลประโยชนทางสิ่งแวดลอม

คุณคาทางสิ่งแวดลอมที่ไดรับผลกระทบ
ผลประโยชน การผลิต ก า ร ก า ร เงิน ทรัพยากร คุ ณ ภาพ ก า ร คุ ณ ค า ค ว า ม
เจ็บปวย เสียชีวิต ลงทุน ธรรมชาติ สิ่ ง แวดล ท อ งเที่ ทาง สวยงาม
อม ยว ชีวภาพ
คุณคาที่เกี่ยวกับการถูกกระทํา (Objective Valuation Approach : OVA)
1. การเปลี่ยนแปลงผลผลิต
2. การลดอัตราเจ็บปวย
3. ลดอัตราการตาย
4. การทดแทนชดเชย
คุณคาที่เกี่ยวกับการกระทํา (Subjective Valuation Approach : SVA)
1. คาปองกัน / ลดผลกระทบ
2. คาที่กําหนดขึ้นมา
2.1 ราคาที่ดิน
2.2 คาจางแรงงาน
3. คาใชจายในการเดินทาง
4. คาเผื่อเหลือเผื่อขาด

หมายเหตุ : “ ” คุณคาของสิ่งแวดลอมที่เหมาะสมในการประเมินผลประโยชน

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 3


วิธีการประเมินทางเศรษฐศาสตรและทางการเงิน • ผ 3-11
3-2-4. ตัวอยางการคํานวณดวยวิธีประเมินคุณคาผลประโยชนทางสิ่งแวดลอม

1. ผลประโยชนจากการทดแทน – ชดเชย
• ผลประโยชนตอการใชน้ําของครัวเรือน
= ปริมาณน้ําสะอาดที่มีใหใชมากขึ้น x คาใชจายในการจัดหาน้ําแตละหนวย
• ผลประโยชนจากการลดมลพิษ
= ปริมาณน้ําเสียที่ลดลง x คาใชจายในการจัดการน้ําเสียแตละหนวย
• ผลประโยชนจากการลดความเสียหาย
= คาใชจายที่ประหยัดได เนื่องจากไมตองซอมแซมความเสียหายจากดินถลม,
น้ําทวม ฯลฯ

2. ผลประโยชนจากการเปลี่ยนแปลงผลผลิต
• ผลประโยชนจากการเกษตร
= ปริมาณผลผลิตเกษตรที่เพิ่มขึ้น x ราคาตลาดของผลผลิตนั้น
• ผลประโยชนจากปาไม
= ผลิตภัณฑจากไมปาที่เพิ่มขึ้น x ราคาตลาดของผลิตภัณฑนั้น

• ผลประโยชนจากการประมง
= ปริมาณสัตวน้ําที่จับไดเพิ่มขึ้น x ราคาตลาดของสัตวน้ํา

3. ผลประโยชนจากการลดอัตราการเจ็บปวย
• ผลประโยชนจากจํานวนผูปวยที่ลดลง
= จํานวนผูปวยที่ลดลง x (คารักษาพยาบาล + รายไดจากการทํางาน)

4. ผลประโยชนจากการลดอัตราการตาย
• ผลประโยชนจากอัตราการตายที่ลดลง
= อัตราการตายที่ลดลง x คุณคาของชีวิต
5. ผลประโยชนเผื่อเหลือเผื่อขาด
• ผลประโยชนจากการไมตองใช
= (ผลจากการไมตองใชของชาวบาน x จํานวนชาวบาน)
+ (ผลจากการไมตองใชของนักทองเที่ยว x จํานวนนักทองเที่ยว)
• ผลประโยชนจากการไดใช
= (ผลจากการไดใชของชาวบาน x จํานวนชาวบาน)
+ (ผลจากการไดใชของนักทองเที่ยว x จํานวนนักทองเที่ยว)

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 3


วิธีการประเมินทางเศรษฐศาสตรและทางการเงิน • ผ 3-12
3-3. ขอแตกตางระหวางการประเมินทางการเงิน และทางเศรษฐศาสตร
การประเมินทางการเงิน การประเมินทางเศรษฐศาสตร
จุดเนน (Focus) ผลตอบแทนคืนใหกับเงินลงทุนของผูถือหุน ผลตอบแทนกลับสูสังคม
เปนบางกลุม หรือบางคน
วัตถุประสงค (Purpose) บงชี้ถึงผลตอบแทนจากการดําเนินการ ตั ด สิ น ว า รั ฐ บาลควรลงทุ น หรื อ ไม ในแง
ประสิ ท ธิ ภ าพทางเศรษฐศาสตร ของ
โครงการ
ราคา (Price) ราคาตลาดหรือราคาที่บริหารจัดการ อาจตองใช “ราคาเงา” (Shadow Price)
ภาษี (Taxes) เปนคาใชจายในการผลิต เปนสวนหนึ่งของผลประโยชนตอสังคม
เงิ น ที่ ใ ช ส นั บ สนุ น การ แหลงที่ทํารายได เปนบางสวนของคาใชจายของสังคม
ลงทุน (Subsidies)
เงินกู (Loan) เปนแหลงเพิ่มเงินลงทุนของโครงการ เปนการโอนยายการจายเงิน ; แปลงขอ
รองเรียนใหเปนกระแสทรัพยากร
ดอกเบี้ย/การจายคืนเงินกู เป น ค า ใช จ า ยทางการเงิ น ทํ า ให ย อดเงิ น เปนการถายโอนคาใชจาย
(Interest/Loan ลงทุนที่ใชไดลดนอยลง
repayment)
อัตราคิดลด เปนตนทุนสวนเพิ่ม (Marginal cost) ตาม เปนตนทุนคาเสียโอกาส ; ที่แปรตามสภาวะ
(Discount rate) อัตราเงินกูในตลาด สังคม ณ เวลาตาง ๆ

การกระจายรายได สามารถวั ด ได ใ นรู ป การคื น ทุ น สุ ท ธิ ข อง ไม พิ จ ารณาในการวิ เ คราะห ป ระสิ ท ธิ ผ ล


(Income distribution) ปจจัยการผลิตแตละตัว เชน ที่ดิน แรงงาน ทางเศรษฐศาสตร สามารถวิเคราะหแยกได
เงินลงทุน หรือใหน้ําหนักในการวิเคราะห
ที่มา : แปลจาก F.J.Hitzhusen, “The Economics of Biomass for Energy : Towards
Clarification for Non-Economists”, Ohio State University, 1982.

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 3


วิธีการประเมินทางเศรษฐศาสตรและทางการเงิน • ผ 3-13
3-4. การใช NPV, B/C ratio และ EIRR ในการพิจารณาโครงการ

„ การใช NPV, B/C ratio และ EIRR ในการพิจารณาโครงการ

NPV EIRR B/C ratio


(1) การเลือกโครงการหรือ
ก า ร จั ด ลํ า ดั บ
ความสําคัญสําหรับ :
1) โครงการอิสระ
ไมมีขอจํากัดของ เลื อ กทุ ก โครงการที่ มี NPV เลือกทุกโครงการที่ให EIRR เลือกทุกโครงการที่ให B/C
ตนทุน มากกวา 0 ไมตองจัดลําดับ มากกวาอัตราผลตอบแทนที่ ratio มากกวา 1 ไมตอง
ความสําคัญ ตั้งเกณฑไว ไมตองจัดลําดับ จัดลําดับความสําคัญ
ความสําคัญ
มีขอจํากัดของ ไม เ หมาะสํ า หรั บ การจั ด ลํ า ดั บ การจัดลําดับความสําคัญของ การจั ด ลํ า ดั บ ความสํ า คั ญ
ตนทุน ความสําคัญของโครงการ โครงการโดยใช EIRR อาจ ของโครงการโดย B/C ratio
ใ ห ผ ล ก า ร จั ด ลํ า ดั บ ที่ เมื่อ C คือขอจํากัดทางดาน
ผิดพลาด ตนทุนเสมอ
2) โ ค ร ง ก า ร ที่ ใ ห เลือกทางเลือกที่ให NPV สูงสุด การเลือก EIRR สูงสุดอาจ การเลือก B/C ratio สูงสุด
ผลประโยชนรวม เปนวิธีที่ไมถูกตอง อาจไมใชวิธีที่ถูกตอง
(2) อัตราคิดลด ตองหาวิธีเลือกใชอัตราคิดลด ไม ต อ งใช อั ต ราคิ ด ลด แต ต อ งหาวิ ธี เ ลื อ กใช อั ต ราที่
ที่เหมาะสมมาใช ตองหาวิธีเลือกใชอัตราที่จะ เปนเกณฑตัดสิน
เปนเกณฑตัดสิน

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 3


วิธีการประเมินทางเศรษฐศาสตรและทางการเงิน • ผ 3-14
ภาคผนวก 4
การประมาณราคาระบบกําจัดมูลฝอย
ภาคผนวก 4
การประมาณราคาระบบกําจัดขยะมูลฝอย

4-1. ระบบฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล (Sanitary Landfill)


ขนาด 10-50 ตัน/วัน 51-100 ตัน/วัน 101-300 ตัน/วัน
คาลงทุน (ลานบาท) 23-40 42-50 52-81
คาดําเนินการ (ลานบาท/ ป) 0.3-1.6 1.6-2.4 2.4-5.6
หมายเหตุ : ขนาดของพื้นที่ขึ้นกับความสูงของชั้นฝงกลบ
ที่มา : เอกสารชุ ดคู มื อ การดํา เนิน งานตามแผนปฏิบั ติ ก ารเพื่ อ การจั ดการคุ ณภาพสิ่ งแวดล อ มระดั บ จั งหวั ด
เลมที่ 8 “การจัดการมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล”, สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม

4-2. ระบบการหมักทําปุย (Composting)


ขนาด 15 ตัน/วัน 50 ตัน/วัน 150 ตัน/วัน
คาลงทุน (ลานบาท) 40 80 320
คาดําเนินการ (ลานบาท/ ป) 2 9 32
ขนาดพื้นที่ที่ตองการ (ไร) 15 50 100
ที่มา : เอกสารชุดคูมือการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมระดับจังหวัด เ ล ม ที่ 8
“การจัดการมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล”, สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม

4-3. ระบบเตาเผา (Incinerator)


ขนาด 100 ตัน/วัน 300 ตัน/วัน
คาลงทุน (ลานบาท) 500 1,200
คาดําเนินการ (ลานบาท/ ป) 15 36
ขนาดพื้นที่ที่ตองการ (ไร) 40 120
ที่มา : เอกสารชุดคูมือการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมระดับจังหวัด เ ล ม ที่ 8
“การจัดการมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล”, สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 4


การประมาณราคาระบบกําจัดขยะมูลฝอย • ผ 4-1
ภาคผนวก 5
เกณฑ มาตรฐาน และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน
ภาคผนวก 5
เกณฑ มาตรฐาน และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน

5-1. บทนํา
เกณฑ มาตรฐาน และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน จะครอบคลุมถึงสถานที่จัดการขยะ
มูลฝอย 5ประเภท ไดแก สถานีขนถายขยะมูลฝอย (Transfer Station) สถานที่นําวัสดุกลับคืน
(Material Recovery Facility) สถานที่กําจัดโดยเตาเผา (Incineration Facility) สถานที่หมักทําปุย
(Composting Facility) และสถานที่ฝงกลบขยะมูลฝอยอยางถูกหลักสุขาภิบาล (Sanitary Landfill
Facility) โดยเนื้อหาประกอบดวย เกณฑการคัดเลือกพื้นที่ เกณฑ และขอกําหนดขั้นต่ําในการ
ออกแบบเพื่อการกอสราง และขอกําหนดหรือระเบียบในการปฏิบัติงานของสถานที่จัดการขยะ
มูลฝอยแตละประเภท เพื่อใหหนวยงานราชการสวนทองถิ่นและผูประกอบการของสถานที่
จัดการขยะมูลฝอยใชเปนแนวปฏิบัติโดยไมกอใหเกิดผลเสียหายตอสิ่งแวดลอม

5-2. นิยาม
คํา กลุมคําหรือวลีที่ใชดังตอไปนี้ จัดเปนหมวดหมูรวม 6 กลุม ไดแก ทั่วไป สถานีขนถายขยะมูลฝอย
สถานที่นําวัสดุกลับคืน สถานที่กําจัดโดยเตาเผา สถานที่หมักทําปุย และสถานที่ฝงกลบขยะมูลฝอย
หากไมไดระบุความหมายโดยเฉพาะในเนื้อหาของแตละหัวขอ ใหมีความหมายดังตอไปนี้

ทั่วไป
(1) ขยะมูลฝอยชุมชน (Municipal solid waste) หมายความถึง ขยะมูลฝอยที่เกิดจากกิจกรรม
ตางๆ ในชุมชน เชน บานพักอาศัย ธุรกิจรานคา สถานประกอบการ สถานบริการ ตลาดสด
สถาบันตางๆ รวมทั้งเศษวัสดุกอสราง ทั้งนี้ไมรวมของเสียอันตรายและมูลฝอยติดเชื้อ

(2) ของเสียอันตราย (Hazardous waste) หมายความถึง ของเสียที่มีองคประกอบของวัตถุ


อันตราย ไดแก วัตถุระเบิดได วัตถุไวไฟ วัตถุออกซิไดซและวัตถุเปอรออกไซด วัตถุมีพิษ
วัตถุที่ทําใหเกิดโรค วัตถุกัมมันตรังสี วัตถุที่กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม วัตถุ
กัดกรอน วัตถุที่กอใหเกิดการระคายเคือง วัตถุอยางอื่น ไมวาจะเปนเคมีภัณฑ หรือสิ่งอื่นใด
ที่อาจทําใหเกิดอันตรายแกบุคคล สัตว พืช ทรัพยสิน หรือสิ่งแวดลอม

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 5 เกณฑ มาตรฐาน


และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน • ผ 5-1
(3) มูลฝอยติดเชื้อ (Infectious waste) หมายความถึง ขยะมูลฝอยที่เปนผลมาจากกระบวนการ
ใหการรักษาพยาบาล การตรวจวินิจฉัย การใหภูมิคุมกันโรค การศึกษาวิจัยที่ดําเนินการทั้งใน
คนและสัตว ซึ่งมีเหตุอันควรสงสัยวา หรืออาจมีเชื้อโรค ไดแก
(1) ซากหรือชิ้นสวนของคนหรือสัตวที่เปนผลมาจากการผาตัด การตรวจชันสูตรศพ การ
ใชสัตวทดลองที่ทดลองเกี่ยวกับโรคติดตอ
(2) วัสดุของมีคม หรือวัสดุที่ใชในการใหบริการทางการแพทย การวิจัยในหองปฏิบัติการ
เชน เข็ม ใบมีด กระบอกฉีดยา สําลี ผากอส ผาตางๆ ทอยาง และอื่นๆ ซึ่งสัมผัส หรือ
สงสัยวาจะสัมผัสกับเลือด สวนประกอบของเลือดหรือผลิตภัณฑที่ไดจากเลือด หรือ
สารน้ําจากรางกายหรือวัคซีนที่ทําจากเชื้อโรคที่มีชีวิต
(3) ขยะมูลฝอยอื่นๆ ทุกประเภทที่มาจากหอติดเชื้อรายแรง หองปฏิบัติการเชื้ออันตรายสูง

(4) น้ําชะขยะมูลฝอย (Leachate) หมายความถึง ของเหลวที่ไหลชะลางผานหรือออกมาจากขยะ


มูลฝอย ซึ่งอาจประกอบดวย สารละลาย สารแขวนลอยผสมอยู

(5) สถานที่จัดการขยะมูลฝอย (Solid waste management facility) หมายความถึง สถานที่กําจัด


ขยะมูลฝอย สถานีขนถายขยะมูลฝอย สถานที่นําวัสดุกลับคืน หรือสถานที่ใดๆ ที่มีการนํา
ขยะมูลฝอยมาแปรสภาพ และนําผลพลอยไดจากขบวนการมาใชประโยชน

(6) การแปรสภาพ (Processing) หมายความถึง การเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะ หรือ


องคประ กอบทางกายภาพ เคมี และชีวภาพของขยะมูลฝอยเพื่อใหมีความสะดวกและความ
ปลอดภัยในการขนสง การนํากลับไปใชประโยชน การเก็บรวบรวม การกําจัดหรือการลด
ปริมาตร

(7) โบราณสถาน (Ancient monuments) หมายความถึง อสังหาริมทรัพย ซึ่งโดยอายุหรือโดย


ลักษณะแหงการกอสรางหรือโดยหลักฐานเกี่ยวกับประวัติของอสังหาริมทรัพยนั้นเปน
ประโยชน ท างศิ ล ปประวั ติ ศ าสตร ห รื อ โบราณคดี ทั้ ง นี้ ใ ห ร วมถึ ง สถานที่ ที่ เ ป น แหล ง
โบราณคดี แหลงประวัติศาสตร และอุทยานประวัติศาสตรดวย (พรบ. โบราณสถาน
โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ)

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 5 เกณฑ มาตรฐาน


และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน • ผ 5-2
สถานีขนถายขยะมูลฝอย
(8) สถานีขนถายขยะมูลฝอย (Transfer station) หมายความถึงสถานที่สําหรับถายเทขยะ
มูลฝอยจากรถเก็บขนขยะมูลฝอยลงสูพาหนะขนาดใหญ เพื่อขนสงไปยังสถานที่แปรสภาพ
หรือกําจัดขยะมูลฝอย

สถานที่นําวัสดุกลับคืน
(9) วัสดุที่นํากลับคืน (Recovered materials) หมายความถึง เศษวัสดุที่สามารถคัดแยกจากขยะ
มูลฝอยเพื่อนําใชประโยชนใหม เชนโลหะ กระดาษ แกว พลาสติก สิ่งทอ หรือยาง

(10) สถานที่นําวัสดุกลับคืน (Materials recovery facility) หมายความถึง สถานที่จัดการขยะ


มูลฝอยซึ่งจัดใหมีการแยกวัสดุที่นํากลับคืนออกจากขยะมูลฝอย เพื่อนํากลับไปใชประโยชน
อีก

สถานที่กําจัดโดยเตาเผา
(11) สถานที่กําจัดโดยเตาเผา (Incineration facility) หมายความถึง สถานที่จัดการขยะมูลฝอยที่
ติดตั้งเตาเผาเพื่อใชเผาทําลายของเสียที่เปนของแข็ง ของเหลว หรือกาซที่เผาไหมได

สถานที่หมักทําปุย
(12) สถานที่หมักทําปุย (Composting facility) หมายความถึง สถานที่จัดการขยะมูลฝอยที่มีการ
นําขยะมูลฝอยมาแปรสภาพโดยวิธีการหมัก โดยอาศัยขบวนการทางชีววิทยาของจุลินทรีย
ในการยอยสลายอินทรียวัตถุที่มีอยูในขยะมูลฝอย ผลผลิตที่ไดจะมีลักษณะเปนผงหรือกอน
เล็ก ๆ สีน้ําตาล เรียกวา คอมโพสต สามารถนําไปใชเปนสารบํารุงดิน

สถานที่ฝงกลบขยะมูลฝอย
(13) สถานที่ฝงกลบขยะมูลฝอย (Landfill facility) หมายความถึง สถานที่จัดการขยะมูลฝอยที่นํา
ขยะมูลฝอยมาเทกองในพื้นที่ที่ซึ่งจัดเตรียมไว ใชเครื่องจักรกลบดอัดใหแนน ใชดินกลบทับ
เปนชั้น ๆ และไดจัดเตรียมมาตรการปองกันน้ําชะมูลฝอยไหลซึมลงสูแหลงน้ําใตดิน การ
ปองกันกลิ่นและแมลงรบกวนและการแพรกระจายของเชื้อโรคสูสภาพแวดลอมโดยรอบ

(14) เขตของการระบายน้ําทิ้ง (Zone of discharge) หมายความถึง บริเวณที่มีความเสี่ยงตอการ


ปนเปอนของน้ําชะมูลฝอยลงสูน้ําใตดิน

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 5 เกณฑ มาตรฐาน


และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน • ผ 5-3
(15) พื้นที่ฉนวน (Buffer zone) หมายความถึง พื้นที่โดยรอบภายในอาณาเขตของสถานที่ฝงกลบ
จัดเปนพื้นที่สําหรับปลูกตนไม ถนน หรือคูระบายน้ํา เพื่อปดกั้นทางสายตาหรือลดปญหา
ดานทัศนียภาพจากการฝงกลบขยะมูลฝอย รวมทั้งปญหากลิ่นรบกวนสูภายนอกพื้นที่

(16) วัสดุกันซึม (Liner) หมายความถึง ชั้นหรือแผนของวัสดุธรรมชาติหรือวัสดุสังเคราะหที่มี


อั ตราการไหลซึมต่ํ า ใช ปูพื้ นกนหลุม และผนั งด านข างของหลุ มฝ งกลบ หรือบ อน้ํ าชะ
มูลฝอย ซึ่งจะทําหนาที่ควบคุมปองกันการรั่วไหลในแนวดิ่งและแนวราบของสารปนเปอน
ในขยะ มูลฝอยหรือน้ําชะมูลฝอย

(17) วัสดุกันซึมผสม (Composite liner) หมายความถึง วัสดุกันซึม ซึ่งประกอบดวย แผนวัสดุ


สังเคราะหที่รองพื้นและสัมผัสกับดินที่มีอัตราการไหลซึมต่ํา

(18) การฝงกลบที่มีการกันซึม (Lined landfill) หมายความถึง พื้นที่ฝงกลบขยะมูลฝอยที่ระบบ


กันซึมทําจากแผนวัสดุสังเคราะห หรือดินที่มีอัตราการไหลซึมต่ําหรือสวนผสมของวัสดุ
ดังกลาว และปฏิบัติตามหลักเกณฑการออกแบบหลุมฝงกลบ

(19) วัสดุกลบรายวัน (Daily cover) หมายความถึง วัสดุธรรมชาติหรือสังเคราะหที่ใชในการกลบ


บนพื้นที่ ของขยะมู ลฝอยกอนที่จะฝ งขยะมู ลฝอยในวั นต อไป หรือระหว างชั้ นของขยะ
มู ลฝอย หรื อชั้ น สุ ด ท า ยของการฝ ง กลบ เพื่ อลดป ญ หาการแพร ก ระจายเชื้ อ โรค แหล ง
เพาะพันธุของสัตว การซึมผานความชื้น การปองกันอุบัติเหตุไฟไหม ขยะมูลฝอยปลิว การ
ควบคุมกลิ่น และการปรับปรุงดานทัศนียภาพ

(20) วัสดุกลบชั้นสุดทาย (Final cover) หมายความถึง วัสดุธรรมชาติหรือสังเคราะหที่ใช


สําหรับกลบชั้นบนสุดและดานขางของสถานที่ฝงกลบขยะมูลฝอยภายหลังจากการฝงกลบ
ไดสิ้นสุดลง

(21) ระบบควบคุมกาซ (Gas control system) หมายความถึง ระบบระบายกาซจากพื้นที่ฝงกลบ


ขยะมูลฝอยสูบรรยากาศ โดยผานทางบอ หลุม ทอ และโครงสรางที่เกี่ยวของ

(22) จุดระเบิดขั้นต่ํา (Lower explosive limit) หมายความถึง คารอยละต่ําสุดโดยปริมาตรของ


กาซมีเทนที่จะระเบิดลุกติดไฟในอากาศไดที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส และที่ความดัน
บรรยากาศ

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 5 เกณฑ มาตรฐาน


และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน • ผ 5-4
(23) บอติดตามตรวจสอบ (Monitoring wells) หมายความถึง บอน้ําที่ไดมีการออกแบบและ
กอสรางเปนการเฉพาะและติดตั้งในตําแหนงที่เหมาะสม เพื่อใชเก็บตัวอยางน้ําสําหรับการ
ติดตามตรวจสอบการปนเปอนของน้ําชะมูลฝอยตอแหลงน้ําใตดิน

(24) การปดสถานที่ฝงกลบ (Closure) หมายความถึง การสิ้นสุดของการดําเนินงานของสถานที่


ฝงกลบขยะมูลฝอยและการควบคุมดูแลสถานที่ไมใหเกิดผลกระทบตอสุขภาพของมนุษย
และสภาพแวดลอม ประกอบดวย การหยุดใหบริการ การดูแลระยะยาวและการซอมบํารุง

5-3. การคัดเลือกพื้นที่ของสถานที่จัดการขยะมูลฝอย

5-3-1. เกณฑการคัดเลือกพื้นที่ของสถานีขนถายขยะมูลฝอย และสถานที่นําวัสดุกลับคืน

1) ไมตั้งอยูในพื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 1 และชั้นที่2 ตามมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวของกับการกําหนดชั้น


คุณภาพลุมน้ําเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2528
2) ตั้งอยูหางจากแนวเขตโบราณสถาน ตามพรบ. โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และ
พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ไมนอยกวา 1 กิโลเมตร
3) ควรตั้งอยูหางจากชุมชนหลักไมนอยกวา 2 กิโลเมตร
4) ที่ตั้งของสถานที่กําจัดโดยเตาเผาควรเปนที่โลง ไมอยูในที่อับลม

5-3-2. เกณฑการคัดเลือกพื้นที่ของสถานที่กําจัดโดยเตาเผา และสถานที่หมักทําปุย

1) ไมตั้งอยูในพื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 1และชั้นที่ 2 ตามมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวกับของกับการกําหนด


ชั้นคุณภาพลุมน้ําเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2528
2) ตั้งอยูหางจากแนวเขตโบราณสถาน ตาม พรบ. โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และ
พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ไมนอยกวา 1 กิโลเมตร
3) ควรตั้งอยูหางจากชุมชนหลักไมนอยกวา 2 กิโลเมตร
4) ที่ตั้งของสถานที่กําจัดโดยเตาเผาควรเปนที่โลง ไมอยูในที่อับลม

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 5 เกณฑ มาตรฐาน


และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน • ผ 5-5
5-3-3. เกณฑการคัดเลือกพื้นที่ของสถานที่ฝงกลบขยะมูลฝอย

1) ไมตั้งอยูในพื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 1และชั้นที่ 2 ตามมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวกับของกับการกําหนด


ชั้นคุณภาพลุมน้ําเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2528
2) ตั้งอยูหางจากแนวเขตโบราณสถาน ตาม พรบ. โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และ
พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ไมนอยกวา 1 กิโลเมตร
3) ตั้งอยูหางจากแนวเขตสนามบินไมนอยกวา 5 กิโลเมตร
4) ควรตั้งอยูหางจากบอน้ําดื่ม หรือโรงผลิตน้ําประปาในปจจุบันไมนอยกวา 700 เมตร
5) ควรตั้งอยูหางจากแหลงน้ําธรรมชาติหรือมนุษยสรางขึ้นมา รวมทั้งพื้นที่ชุมน้ํา (Wetland) ไม
นอยกวา 300 เมตร ยกเวนแหลงน้ําที่ตั้งอยูในสถานที่ฝงกลบขยะมูลฝอย
6) เปนพื้นที่ซึ่งสภาพธรณีวิทยา หรือลักษณะใตพื้นดินมั่นคงแข็งแรงพอที่จะรองรับขยะมูลฝอย
7) ควรเปนพื้นที่ดอน ในกรณีเปนพื้นที่ลุมน้ําที่มีโอกาสเกิดน้ําทวมฉับพลัน หรือน้ําปาไหล
หลาก จะตองมีมาตรการปองกันแกไข
8) ควรเปนพื้นที่ซึ่งระดับน้ําใตดินอยูลึก ในกรณีที่ระดับน้ําใตดินอยูสูง จะตองมีมาตรการปองกัน
แกไข
9) ควรเปนพื้นที่ตอเนื่องผืนเดียวกันและมีขนาดเพียงพอ สามารถใชงานฝงกลบไดไมนอยกวา 20
ป

5-4. สถานีขนถายขยะมูลฝอย

5-4-1. ขอกําหนดทั่วไป

บุคคลใดที่จะดําเนินการสถานีขนถายขยะมูลฝอย จะตองจัดเตรียมรายละเอียดขอมูลดังตอไปนี้
(1) แผนที่แสดงที่ตั้งและอาณาเขตของสถานีขนถาย การใชที่ดินโดยรอบในรัศมี 1 กิโลเมตร
โดยใชมาตราสวนที่เหมาะสม
(2) แสดงแผนผังกระบวนการปฏิบัติงานของสถานีขนถาย แหลงกําเนิด องคประกอบ น้ําหนัก
หรือปริมาตรขยะมูลฝอยที่จะรับเขามา รวมทั้งคาดการณปริมาณขยะมูลฝอยในอนาคต
(3) จํานวนวันและชั่ วโมงปฏิบัติงาน จํานวนบุคลากรทั้งหมด ขนาดของสถานี ขนถายที่ ไ ด
ออกแบบและคาดการณอายุใชงาน
(4) แผนการขนถายขยะมูลฝอย ระบุเสนทางขนถายไปยังสถานที่กําจัด จํานวนและประเภทของ
ยานพาหนะขนถาย ความถี่ในการขนถาย และระยะเวลาที่ใชในการเก็บรวบรวม

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 5 เกณฑ มาตรฐาน


และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน • ผ 5-6
5-4-2. ขอกําหนดในการออกแบบ

(1) ในการออกแบบรายละเอียด ใหยึดถือหลักเกณฑและมาตรฐานที่ใชในประเทศมากที่สุด ใน


กรณี ที่ ไม มี เกณฑ หรื อมาตรฐานในประเทศ ให ปฏิ บั ติ ตามหรื อประยุ กต ใช เกณฑ หรื อ
มาตรฐานที่ยอมรับในตางประเทศ ซึ่งเหมาะสมกับสภาพของประเทศไทยและสภาพทองถิ่น
(2) มาตรฐานการกอสราง ใหยึดหลักปฏิบัติตามเกณฑ มาตรฐาน หรือรายละเอียดขอกําหนด
ตามระเบียบปฏิบัติของทางราชการ ราชการสวนทองถิ่น รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวของ หรือ
มาตรฐานอื่นที่ยอมรับได ไดแก
1) งานโครงสราง ใชมาตรฐานตามขอกําหนดในเทศบัญญัติหรือขอบัญญัติมาตรฐาน
ของกรมโยธาธิการ หรือมาตรฐานอื่นที่ยอมรับได
2) งานถนน ใชมาตรฐานของกรมทางหลวง กรมโยธาธิการ หรือมาตรฐานอื่นที่ยอมรับได
3) งานไฟฟา ใชมาตรฐานของการไฟฟาสวนภูมิภาค หรือการไฟฟานครหลวง
4) งานประปา ใชมาตรฐานของการประปาสวนภูมิภาค หรือการประปานครหลวง
5) งานเครื่องกล ใชมาตรฐานของกรมโรงงานอุตสาหกรรมหรือมาตรฐานอื่นที่ยอมรับ
ได
6) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ใชมาตรฐานของกรมโรงงานอุตสาหกรรม หรือกรม
สวัสดิการและคุมครองแรงงาน
7) การปองกันอัคคีภัย ใชมาตรฐานตามขอกําหนดในเทศบัญญัติหรือขอบัญญัติ กรมโยธาธิการ
กรมโรงงานอุตสาหกรรม หรือมาตรฐานอื่นที่ยอมรับได

(3) จัดวางผังบริเวณแสดงรายละเอียดการใชพื้นที่ขององคประกอบตางๆ ในสถานีขนถาย


โดยใชมาตราสวนที่เหมาะสม
(4) ออกแบบพื้นที่ที่กําหนดสําหรับการถายเท การเก็บรวบรวม การอัดขยะมูลฝอยซึ่งอาจอยู
ในอาคารปดลอมหรือบริเวณที่ปดคลุม จะตองติดตั้งระบบควบคุมปญหาฝุนและกลิ่น จาก
ขยะมูลฝอย และระบบควบคุมเศษขยะมูลฝอยปลิว
(5) ออกแบบระบบถนนภายใน เสนทางการเคลื่อนยายถายเทดวยยานพาหนะขนสง ระบบการ
ควบคุมจราจรภายในที่มีประสิทธิภาพ
(6) ถนนภายในควรเป นพื้นแอสฟลตหรือคอนกรีตเสริมเหล็ก ความกว างของถนนสําหรับ
การจราจรในทิศทางเดียวไมนอยกวา 3.5 เมตร สําหรับการจราจรสองทิศทาง มีความกวาง
ไมนอยกวา 6 เมตร
(7) ถนนทางลาด (Ramp) ขึ้นอาคารขนถายขยะมูลฝอย มีความลาดเอียงไมมากกวา 10%

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 5 เกณฑ มาตรฐาน


และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน • ผ 5-7
(8) พื้นที่ขนถายขยะมูลฝอยในอาคารขนถาย ใหสามารถรองรับปริมาณรถบรรทุกที่ถายเทขยะ
มูลฝอย ไมนอยกวา 2 เทาของปริมาณรถบรรทุกเฉลี่ยในหนึ่งชั่วโมงของวันปฏิบัติงานปกติ
(9) จัดเตรียมการชั่งน้ําหนักหรือวัดปริมาตรขยะมูลฝอยที่นําเขามา หรือขนถายไปยังสถานที่กําจัด
(10) ระบุประเภท จํานวน และขนาดของเครื่องจักรอุปกรณและยานพาหนะขนสงทั้งหมดที่
ตองใชและไดออกแบบไว
(11) ยานพาหนะขนาดใหญที่ใชขนถายขยะมูลฝอยจะตองมีตัวถังปด หรือใชผาใบคลุมปดมิดชิด
และติดตั้งภาชนะรองรับน้ําชะมูลฝอยใตทองรถในระหวางการขนสง
(12) ออกแบบระบบจัดการน้ําฝนภายในสถานีขนถายที่มีประสิทธิภาพโดยน้ําฝนที่ระบายออก
ตองปราศจากองคประกอบ ซึ่งกอใหเกิดผลเสียหายตอสภาพแวดลอม
(13) ออกแบบระบบควบคุมน้ําเสีย เพื่อปองกันการรั่วไหลของน้ําชะขยะมูลฝอยไปผสมกับน้ําฝน
และควบคุมคุณภาพน้ํากอนระบายทิ้งสูภายนอก โดยไมใหเกินมาตรฐานคุณภาพน้าํ ทิง้ จาก
โรงงานอุตสาหกรรม ตาม พรบ.โรงงาน
(14) องคประกอบตาง ๆ ของสถานีขนถายใหออกแบบตามความจําเปนของการใชงานและ
ความเหมาะสมของขนาดพื้นที่ที่มีอยู เชน อาคารสํานักงาน โรงซอมบํารุง ลานหรืออาคาร
จอดยานพาหนะ พื้ น ที่ ล า งรถบรรทุ ก บ า นพั ก เจ า หน า ที่ ประตู เ ข า -ออก ป อ มยาม รั้ ว
ภูมิทัศน ระบบประปา ระบบไฟฟา ระบบสื่อสาร เปนตนขนาดเนื้อที่ใชในการกอสราง
สถานีขนถายขยะมูลฝอย ใหใชแนวทางพิจารณาดังตอไปนี้
นอยกวา 100 ตันตอวัน ใชพื้นที่ไมนอยกวา 5 ไร
100-500 ตันตอวัน ใชพื้นที่ไมนอยกวา 10 ไร
501-1,000 ตันตอวัน ใชพื้นที่ไมนอยกวา 20 ไร
1,001-1,500 ตันตอวัน ใชพื้นที่ไมนอยกวา 30 ไร

5-4-3. ขอกําหนดในการปฏิบัติงาน

(1) จัด เตรี ย มเจ า หนาที่ปฏิบัติง านในชั่วโมงทํางาน ติด ประกาศชั่วโมงปฏิบั ติง านที่ ป ระตู
ทางเขา เพื่อปองกันการบุกรุกเขาไปในสถานีขนถายโดยไมไดรับอนุญาตหลังเวลาปดทํา
การ
(2) จัดเตรียมมาตรการตรวจสอบ และจัดการมิใหมูลฝอยติดเชื้อและของเสียอันตรายปะปนกับ
ขยะมูลฝอยทั่วไปในสถานที่ขนถาย
(3) ตองควบคุมเศษขยะมูลฝอย กลิ่น แมลง และพาหะนําโรค เพื่อปองกันปญหารบกวนดาน
สุขอนามัยและสภาพที่ไมนาดู

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 5 เกณฑ มาตรฐาน


และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน • ผ 5-8
(4) ตองบําบัดน้ําเสียที่เกิดจากการปนเปอนขยะมูลฝอยและน้ําเสียใดๆ ทั้งหมดที่เกิดภายใน
สถานีขนถายใหมีคุณภาพน้ําทิ้งไมเกินมาตรฐานคุณภาพน้ําจากโรงงานอุตสาหกรรมตาม
พรบ. โรงงาน รวมทั้งการเก็บตัวอยางน้ําทิ้งเพื่อตรวจสอบคุณภาพน้ําอยางนอยปละ 2 ครั้ง
ดัชนีคุณภาพน้ําที่ตรวจสอบอยางนอยตองประกอบดวย ความเปนกรด-ดาง สารแขวนลอย
ทั้งหมด สารละลายทั้งหมด และบีโอดี
(5) จัดเตรียมมาตรการปองกันอัคคีภัย แผนเฉพาะกิจยามฉุกเฉินในกรณีเครื่องจักรหรืออุปกรณ
เกิดขัดของ หรือเกิดความลาชา ดวยสาเหตุอื่นใดในการขนสงลําเลียง
(6) บันทึกปริมาณขยะมูลฝอยจากแหลงกําเนิดตางๆ ที่ขนสงไปยังสถานีขนถายในแตละวัน
และปริมาณขยะมูลฝอยที่ขนสงไปยังสถานที่กําจัด

5-5. สถานที่นําวัสดุกลับคืน

5-5-1. ขอกําหนดทั่วไป

บุคคลใดที่จะดําเนินการสถานที่นําวัสดุกลับคืน จะตองจัดเตรียมรายละเอียดขอมูลดังตอไปนี้
(1) แผนที่แสดงที่ตั้งและอาณาเขตของสถานที่นําวัสดุกลับคืน การใชที่ดินโดยรอบในรัศมี 1
กิโลเมตร โดยใชมาตราสวนที่เหมาะสม
(2) แสดงแผนผังกระบวนการปฏิบัติงานของสถานที่นําวัสดุกลับคืน แหลงกําเนิด องคประกอบ
น้ําหนักหรือปริมาตรขยะมูลฝอยที่จะรับเขามา รวมทั้งการคาดการณปริมาณขยะมูลฝอยใน
อนาคต ตลอดจนประเภทของวัสดุที่นํากลับคืน
(3) จํานวนวันและชั่วโมงปฏิบัติงาน จํานวนบุคลากรทั้งหมด ขนาดของสถานที่นําวัสดุกลับคืน
ที่ไดออกแบบ เครื่องจักรและอุปกรณในการทํางานภายในสถานที่นําวัสดุกลับคืน
(4) แสดงพื้นที่ที่ใชในการถายเทขยะมูลฝอย การเก็บรวบรวมและการแปรสภาพ พื้นที่เก็บกอง
ชั่วคราว พื้นที่รวบรวมวัสดุที่นํากลับคืน ขยะมูลฝอยที่ไมสามารถแปรสภาพ ขยะมูลฝอยที่
ไมไดรับอนุญาตและสิ่งตกคาง

5-5-2. ขอกําหนดในการออกแบบ

(1) ในการออกแบบรายละเอียด ใหยึดถือหลักเกณฑและมาตรฐานที่ใชในประเทศมากที่สุด ใน


กรณี ที่ ไ ม มี เ กณฑ หรื อมาตรฐานในประเทศ ให ปฏิ บั ติ ตามหรื อประยุ ก ต ใ ช เ กณฑ ห รื อ
มาตรฐานที่ยอมรับในตางประเทศ ซึ่งเหมาะสมกับสภาพของประเทศไทยและสภาพทองถิ่น

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 5 เกณฑ มาตรฐาน


และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน • ผ 5-9
(2) มาตรฐานการกอสราง ใหยึดหลักปฏิบัติตามเกณฑ มาตรฐาน หรือรายละเอียดขอกําหนด
ตามระเบี ย บปฏิ บัติของทางราชการ ราชการสว นท องถิ่น รัฐ วิ สาหกิจ ที่ เ กี่ย วข อง หรื อ
มาตรฐานอื่นที่ยอมรับได ไดแก
1) งานโครงสราง ใชมาตรฐานตามขอกําหนดในเทศบัญญัติหรือขอบัญญัติ มาตรฐานของ
กรมโยธาธิการ หรือมาตรฐานอื่นที่ยอมรับได
2) งานถนน ใชมาตรฐานของกรมทางหลวง กรมโยธาธิการ หรือมาตรฐานอื่นที่ยอมรับได
3) งานไฟฟา ใชมาตรฐานของการไฟฟาสวนภูมิภาค หรือการไฟฟานครหลวง
4) งานประปา ใชมาตรฐานของการประปาสวนภูมิภาค หรือการประปานครหลวง
5) งานเครื่องกล ใชมาตรฐานของกรมโรงงานอุตสาหกรรม หรือมาตรฐานอื่นที่ยอมรับได
6) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ใชมาตรฐานของกรมโรงงานอุตสาหกรรม หรือกรม
สวัสดิการและคุมครองแรงงาน
7) การปอ งกั น อั คคี ภัย ใชม าตรฐานตามข อกํา หนดในเทศบัญญัติห รื อขอบัญ ญั ติ กรม
โยธาธิการ กรมโรงงานอุตสาหกรรม หรือมาตรฐานอื่นที่ยอมรับได
(3) จัดวางผังบริเวณแสดงรายละเอียดการใชพื้นที่ขององคประกอบตาง ๆ ในสถานที่นําวัสดุ
กลับคืน โดยใชมาตราสวนที่เหมาะสม
(4) ออกแบบพื้นที่หรืออาคารที่กําหนดใหมีการถายเท การคัดแยก การเก็บรวบรวม และการ
แปรสภาพวัสดุที่นํากลับคืน จะตองมีระบบระบายอากาศที่ดี การควบคุมปญหากลิน่ รบกวน
และติดตั้งระบบควบคุมเศษขยะมูลฝอยปลิว
(5) ระบบถนนภายในควรเปนพื้นแอสฟลต หรือคอนกรีตเสริมเหล็ก ความกวางของถนน
สําหรับการจราจรในทิศทางเดียวไมนอยกวา 3.5 เมตร สําหรับการจราจรสองทิศทาง มี
ความกวางไมนอยกวา 6 เมตร
(6) ถนนทางลาด (Ramp) ขึ้นอาคาร (ถามี) ใหมีความลาดเอียงไมมากกวา 10%
(7) ใหพื้นที่เก็บกองวัสดุที่นํากลับคืน มีขนาดไมนอยกวา 1 เทาของปริมาณวัสดุที่นํากลับคืน
สูงสุดตอวันที่คัดแยกและแปรสภาพได
(8) ระบุประเภท จํานวน และขนาดของเครื่องจักรอุปกรณทั้งหมดที่ใชในการคัดแยกและแปร
สภาพ
(9) จัดเตรียมการชั่งน้ําหนักหรือวัดปริมาตรขยะมูลฝอยที่นําเขา และวัสดุที่นํากลับคืนจากการ
คัดแยก
(10) ออกแบบระบบจั ด การน้ํ า ฝนที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยน้ํ า ฝนที่ร ะบายออกต อ งปราศจาก
องคประกอบ ซึ่งกอใหเกิดผลเสียหายตอสภาพแวดลอม

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 5 เกณฑ มาตรฐาน


และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน • ผ 5-10
(11) ออกแบบระบบควบคุมน้ําเสีย เพื่อปองกันการรั่วไหลของน้ําชะขยะมูลฝอยไปผสมกับน้ําฝน
และควบคุมคุณภาพน้ําทิ้งไมใหเกินมาตรฐานคุณภาพน้ําทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม ตาม
พรบ.โรงงาน
(12) องคประกอบตางๆ ของสถานที่นําวัสดุกลับคืนใหออกแบบตามความจําเปนของการใชงาน
และความเหมาะสมของขนาดพื้นที่ที่มีอยู เชน ระบบถนนภายในและระบบจราจร อาคาร
สํานักงาน บานพักเจาหนาที่ โรงซอมบํารุง พื้นที่จอดรถ พื้นที่ลางรถบรรทุก ประตูเขา-ออก
รั้ว ภูมิทัศน ระบบประปา ระบบไฟฟา ระบบสื่อสาร เปนตน

5-5-3. ขอกําหนดในการปฏิบัติงาน

(1) จัดเตรียมเจาหนาที่ปฏิบัติงานในชั่วโมงทํางาน ติดประกาศชั่วโมงปฏิบัติงานที่ประตูทางเขา


เพื่อใหสาธารณชนไดทราบ จัดเตรียมคูมือการปฏิบัติงานและการบํารุงรักษาเครื่องจักรและ
อุปกรณ การควบคุมความปลอดภัยในระหวางปฏิบัติงาน
(2) จัดเตรียมมาตรการตรวจสอบ และจัดการมิใหมูลฝอยติดเชื้อและของเสียอันตรายปะปนกับ
ขยะมูลฝอยทั่วไปในสถานที่นําวัสดุกลับคืน
(3) ตองควบคุมเศษขยะมูลฝอย กลิ่น แมลง และพาหะนําโรค เพื่อปองกันปญหารบกวนดาน
สุขอนามัยและสภาพที่ไมนาดู
(4) บันทึกปริมาณขยะมูลฝอยรายวันจากแหลงกําเนิดตางๆ เขาไปยังสถานที่นําวัสดุกลับคืน
ปริมาณและประเภทวัสดุที่คัดแยกหรือแปรสภาพ ขยะมูลฝอยที่ไมสามารถแปรสภาพและ
สิ่งตกคาง ซึ่งตองนําไปกําจัดตอไป
(5) ตองบําบัดน้ําเสียที่เกิดจากการปนเปอนขยะมูลฝอย และน้ําเสียใดๆทั้งหมดที่เกิดขึ้นภายใน
สถานที่ นํ า วั ส ดุ ก ลั บ คื น ให มี คุ ณ ภาพน้ํ า ทิ้ ง ไม เ กิ น มาตรฐานคุ ณ ภาพน้ํ า จากโรงงาน
อุตสาหกรรมตาม พรบ. โรงงาน เก็บตัวอยางน้ําทิ้งเพื่อตรวจสอบคุณภาพน้ําอยางนอยปละ
2 ครั้ง ดัชนีคุณภาพน้ําที่ตรวจสอบอยางนอยตองประกอบดวย ความเปนกรด-ดาง สาร
แขวนลอยทั้งหมด สารละลายทั้งหมด และบีโอดี
(6) จัดเตรียมมาตรการปองกันอัคคีภัย แผนฉุกเฉิน เพื่อแกไขปญหากรณีเครื่องจักรอุปกรณเกิด
ขัดของ หรือเกิดความลาชา ดวยสาเหตุอื่นใดในการปฏิบัติงาน

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 5 เกณฑ มาตรฐาน


และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน • ผ 5-11
5-6. สถานที่กําจัดโดยเตาเผา

5-6-1. ขอกําหนดทั่วไป

บุคคลใดที่จะดําเนินการสถานที่กําจัดโดยเตาเผาจะตองจัดเตรียมรายละเอียดขอมูลดังตอไปนี้
(1) แผนที่หรือภาพถายทางอากาศแสดงที่ตั้งและอาณาเขตของสถานที่กําจัดโดยเตาเผา การใช
ที่ดินโดยรอบในรัศมี 1 กิโลเมตร โดยใชมาตราสวนที่เหมาะสม
(2) แสดงแผนผังกระบวนการปฏิบัติงานของสถานที่กําจัดโดยเตาเผา แหลงกําเนิด องคประกอบ
ปริมาณขยะมูลฝอยที่จะรับเขามากําจัด รวมทั้งการคาดการณปริมาณขยะมูลฝอยในอนาคต
(3) กระบวนการเผาและขนาดที่ใชออกแบบ เครื่องจักรและอุปกรณที่ใชงานทั้งหมด จํานวนวัน
และชั่ วโมงปฏิ บั ติ งาน จํ านวนบุ คลากรทั้ งหมด มาตรการความปลอดภั ยในระหว างการ
ปฏิบัติงาน
(4) รูปแบบการควบคุมการระบายอากาศเสียจากปลองเตาเผา การนําพลังงานความรอนกลับไป
ใชประโยชน (ถามี) การเก็บรวบรวมและการจัดการกากขี้เถา

5-6-2. ขอกําหนดในการออกแบบ

(1) ในการออกแบบรายละเอียด ใหยึดถือหลักเกณฑและมาตรฐานที่ใชในประเทศมากที่สุด ใน


กรณี ที่ ไม มี เกณฑ หรื อมาตรฐานในประเทศ ให ปฏิ บั ติ ตามหรื อประยุ กต ใช เกณฑ หรื อ
มาตรฐานที่ยอมรับในตางประเทศ ซึ่งเหมาะสมกับสภาพของประเทศไทยและสภาพทองถิ่น
(2) มาตรฐานการกอสราง ใหยึดหลักปฏิบัติตามเกณฑ มาตรฐาน หรือรายละเอียดขอกําหนดตาม
ระเบียบปฏิบัติของทางราชการ ราชการสวนทองถิ่น รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวของ หรือมาตรฐานอื่น
ที่ยอมรับได ไดแก
1) งานโครงสราง ใชมาตรฐานตามขอกําหนดในเทศบัญญัติหรือขอบัญญัติ มาตรฐานของ
กรมโยธาธิการ หรือมาตรฐานอื่นที่ยอมรับได
2) งานถนน ใชมาตรฐานของกรมทางหลวง กรมโยธาธิการ หรือมาตรฐานอื่นที่ยอมรับได
3) งานไฟฟา ใชมาตรฐานของการไฟฟาสวนภูมิภาค หรือการไฟฟานครหลวง
4) งานประปา ใชมาตรฐานของการประปาสวนภูมิภาค หรือการประปานครหลวง
5) งานเครื่องกล ใชมาตรฐานของกรมโรงงานอุตสาหกรรม หรือมาตรฐานอื่นที่ยอมรับได
6) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ใชมาตรฐานของกรมโรงงานอุตสาหกรรม หรือกรม
สวัสดิการและคุมครองแรงงาน

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 5 เกณฑ มาตรฐาน


และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน • ผ 5-12
7) การป อ งกั น อั คคี ภั ย ใช ม าตรฐานตามข อกํา หนดในเทศบัญญัติห รื อขอบัญ ญั ติ กรม
โยธาธิการ กรมโรงงานอุตสาหกรรม หรือมาตรฐานอื่นที่ยอมรับได
(3) จัดวางผังบริเวณแสดงรายละเอียดการใชพื้นที่ขององคประกอบตางๆ ในสถานที่กําจัดโดย
เตาเผา โดยใชมาตราสวนที่เหมาะสม
(4) ออกแบบอาคารและพื้นที่ถายเทและการเก็บรวบรวม คัดแยกขยะมูลฝอย โรงเตาเผาภายใน
อาคาร พื้นที่รวบรวมวัสดุที่คัดแยกและกากขี้เถา
(5) ถนนภายในควรเปนพื้นแอสฟลต หรือคอนกรีตเสริมเหล็ก ความกวางของถนนสําหรับ
การจราจรในทิศทางเดียวไมนอยกวา 3.5 เมตร สําหรับการจราจรสองทิศทาง มีความกวาง
ไมนอยกวา 6.0 เมตร
(6) ถนนทางลาด (Ramp) ขึ้นอาคาร (ถามี) มีความลาดเอียงไมมากกวา 10%
(7) บอรับขยะมูลฝอยหรือสถานที่เก็บกักชั่วคราว ควรมีความจุไมนอยกวา 2 เทาของปริมาตร
ขยะมูลฝอยสูงสุดตอวันที่เตาเผาสามารถกําจัดได
(8) ออกแบบระบบควบคุมการระบายอากาศเสียจากปลอง ทั้งฝุนละอองและกาซตางๆ ที่เกิดจาก
การเผาไหม และตองมีคุณภาพไมเกินมาตรฐานควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียจากเตาเผา
ขยะมูลฝอย ตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม
(9) ความสูงของปลองเตาเผาที่ใชระบายอากาศเสีย ใหมีความสูงอยางนอย 20 เมตร
(10) ออกแบบและจัดเตรียมรูปแบบ ขนาด และประสิทธิภาพในการทํางานของเตาเผา การแปรสภาพ
กอนการเผา การปอนขยะมูลฝอย การนําความรอนกลับไปใชประโยชน รวมทั้งการจัดการกากขี้เถา
(11) จัดเตรียมการชั่งน้ําหนักขยะมูลฝอยที่นําไปเผา และปริมาณกากขี้เถาที่เก็บรวบรวมไวกอน
นําไปกําจัดตอไป
(12) ออกแบบควบคุมปญหากลิ่นรบกวน ระบบระบายอากาศที่ดี และการควบคุมเศษขยะมูลฝอยปลิว
(13) ออกแบบระบบจัดการน้ําฝนภายในสถานที่กําจัดโดยเตาเผาที่มีประสิทธิภาพ โดยน้ําฝน
ระบายออกตองปราศจากองคประกอบ ซึ่งกอใหเกิดผลเสียหายตอสภาพแวดลอม
(14) ออกแบบระบบควบคุมน้ําเสีย เพื่อปองกันการรั่วไหลของน้ําชะขยะมูลฝอยไปผสมกับน้ําฝน
และควบคุมคุณภาพน้ําทิ้งกอนระบายทิ้งสูภายนอก โดยจะตองไมเกินมาตรฐานคุณภาพ
น้ําทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม ตาม พรบ.โรงงาน
(15) ออกแบบระบบกําจัดกากขี้เถา โดยสามารถฝงกลบในสถานที่ฝงกลบขยะมูลฝอยชุมชนได
แตใหแยกพื้นที่หลุมฝงกลบกับขยะมูลฝอยชุมชน โดยกนหลุมใหดาดดวยดินที่มีอัตราการ
ซึมผานของน้ําสูงสุด 1 x 10-7 ซม./วินาที หนา 60 ซม. หรือใชวัสดุสังเคราะหชั้นเดียวหนา
ไมนอยกวา 1.5 มม. กับดินที่มีอัตราการซึมผานของน้ําไมมากกวา 1 x 10-5 ซม./วินาที หนา
60 ซม. พรอมติดตั้งระบบรวบรวมและสูบน้ําเสียเหนือชั้นวัสดุกันซึม

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 5 เกณฑ มาตรฐาน


และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน • ผ 5-13
(16) องคประกอบตางๆ ของสถานที่กําจัดโดยเตาเผาใหออกแบบตามความจําเปนของการใช
งานและความเหมาะสมของขนาดพื้นที่ที่มีอยู เชน ระบบถนนภายในและการจราจร อาคาร
สํานักงาน บานพักเจาหนาที่ โรงซอมบํารุง พื้นที่จอดรถ พื้นที่ลางรถบรรทุก ประตูเขา-ออก
รั้ว ภูมิทัศน ระบบประปา ระบบไฟฟา ระบบสื่อสาร เปนตน

5-6-3. ขอกําหนดในการปฏิบัติงาน

(1) จัดเตรียมเจาหนาที่ปฏิบัติงานในชั่วโมงทํางาน ติดประกาศชั่วโมงปฏิบัติงานที่ประตูทางเขา


เพื่อใหสาธารณชนไดทราบโดยทั่วกัน
(2) จั ด เตรี ย มคู มื อ การปฏิ บั ติ ง านและการบํ า รุ ง รั ก ษา มาตรการควบคุ ม ความปลอดภั ย ใน
ระหวางการปฏิบัติงาน
(3) จัดเตรียมมาตรการตรวจสอบ และการจัดการมิใหมูลฝอยติดเชื้อและของเสียอันตรายปะปน
กับขยะมูลฝอยทั่วไปในสถานที่กําจัดโดยเตาเผา
(4) ตองควบคุมเศษขยะมูลฝอย กลิ่น แมลง และพาหะนําโรค เพื่อปองกันปญหารบกวนดาน
สุขอนามัยและสภาพที่ไมนาดู
(5) บัน ทึก ปริมาณขยะมู ลฝอยรายวันจากแหลงกํา เนิด ตางๆ ที่นํ าเขาไปกําจัด ปริมาณและ
ประเภทวัสดุที่คัดแยกออกหรือสิ่งตกคาง ปริมาณกากขี้เถาที่เก็บรวบรวม
(6) ตองจัดเตรียมมาตรการปองกันอัคคีภัย และแผนฉุกเฉินเพื่อแกไขปญหากรณีเครื่องจักร
อุปกรณเกิดขัดของ หรือเกิดความลาชา ดวยสาเหตุอื่นใดในระหวางการปฏิบัติงาน
(7) ติดตามตรวจสอบอากาศเสียจากปลองเตาเผา อยางนอยปละ 2 ครั้ง โดยทําการเก็บตัวอยาง
และตรวจวิเคราะหหาปริมาณฝุนละออง ซัลเฟอรไดออกไซด ออกไซดของไนโตรเจน
ไฮโดรเจนคลอไรด สารประกอบไดออกซิน และความทึบแสง ซึ่งจะตองมีคาไมเกินมาตรฐาน
ควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียจากเตาเผาขยะมูลฝอย ตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร
เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม
(8) ตองบําบั ด น้ํา เสีย ที่ เ กิดจากการปนเปอ นขยะมูลฝอย และน้ํ าเสี ยใด ๆ ทั้งหมดที่ เกิ ด ขึ้ น
ภายในสถานที่กําจัดโดยเตาเผา ใหมีคุณภาพน้ําทิ้งไมเกินมาตรฐานคุณภาพน้ําทิ้งจากโรงงาน
อุตสาหกรรมตาม พรบ. โรงงาน เก็บตัวอยางน้ําทิ้งเพื่อตรวจสอบคุณภาพน้ําอยางนอยปละ
2 ครั้ง ดัชนีคุณภาพน้ําที่ตรวจสอบอยางนอยตองประกอบดวย ความเปนกรด-ดาง สาร
แขวนลอยทั้งหมด สารละลายทั้งหมด และบีโอดี
(9) ตองกําจัดกากขี้เถาโดยการฝงกลบ หรือวิธีการที่เหมาะสมที่ไมกอใหเกิดผลเสียตอสภาพแวดลอม

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 5 เกณฑ มาตรฐาน


และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน • ผ 5-14
5-7. สถานที่หมักทําปุย

5-7-1. ขอกําหนดทั่วไป

บุคคลใดที่จะดําเนินการสถานที่หมักทําปุย จะตองจัดเตรียมรายละเอียดขอมูลดังตอไปนี้
(1) แผนที่หรือภาพถายทางอากาศแสดงที่ตั้งและอาณาเขตของสถานที่หมักทําปุย การใชที่ดิน
โดยรอบในรัศมี 1 กิโลเมตร โดยใชมาตราสวนที่เหมาะสม
(2) แสดงแผนผังกระบวนการปฏิบัติงานของสถานที่หมักทําปุย แหลงกําเนิด องคประกอบ
ปริมาณขยะมูลฝอยที่จะรับเขามากําจัด สารเติมแตงที่ใช รวมทั้งการคาดการณปริมาณขยะ
มูลฝอยในอนาคต
(3) กระบวนการหมักและกําลังผลิตที่ออกแบบไว เครื่องจักรและอุปกรณที่ใชงาน ระยะเวลาที่
ใชในการหมัก การคัดแยกวัสดุและการแปรสภาพกอนการหมัก
(4) จํานวนวันและชั่วโมงปฏิบัติงาน จํานวนบุคลากรทั้งหมด การจัดการวัสดุที่คัดแยกออก
หรือสิ่งตกคาง เพื่อนําไปกําจัดตอไป ปริมาณปุยที่ผลิตได

5-7-2. ขอกําหนดในการออกแบบ

(1) ในการออกแบบรายละเอียด ใหยึดถือหลักเกณฑและมาตรฐานที่ใชในประเทศมากที่สุด ใน


กรณี ที่ ไ มมี เ กณฑ ห รื อ มาตรฐานในประเทศ ให ปฏิ บัติ ต ามหรือ ประยุ ก ต ใ ช เ กณฑห รื อ
มาตรฐานที่ ย อมรั บ ในต า งประเทศ ซึ่ ง เหมาะสมกั บ สภาพของประเทศไทยและสภาพ
ทองถิ่น
(2) มาตรฐานการกอสราง ใหยึดหลักปฏิบัติตามเกณฑ มาตรฐาน หรือรายละเอียดขอกําหนด
ตามระเบียบปฏิบัติของทางราชการ ราชการสวนทองถิ่น รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวของ หรือมาตรฐาน
อื่นที่ยอมรับได ไดแก
1) งานโครงสราง ใชมาตรฐานตามขอกําหนดในเทศบัญญัติหรือขอบัญญัติ มาตรฐานของ
กรมโยธาธิการ หรือมาตรฐานอื่นที่ยอมรับได
2) งานถนน ใชมาตรฐานของกรมทางหลวง กรมโยธาธิการ หรือมาตรฐานอื่นที่ยอมรับได
3) งานไฟฟา ใชมาตรฐานของการไฟฟาสวนภูมิภาค หรือการไฟฟานครหลวง
4) งานประปา ใชมาตรฐานของการประปาสวนภูมิภาค หรือการประปานครหลวง
5) งานเครื่องกล ใชมาตรฐานของกรมโรงงานอุตสาหกรรม หรือมาตรฐานอื่นที่ยอมรับได
6) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ใชมาตรฐานของกรมโรงงานอุตสาหกรรม หรือกรม
สวัสดิการและคุมครองแรงงาน

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 5 เกณฑ มาตรฐาน


และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน • ผ 5-15
7) การปอ งกัน อั คคี ภัย ใชม าตรฐานตามข อกํา หนดในเทศบั ญญัติ ห รื อขอบัญ ญัติ กรม
โยธาธิการ กรมโรงงานอุตสาหกรรม หรือมาตรฐานอื่นที่ยอมรับได
(3) จัดวางผังบริเวณ แสดงรายละเอียดการใชพื้นที่ขององคประกอบตางๆ ในสถานที่หมักทําปุย
รวมทั้งการจัดเตรียมแผนที่ภูมิประเทศแสดงเสนชั้นความสูง โดยใชมาตราสวนที่เหมาะสม
(4) ออกแบบอาคารและพื้นที่ที่ใชในการรับ แปรสภาพ การหมัก การบม หรือการเก็บรวบรวม
ขยะมูลฝอย ตองมีระบบระบายอากาศที่ดี ติดตั้งระบบควบคุมกลิ่น และเศษขยะมูลฝอยปลิว
(5) จัดเตรียมการชั่งน้ําหนักขยะมูลฝอยที่นําเขามาหมัก และปริมาณสารเติมแตงที่ใชในการหมัก
(6) ถนนภายในควรเปนพื้นแอสฟลต หรือคอนกรีตเสริมเหล็ก ความกวางของถนนสําหรับ
การจราจรในทิศทางเดียวไมนอยกวา 3.5 เมตร สําหรับการจราจรสองทิศทาง มีความกวาง
ไมนอยกวา 6.0 เมตร
(7) ถนนทางลาด (Ramp) ขึ้นอาคาร (ถามี) มีความลาดเอียงไมมากกวา 10%
(8) บริเวณพื้นที่ใชในการหมัก การบม จะตองเปนพื้นแอสฟลต หรือคอนกรีต
(9) ออกแบบและจัดเตรียมประเภท จํานวน และขนาดของเครื่องจักรและอุปกรณที่ใชในการคัด
แยก แปรสภาพ การหมัก และการบม
(10) ออกแบบระบบจัดการน้ําฝน ซึ่งอยางนอยที่สุดตองสามารถปองกันน้ําฝนจากฝนที่ตกหนัก
ที่สุดในคาบ 25 ป ไหลสูสวนตางๆ ของบริเวณที่ทําการหมักปุย และจะตองสามารถ
รวบรวมและควบคุมปริมาณน้ําทาจากฝนที่ตกหนักที่สุดในคาบ 25 ป ระยะเวลา 24 ชั่วโมง
(11) ออกแบบระบบควบคุมน้ําเสีย เพื่อปองกันการรั่วไหลของน้ําชะขยะมูลฝอยไปผสมกับน้ําฝน
น้ําฝนที่สัมผัสกับขยะมูลฝอยหรือปุยหรือน้ําชะขยะมูลฝอยจะถือวาเปนน้ําชะขยะมูลฝอย
ซึ่งตองบําบัดใหไดมาตรฐานคุณภาพน้ําทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม ตาม พรบ.โรงงาน
(12) องคประกอบตางๆ ของสถานที่หมักทําปุยใหออกแบบตามความจําเปนของการใชงานและ
ความเหมาะสมของขนาดพื้ น ที่ ที่ มี อยู เช น ระบบถนนภายในและระบบจราจร อาคาร
สํานักงาน บานพักเจาหนาที่ โรงซอมบํารุง พื้นที่จอดรถ พื้นที่ลางรถบรรทุก ประตูเขา-ออก
รั้ว ภูมิทัศน ระบบประปา ระบบไฟฟา ระบบสื่อสาร เปนตน

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 5 เกณฑ มาตรฐาน


และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน • ผ 5-16
5-7-3. ขอกําหนดในการปฏิบัติงาน

(1) กําหนดบุคลากรปฏิบัติงานในระหวางชั่วโมงทํางาน ติดประกาศชั่วโมงปฏิบัติงานที่ประตู


ทางเขา เพื่อใหสาธารณชนไดทราบโดยทั่วกัน
(2) จั ด เตรี ย มคู มื อ การปฏิ บั ติ ง านและการบํ า รุ ง รั ก ษา มาตรการควบคุ ม ความปลอดภั ย ใน
ระหวางการปฏิบัติงาน
(3) จัดเตรียมมาตรการตรวจสอบ และจัดการมิใหมูลฝอยติดเชื้อและของเสียอันตรายปะปนกับ
ขยะมูลฝอยทั่วไปในสถานที่หมักทําปุย
(4) บันทึกปริมาณขยะมูลฝอยรายวันจากแหลงกําเนิดตางๆ ที่รับเขามา ปริมาณและประเภท
วัสดุที่คัดแยกออกหรือสิ่งตกคาง
(5) ตองจัดเตรียมมาตรการปองกันอัคคีภัย และแผนฉุกเฉินเพื่อแกไขปญหากรณีเครื่องจักร
อุปกรณเกิดขัดของ หรือเกิดความลาชา ดวยสาเหตุอื่นใดในระหวางการปฏิบัติงาน
(6) ตองควบคุมเศษขยะมูลฝอย กลิ่น แมลง และพาหะนําโรค เพื่อปองกันปญหารบกวนดาน
สุขอนามัยและสภาพที่ไมนาดู
(7) นอกเหนือจากวัสดุที่นํากลับคืน วัสดุที่คัดแยกออกหรือสิ่งตกคางจะตองเคลื่อนยายออก
และนําไปกําจัดดวยวิธีการที่เหมาะสมที่ไมกอใหเกิดผลเสียตอสภาพแวดลอม
(8) การติดตามตรวจสอบน้ําผิวดิน แหลงน้ําผิวดินภายนอกอาณาเขตสถานที่หมักทําปุย ซึ่งอาจ
ไดรับผลกระทบจากสิ่งปนเปอนจากการดําเนินงานของสถานที่หมักทําปุย สําหรับแหลงน้ํา
นิ่งจะตรวจสอบอยางนอย 1 จุด ในบริเวณที่ใกลที่สุดกับสถานที่หมักทําปุย สําหรับลําน้ําไหล
จะตองตรวจสอบอยางเพียงพอทั้งจุดเหนือน้ําและทายน้ํา สําหรับน้ําทิ้งจากการบําบัดน้ําเสีย
จะตรวจสอบที่จุดปลอยออกจากอาณาเขตของสถานที่หมักทําปุย
(9) ขอกําหนดการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ํา ความถี่ของการสุมตัวอยาง และการตรวจ
วิเคราะห มีดังนี้
1) คุณภาพน้ํากอนเริ่มโครงการ ทําการสุมตัวอยางน้ําและตรวจวิเคราะหคุณภาพจากแหลง
น้ําผิวดินภายนอกสถานที่หมักทําปุยกอนเริ่มดําเนินการอยางนอย 1 ครั้ง
2) ดัชนีคุณภาพน้ําผิวดินตรวจสอบตามปกติ ทําการสุมตัวอยางและวิเคราะหปละ 2 ครั้ง
โดยเฉพาะในชวงตนฤดูฝน และฤดูแลง รายละเอียดดัชนีคุณภาพน้ําดังแสดงในตาราง
ขางลาง
3) คุณภาพน้ําทิ้งจากการบําบัดน้ําเสีย หรือจากบอเก็บกักน้ําฝนใหสุมตัวอยาง และตรวจวิเคราะห
ปละ 2 ครั้ง ดัชนีคุณภาพน้ําที่ตรวจสอบอยางนอยตองประกอบดวย ความเปนกรด-ดาง สาร
แขวนลอยทั้งหมด สารละลายทั้งหมด บีโอดี แอมโมเนีย ไนเตรท และฟอสเฟตทั้งหมด

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 5 เกณฑ มาตรฐาน


และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน • ผ 5-17
„ ดัชนีคุณภาพน้ําผิวดิน
ดัชนีคุณภาพในสนาม ดัชนีคุณภาพในหองปฏิบัติการ
1. ความนําไฟฟา 1. สารแขวนลอยทั้งหมด
2. ความเปนกรด-ดาง 2. สารละลายทั้งหมด
3. ออกซิเจนละลายน้ํา 3. บีโอดี
4. ความขุน 4. ซีโอดี
5. อุณหภูมิ 5. แอมโมเนีย
6. สี 6. ไนเตรท
7. อารเซนิก
8. ไซยาไนด
9. ฟนอล
10. ทองแดง
11. นิกเกิล
12. สังกะสี
13. แคดเมียม
14. โครเมียมเฮ็กซาวาเลนท
15. ตะกั่ว
16. ปรอท
17. โคลิฟอรมทั้งหมด
18. ฟคัลโคลิฟอรม

5-8. สถานที่ฝงกลบขยะมูลฝอย

5-8-1. ขอกําหนดทั่วไป

บุคคลใดที่จะดําเนินการสถานที่ฝงกลบขยะมูลฝอย จะตองจัดเตรียมรายละเอียดขอมูล และปฏิบัติตาม


หลักเกณฑดังตอไปนี้
(1) แผนที่หรือภาพถายทางอากาศแสดงที่ตั้งและอาณาเขตของสถานที่ฝงกลบ การใชที่ดินโดยรอบ
ในรัศมี 1 กิโลเมตร โดยใชมาตราสวนที่เหมาะสม
(2) แสดงแผนผังกระบวนการปฏิบัติงานของสถานที่ฝงกลบขยะมูลฝอย แหลงกําเนิด องคประกอบ
ปริมาณขยะมูลฝอยที่จะนําเขามากําจัด การคาดการณปริมาณขยะมูลฝอยในอนาคต

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 5 เกณฑ มาตรฐาน


และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน • ผ 5-18
(3) จํานวนวันและชั่วโมงปฏิบัติงาน จํานวนบุคลากรทั้งหมด เครื่องจักรกลหนักที่ใชงาน อายุ
ใชงานของสถานที่ฝงกลบ แหลงและประเภทของวัสดุกลบทับ
(4) ประเภทของสถานที่ฝงกลบ แบงออกเปน
• ประเภทที่ 1 รับขยะมูลฝอยทั่วไป
• ประเภทที่ 2 รับขยะมูลฝอยที่ยอยสลายยากหรือไมเกิดเนาเสียงาย เชนพลาสติก ยาง
ทอนไม แกว เศษวัสดุกอสราง เปนตน
(5) ขนาดเนื้อที่ที่ใ ชในการกอสรางสถานที่ฝงกลบมูลฝอย ใหใชแ นวทางพิ จารณาตอไปนี้
(ใชการฝงกลบรวม 4 ชั้น และมีอายุใชงานประมาณ 20 ป)
10-50 ตัน/วัน ใชเนื้อที่ 15-70 ไร
50-100 ตัน/วัน ใชเนื้อที่ 70-130 ไร
100-300 ตัน/วัน ใชเนื้อที่ 130-380 ไร
300-500 ตัน/วัน ใชเนื้อที่ 380-620 ไร

(6) เขตของการระบายน้ําทิ้ง (Zone of discharge) จะตองไมเกิน 100 เมตรจากขอบเขตของ


พื้นที่หลุมฝงกลบขยะมูลฝอยหรือขอบเขตของสถานที่ฝงกลบ แลวแตระยะใดใกลกวากัน
(7) สภาพทางธรณีวิทยาควรเปนชั้นดินหรือชั้นหินตามธรรมชาติ ซึ่งอัตราการซึมผานของน้ํา
นอยถึงนอยมาก (K< 1x 10-5 ซม. /วินาที) ความหนาของชั้นดินหรือชั้นหินนั้นไมนอยกวา 3
เมตร และมีการแผกระจายกวางกวาพื้นที่ฝงกลบขยะมูลฝอยไมนอยกวาดานละ 50 เมตร
(8) สภาพทางอุ ท กธรณี วิ ท ยา ให สํ า รวจ อธิ บ ายสภาพอุ ท กธรณี วิ ท ยาของสถานที่ ฝ ง กลบ
ทิศทางและความเร็วของการไหลของน้ําบาดาล คุณภาพน้ําและระดับน้ําสูงสุดของน้ําใตดิน
และน้ําผิวดินกอนเริ่มโครงการ ลักษณะภูมิประเทศ ชั้นหินอุมน้ํา แหลงน้ําสาธารณะและ
ของเอกชนภายในรัศมี 1 กิโลเมตร
(9) สภาพทางธรณีวิทยาเทคนิค ใหสํารวจและอธิบายสภาพชั้นดิน น้ําใตดิน อัตราการซึมผาน
ของน้ําของชั้นดิน สภาพความเสี่ยงตอการเกิดแผนดินไหว รอยเลื่อน แผนดินถลม และ
หลุมยุบ วิเคราะหฐานรากที่รองรับภาระและแรงกดลงจากการฝงกลบขยะมูลฝอย สภาพ
การทรุดตัวภายหลังการฝงกลบ
(10) ระดับกนบอฝงกลบ จะตองอยูสูงกวาระดับน้ําใตดินสูงสุดไมนอยกวา 1 เมตร ยกเวนใน
กรณีที่มีการออกแบบพิเศษ เพื่อควบคุมปองกันแรงดันขึ้น (Uplift) ของน้ําใตดินตอชั้นขยะ
มูลฝอยในหลุมฝงกลบ

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 5 เกณฑ มาตรฐาน


และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน • ผ 5-19
5-8-2. ขอกําหนดในการออกแบบ

(1) ในการออกแบบรายละเอียด ใหยึดถือหลักเกณฑและมาตรฐานที่ใชในประเทศมากที่สุด ใน


กรณี ที่ ไ ม มี เ กณฑ ห รื อ มาตรฐานในประเทศ ให ป ฏิ บั ติ ต ามหรื อ ประยุ ก ต ใ ช เ กณฑ ห รื อ
มาตรฐานที่ยอมรับในตางประเทศ ซึ่งเหมาะสมกับสภาพของประเทศไทยและสภาพทองถิ่น
(2) มาตรฐานการกอสราง ใหยึดหลักปฏิบัติตามเกณฑ มาตรฐาน หรือรายละเอียดขอกําหนด
ตามระเบียบปฏิบัติของทางราชการ ราชการสวนทองถิ่น รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวของ หรือ
มาตรฐานอื่นที่ยอมรับได ไดแก
1) งานโครงสราง ใชมาตรฐานตามขอกําหนดในเทศบัญญัติหรือขอบัญญัติ มาตรฐานของ
กรมโยธาธิการ หรือมาตรฐานอื่นที่ยอมรับได
2) งานถนน ใชมาตรฐานของกรมทางหลวง กรมโยธาธิการ หรือมาตรฐานอื่นที่ยอมรับได
3) งานไฟฟา ใชมาตรฐานของการไฟฟาสวนภูมิภาค หรือการไฟฟานครหลวง
4) งานประปา ใชมาตรฐานของการประปาสวนภูมิภาค หรือการประปานครหลวง
5) งานเครื่องกล ใชมาตรฐานของกรมโรงงานอุตสาหกรรม หรือมาตรฐานอื่นที่ยอมรับได
6) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ใชมาตรฐานของกรมโรงงานอุตสาหกรรม หรือกรม
สวัสดิการและคุมครองแรงงาน
7) การปอ งกัน อั คคี ภั ย ใชม าตรฐานตามข อกํา หนดในเทศบัญญัติห รื อขอบัญ ญั ติ กรม
โยธาธิการ กรมโรงงานอุตสาหกรรม หรือมาตรฐานอื่นที่ยอมรับได
(3) จัดวางผังบริเวณ แสดงรายละเอียดการใชพื้นที่ขององคประกอบตางๆ แผนที่ภูมิประเทศ
มาตรสวนไมเกินกวา 1 : 2,500 แสดงเสนชั้นความสูง ความลาดเอียง ภาพตัดขวาง
(4) องคประกอบตางๆ ของสถานที่ฝงกลบใหออกแบบตามความจําเปนของการใชงานและ
ความเหมาะสมของขนาดพื้นที่ที่มีอยู เชน บริเวณที่จัดเตรียมเปนบอฝงกลบ ระบบถนน
ภายในและระบบจราจร อาคารสํ า นั ก งาน อาคารเครื่ อ งชั่ ง น้ํ า หนั ก รถบรรทุ ก บ า นพั ก
เจาหนาที่ โรงซอมบํารุง พื้นที่จอดรถ พื้นที่ลางรถบรรทุก ประตูเขา-ออก รั้ว ภูมิทัศน การ
จัดพื้นที่ฉนวน ระบบประปา ระบบไฟฟา ระบบสื่อสาร เปนตน ตลอดจนระบุประเภทและ
จํานวนของเครื่องจักรกลหนักที่ใชงาน
(5) ระบบปองกันการปนเปอนมลพิษ
(5.1) การใชวัสดุกันซึม
วัสดุกันซึมตองสรางจากวัสดุที่มีคุณสมบัติเหมาะสมทนตอการกัดกรอนที่จะตอง
สัมผัสกับน้ําชะมูลฝอย ทนความเสียหายจากการสัมผัสกับขยะมูลฝอย ทนความดันชลศาสตร
วัสดุกันซึมนี้ตองติดตั้งบนพื้นหรือสภาพทางธรณีวิทยาที่สามารถรองรับแรงกดดันจากน้ําหนัก

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 5 เกณฑ มาตรฐาน


และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน • ผ 5-20
ของขยะมูลฝอย และตองติดตั้งใหครอบคลุมดินโดยรอบทั้งหมดที่จะตองสัมผัสกับขยะมูลฝอย
หรือน้ําชะมูลฝอย วัสดุกันซึมเหลานี้อาจใชดินเหนียวบดอัด วัสดุสังเคราะหประเภทแผนโพลิ
เอททิลีนชนิดความหนาแนนสูง (HDPE) หรือใชดินเหนียวรวมกับวัสดุสังเคราะห โดยทั่วไป
การปูวัสดุกันซึมที่ผนังและกนบอฝงกลบแบงออกเปน 4 ประเภท คือ
1) การใชดินที่มีอัตราการไหลซึมต่ํา (Low Permeable Soil Liner) ประกอบดวย
ชั้นดินเหนียวบดอัดหนา 60 ซม. และมีคาอัตราการซึมผานของน้ําสูงสุด 1x 10-7
ซม. /วินาที และมีชั้นรวบรวมและสูบน้ําชะมูลฝอยอยูดานบน โดยแรงดันของ
น้ําชะมูลฝอย (Hydraulic Head) ตองไมเกิน 30 ซม. และมีชั้นดินปกคลุมเหนือ
ชั้นรวบรวมและสูบน้ําชะมูลฝอย หนาอยางนอย 30 ซม. กอนที่จะมีการฝงขยะ
มูลฝอยลงไป
2) การใชแผนวัสดุสังเคราะหชั้นเดียวกับดินที่มีอัตราการไหลซึมต่ํา (Single
geosynthetic liner with low permeable soil) ประกอบดวยชั้นแผนวัสดุ
สังเคราะหประเภท HDPE หนา 1.5 เมตรขึ้นไป ดานบนของแผนวัสดุสังเคราะห
จะมีชั้นรวบรวมและสูบน้ําชะมูลฝอย และแรงดันน้ําชะมูลฝอยเหนือวัสดุกันซึม
ไมเกิน 30 ซม. สวนชั้นลางของวัสดุสังเคราะหเปนดินบดอัดหนา 60 ซม. มีคา
อัตราการซึมผานของน้ําที่อิ่มตัว ไมมากกวา 1x 10-5 ซม. /วินาที
3) การใชวัสดุกันซึมผสม (Composite Liner) จะมีลักษณะคลายคลึงกับวัสดุกันซึม
ประเภทแผนวัสดุสังเคราะหชั้นเดียว แตกตางกันเพียงคาอัตราการซึมผานของน้ํา
ของดินที่อยูชั้นลางแผนวัสดุสังเคราะหจะมีคาไมเกิน 1x 10-7 ซม. /วินาที
4) การใชวัสดุกันซึม (Double Liner) ประกอบดวยแผนวัสดุสังเคราะหเปนดินบด
อัดหนา 60 ซม. HDPE 2 ชั้น หนา 1.5 เมตรขึ้นไป ดานบนของแผนวัสดุ
สังเคราะหชั้นบนจะเปนชั้นรวบรวมน้ําชะมูลฝอย และแรงดันน้ําชะมูลฝอย
เหนือแผนวัสดุสังเคราะหชั้นบนไมเกิน 30 ซม. ชั้นนี้จะมีคาอัตราการซึมผาน
ของน้ํา ไมต่ํากวา 1x 10-3 ซม. /วินาที ระหวางแผนวัสดุสังเคราะหทั้งสองชั้นจะ
มีชั้นรวบรวมน้ําชะมูลฝอยอีกชั้นหนึ่งทําหนาที่ตรวจสอบรอยรั่วของแผนวัสดุ
สังเคราะหชั้นบน ซึ่งมีคาอัตราการซึมผานของน้ํา ต่ําสุด 10 ซม. /วินาที และ
แรงดันของน้ําชะมูลฝอยในชั้นนี้ไมเกิน 2.5 ซม.
(5.2) ระบบรวบรวมและสูบน้ําชะมูลฝอย
การออกแบบหลุ มฝ ง กลบที่ มี ชั้น วั ส ดุกั น ซึม เพื่ อป อ งกั น การไหลซึม ของน้ํ า ชะ
มูลฝอยไปปนเปอนชั้นน้ําใตดิน ระบบรวบรวมและสูบน้ําชะมูลฝอยตองสรางจากวัสดุที่มี
ความทนทานทางเคมีจากน้ําชะมูลฝอย และแข็งแรงพอที่จะปองกันการพังทลายภายใต
แรงดันที่เกิดจากการกองทับของขยะมูลฝอย วัสดุกลบทับและเครื่องจักรกลที่ใชในการฝง

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 5 เกณฑ มาตรฐาน


และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน • ผ 5-21
กลบ ระบบรวบรวมน้ําชะมูลฝอยนี้จะอยูเหนือชั้นวัสดุกันซึมโดยจะประกอบดวยทอ PVC
หรือ HDPE ไมนอยกวา 4 นิ้ว เจาะรูหุมโดยดวยแผนกรองใยสังเคราะหและวางในชั้นกรวด
หรือทรายมนที่มีคาอัตราการซึมผานของน้ํา (หรือคาความนําชลศาสตร) ไมนอยกวา 1x 10-3
ซม. /วินาที มีความหนาไมนอยกวา 30 ซม. ระยะหางและความลาดเอียงของทอรวบรวมน้ํา
ชะมูลฝอยนั้นจะขึ้นอยูกับคาแรงดันน้ําชะมูลฝอยที่ยอมใหเกิดขึ้น แตโดยทั่วไปแลว จะไม
เกิน 30 ซม. นอกจากนี้การออกแบบทอรวบรวมน้ําชะมูลฝอยจะตองมีวิธีการทดสอบการอุด
ตันและวิธีทําความสะอาดทอ
(5.3) ระบบบําบัดน้ําชะมูลฝอย
ก ) การบําบัดน้ําชะมูลฝอยในสถานที่ฝงกลบ จะตองออกแบบควบคุมและบําบัดน้ําชะ
มูลฝอย ซึ่งรับมาจากระบบรวบรวมและสูบน้ําชะมูลฝอยของหนวยฝงกลบ สําหรับ
บอบําบัดน้ําเสียจะตองออกแบบใชเกณฑอยางต่ํา ดังนี้
• ใชที่ดินที่มีอัตราการไหลซึมไมมากกวา 1x 10-7 ซม. /วินาที หนา 60 ซม. หรือ
ใชวัสดุกันซึมประเภทแผนวัสดุสังเคราะหชั้นเดียวหนาไมนอยกวา 1.5 มม.
กับที่ดินที่มีอัตราการซึมผานของน้ําไมมากกวา 1x 10-5 ซม. /วินาที หนา 60
ซม.
• ตองมีระยะเผื่อ (Freeboard) อยางนอย 60 ซม. เหนือความสูงของน้ําที่เกิด
จากพายุฝนชวงเวลา 24 ชั่วโมงที่เกิดในคาบ 25 ป
• คุณภาพน้ําทิ้งระบายสูภายนอกสถานที่ฝงกลบ ตองอยูในเกณฑมาตรฐาน
คุณภาพน้ําทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม ตาม พรบ. โรงงาน
ข) ขบวนการบําบัดน้ําชะมูลฝอยภายนอกสถานที่ฝงกลบ จะตองทําการออกแบบ บอ
พักน้ําชะมูลฝอย (ตามขอกําหนดในขอ ก.) หรือถังเก็บน้ําชะมูลฝอย กอนที่จะขนสง
ไปบําบัดภายนอกสถานที่ฝงกลบ
• ถังรวบรวมน้ําชะมูลฝอยเหนือพื้นดิน จะตองเปนถังคอนกรีตหรือเหล็กกลา
ผนังภายในจะตองบุดวยวัสดุที่ทนทานตอการกัดกรอนตอของเหลวที่บรรจุ
และต อ งมี ร ะบบเก็ บ กั ก ฉุ ก เฉิ น รวมทั้ ง การตรวจสอบเพื่ อ ป อ งกั น การ
รั่วไหลออกจากถังเก็บ
• ถังรวบรวมน้ําชะมูลฝอยใตพื้นดินจะตองเปนถังคอนกรีตหรือถังไฟเบอร
กลาส หรือเหล็กกลา ผนังภายในและภายนอกมีระบบปองกันการกัดกรอนมี
ระบบเก็บกักฉุกเฉิน และการตรวจสอบรอยรั่วอยางตอเนื่อง โดยใชถังผนัง
สองชั้ น พรอมติ ดตั้งอุ ปกรณวัดระดับน้ําระบบเตือนภัย และการปดวาวล
อัตโนมัติ

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 5 เกณฑ มาตรฐาน


และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน • ผ 5-22
(5.4) ระบบควบคุมกาซ
สถานที่ฝงกลบจะออกแบบและติดตั้งระบบตรวจสอบ และควบคุมกาซจากหลุมฝงกลบ
สวนใหญ ไดแก กาซมีเทน เพื่อปองกันการระเบิดและไฟไหม และเพื่อปองกันกลิ่นเหม็นรบกวน
ระบบควบคุมกาซในสถานที่ฝงกลบจะตองออกแบบเพื่อปองกันความเขมขนของกาซมีเทน
1) มีคาไมเกินจุดระเบิดขั้นต่ํา (5% ของกาซมีเทน) ในบริเวณภายในหรือภายนอก
ของสถานที่ฝงกลบ
2) มีคาไมเกินรอยละ 25 ของจุดระเบิดขั้นต่ํา (1.25% ของกาซมีเทน) ภายใน
อาคาร ทั้งในและนอกสถานที่ฝงกลบ
3) ไมกอใหเกิดกลิ่นที่นารังเกียจในหรือนอกอาณาเขตสถานที่ฝงกลบ
การควบคุมการระบายกาซจากบอฝงกลบขยะมูลฝอย แบงออกเปน 2 วิธี
ก) การวางทอหรือบอระบายกาซในแนวนอนหรือแนวดิ่งของบอฝงกลบ เพื่อลด
แรงดันของกาซและระบายสูบรรยากาศโดยธรรมชาติ เรียกวา Passive Control
การวางตํ า แหน ง ระยะห า งของบ อ หรื อ ท อ ในแนวดิ่ ง โดยทั่ ว ไปใช ร ะยะ
ประมาณ 30-40 เมตร
ข) การวางทอในแนวดิ่งและติดตั้งอุปกรณดูดกาซจากบอฝงกลบ เรียกวา Active
Control โดยมีจุดมุงหมายจะนํากาซที่เกิดขึ้นไปใชประโยชนเปนเชื้อเพลิง ใน
กรณีที่มีปริมาณกาซเกิดขึ้นมาก หรือใชกําจัดกาซที่เกิดขึ้นโดยการเผาไหม
(Flaring)ทั้ ง นี้ ก า ซที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการเผาไหม จ ะต อ งอยู ใ นเกณฑ ม าตรฐาน
คุณภาพอากาศ
(6) ระบบการจัดการน้ําฝน
ระบบจัดการน้ําฝนจะรวมถึงบอพักน้ําและทางระบายน้ําในการออกแบบอยางนอยที่สุดตอง
สามารถปองกันการระบายน้ําฝนสูงสุดจากเหตุการณพายุฝนในคาบ 25 ปไหลนองไปสู
บริเวณพื้นที่ฝงกลบที่ยังไมปด และตองสามารถรวบรวมและควบคุมปริมาณของน้ําทาจาก
เหตุการณพายุฝนในคาบ 25 ป ชวงเวลา 24 ชั่วโมง และตองปองกันไมใหน้ําฝนผสมกับน้ํา
ชะมูลฝอย
(7) พื้นที่ฉนวน (Buffer Zone)
จะตองออกแบบพื้นที่ฉนวนโดยรอบอาณาเขตของสถานที่ฝงกลบมีระยะหางจากแนวเขต
ที่ดินไมนอยกวา 25 เมตร เพื่อใชประโยชนพื้นที่สําหรับถนน คูระบายน้ํา การปลูกตนไม
สลับแถวโดยเลือกพันธุไมที่เหมาะสมในทองถิ่น เพื่อปดกั้นสายตาและลดปญหากลิ่นสู
ภายนอก

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 5 เกณฑ มาตรฐาน


และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน • ผ 5-23
(8) ประเภท ขนาด และจํ า นวนเครื่ องจั ก รกลที่ใ ช ง านในการฝง กลบขยะมู ลฝอย ขึ้น อยูกั บ
ปริ ม าณขยะมู ล ฝอยที่ ต อ งกํ า จั ด ในแต ล ะวั น ประเภทเครื่ อ งจั ก รกลที่ จํ า เป น ต อ งใช ง าน
ประกอบดวย
1)
รถตีนตะขาบ (Bulldozer)ใชดันเกลี่ยขยะมูลฝอย
2)
รถขุดดิน (Backhoe) ใชขุดดิน สรางหลุมฝงกลบ
3)
รถบรรทุกกระบะเททาย ใชบรรทุกดิน
4)
รถบรรทุกน้ํา ใชราดน้ํา ปองกันฝุนในพื้นที่
5)
รถกระบะ (Pickup) ใชงานทั่วไป
6)
รถบดอัดขยะมูลฝอย (Compactor) ใชบดอัดขยะมูลฝอยในหลุมฝงกลบสําหรับ
สถานที่ฝงกลบขยะมูลฝอยขนาดใหญ
(9) การออกแบบการปด
1) ในการออกแบบชั้นขยะมูลฝอยเหนือ ระดับพื้น ดิน โดยเฉพาะความสูงของชั้น ขยะ
มูลฝอยตองคํานึงถึงดานทัศนียภาพของสถานที่ ความมั่นคงแข็งแรงและความปลอดภัย
ในการปฏิบัติงานดวย
2) การออกแบบความลาดชันดานขางชั้นสุดทาย ความลาดชันดานขางของหนวยกําจัด
เหนือดินจะไมชันมากกวา 3 ตอ 1 ในแนวราบตอแนวดิ่ง และตองมีการระบายน้ําเพื่อ
ควบคุมการกัดกรอนของวัสดุปกคลุมชั้นสุดทาย
3) การออกแบบการปดทับชั้นสุดทาย
• สถานที่ฝงกลบประเภทที่ 1
- ใชวัสดุกันซึม การปดทับชั้นสุดทายจะตองมีชั้นปกคลุม มีคาอัตราการซึมผาน
ของน้ําไมมากกวาอัตราการซึมผานของน้ําของระบบวัสดุกันซึมดานลาง ถา
หลุมฝงกลบใชแผนวัสดุสังเคราะหในการปูดานลาง ชั้นปกคลุมสุดทายจะใช
แผนวัสดุสังเคราะหหนาไมนอยกวา 1.0 มม. และใชดินกลบทับชั้นบนหนาไม
นอยกวา 60 ซม. เพื่อปลูกพืชคลุมดินสําหรับปองกันการพังทลายของดิน
- ไมมีการใชวัสดุกันซึม ชั้นปกคลุมจะมีคาอัตราการซึมผานของน้ําไมมากกวา
1x 10-7 ซม. /วินาที หนาไมนอยกวา 45 ซม. และใชดินกลบทับชั้นบนอีก หนา
ไมนอยกวา 45 ซม. เพื่อปลูกพืชคลุมดิน
• สถานที่ฝงกลบประเภทที่ 2
- ใชวัสดุกันซึม หากใชดินเหนียวปูดานลางชั้นปกคลุมจะมีคาอัตราการซึมผาน
ของน้ําไมมากกวา 1x 10-5 ซม. /วินาที หนาไมนอยกวา 45 ซม. และมีชั้นดินสุดทาย
หนา 45 ซม. เหนือชั้นปกคลุมเพื่อปลูกพืชคลุมดินปองกันการการกัดเซาะดิน

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 5 เกณฑ มาตรฐาน


และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน • ผ 5-24
- ไมมีการใชวัสดุกันซึม ชั้นปกคลุมจะเปนแบบเดียวกับกรณีใชวัสดุกันซึมเปน
ดินเหนียว

5-8-3. ขอกําหนดในการปฏิบัติงาน

(1) จัดเตรียมแผนปฏิบัติงาน จะเปนเอกสารแนะนําอยางละเอียดสําหรับการปฏิบัติงานฝงกลบ


รายวันของเจาหนาที่ปฏิบัติงาน
(2) บันทึกการปฏิบัติงาน จะประกอบดวย บันทึก รายงาน ผลการวิเคราะห การสาธิต ฯลฯ
(3) บันทึกขยะมูลฝอย ผูปฏิบัติการฝงกลบจะตองบันทึกปริมาณขยะมูลฝอยที่ไดรับเขามากําจัด
ในแตละวันใชหนวยตันตอวัน
(4) การควบคุมทางเขาออก เพื่อปองกันการกําจัดขยะมูลฝอยที่ไมไดรับอนุญาต การเขาไปใน
สถานที่กําจัดและการรับขยะมูลฝอยจะเกิดขึ้นไดเฉพาะเมื่อมีผูใหบริการเปนประจําหนาที่อยู
เทานั้น
(5) การตรวจสอบขยะมูลฝอย จะตรวจสอบน้ําหนักบรรทุกเพื่อตรวจจับและปองกันไมใหมี
การกําจัดขยะมูลฝอยที่ไมไดรับอนุญาต โดยเฉพาะการทิ้งอยางไมถูกตองของของเสีย
อันตราย การตรวจสอบจะตองมีการบันทึกขอมูล และเก็บรักษาไวอยางนอยที่สุด 3 ป
(6) การฝงกลบขยะมูลฝอย ในสถานที่ฝงกลบประเภทที่ 1 ใหฝงโดยการเกลี่ยเปนชั้นๆ หนา
ประมาณ 60 ซม. และบดอัดใหมีความหนาประมาณ 30 ซม. หรือใหเปนชั้นบางเทาที่จะทํา
ไดกอนที่จะเทขยะมูลฝอยชั้นตอไป สวนสถานที่ฝงกลบประเภทที่ 2 จะบดอัดอยางนอย
สัปดาหละครั้ง สําหรับขยะมูลฝอยชั้นแรกที่ทับอยูบนแผนวัสดุกันซึมและระบบรวบรวม
น้ําชะมูลฝอยจะตองบดอัดหนาไมเกิน 1 เมตร และตองไมมีขยะมูลฝอยที่อาจทําความ
เสียหายแกแผนวัสดุกันซึม การฝงกลบขยะมูลฝอยจะตองฝงกลบเปนชองฝงกลบ (Cell)
โดยมีความลาดชันไมมากกวา 1 ตอ 3 ในแนวดิ่งตอแนวราบ และใชวัสดุกลบทับรายวัน
หลังการฝงกลบขยะมูลฝอยในแตละวัน วัสดุกลบทับชั้นกลาง และวัสดุกลบทับชั้นสุดทาย
(7) การจัดการน้ําชะมูลฝอย น้ําชะมูลฝอยจะถูกรวบรวมและบําบัดเพื่อใหไดตามมาตรฐาน
คุณภาพน้ําจากโรงงานอุตสาหกรรม ตาม พรบ. โรงงาน ซึ่งการบําบัดอาจสงไปสูโรงบําบัด
นอกสถานที่ฝงกลบ หรืออาจมีระบบบําบัดน้ําชะมูลฝอยในสถานที่ฝงกลบ
(8) การติดตามตรวจสอบกาซ สําหรับสถานที่ฝงกลบที่รับขยะมูลฝอยประเภทสารอินทรีย
1) ตําแหนงจุดตรวจสอบกาซ ภายนอกอาคารในบริเวณแนวอาณาเขตทั้ง 4 ดานของสถานที่
ฝงกลบ อยางนอยรวม 4 จุด และภายในอาคารของสถานที่ฝงกลบอยางนอย 1 จุด
2) ทําการสุมตัวอยางตรวจวัดกาซอยางนอยปละ 2 ครั้ง

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 5 เกณฑ มาตรฐาน


และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน • ผ 5-25
3) ทํ า การตรวจวั ด ก า ซมี เ ทน โดยค า ที่ ต รวจวั ด ได ต อ งไม เ กิ น กว า ที่ กํ า หนดไว ใ นข อ
กําหนดการออกแบบ 5-8-2 หัวขอ (5.4) ระบบควบคุมกาซ
(9) การจัดการระบบน้ําฝน จะตองควบคุมดูแลน้ําฝนใหสัมผัสกับขยะมูลฝอยนอยที่สุด เพื่อให
น้ําฝนที่ระบายออกนอกสถานที่ฝงกลบไมมีลักษณะสมบัติซึ่งกอใหเกิดอันตรายรายแรงตอ
สภาพแวดลอม ตลอดจนทําการควบคุมดูแลระบบระบายน้ําใหอยูในสภาพที่ใชงานไดดีอยาง
สม่ําเสมอ
(10) ลักษณะของเครื่องมืออุปกรณและการปฏิบัติงาน จะตองมีอยางเพียงพอในการปฏิบัติงาน
รวมทั้งสํารองในยามฉุกเฉินและมีการตรวจสภาพเปนประจํา นอกจากนี้ยังตองมีอุปกรณ
ควบคุมอัคคีภัย เครื่องมือติดตอสื่อสารยามฉุกเฉิน และตองมีสถานที่พักเหนื่อยและอุปกรณ
ปฐมพยาบาล
(11) บํารุงดูแลรักษา ถนนที่อยูในพื้นที่ฝงกลบ ใหสามารถใชงานไดดีทุกฤดูกาล

5-8-4. ขอกําหนดการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ํา

(1) ผูประกอบการจะตองทําการสุมตัวอยางและวิเคราะหน้ําจากบอติดตามตรวจสอบ น้ําผิวดิน น้ํา


ชะมูลฝอยและน้ําทิ้งจากระบบบําบัดน้ําเสียปละ 2 ครั้งเปนอยางนอย โดยอยูในชวงตนฤดูฝน
และฤดูแลง และจัดทําเปนรายงานที่พรอมจะใหหนวยงานที่เกี่ยวของตรวจสอบไดตลอดเวลา
(2) การติดตามตรวจสอบน้ําใตดิน จะตองติดตั้งบอติดตามตรวจสอบเพื่อตรวจวัดการรั่วไหล
ของน้ําชะมูลฝอยที่อาจมีตอชั้นหินอุมน้ํา บนสุดภายในเขตการระบายทิ้งอยางนอย 3 บอ
ตั้งอยูในทิศทางลาดเอียงลง (Downgradient) ของการไหลของน้ําใตดิน 2 บอ และใน
ทิศทางลาดเอียงขึ้น (Upgradient) ของการไหลของน้ําใตดิน 1 บอ ระยะของบอเฝาตรวจจะ
หางกันไมเกิน 150 เมตร ในทิศทางลาดเอียงลงของการไหลน้ําใตดิน และไมเกิน 450 เมตร
ในทิศทางลาดเอียงขึ้นของการไหลน้ําใตดิน
(3) การติดตามตรวจสอบน้ําผิวดิน จะทําการตรวจน้ําผิวดินที่อาจไดรับผลกระทบ เนื่องจากการ
ระบายสิ่งปนเปอน ในลําน้ํานิ่งจะกําหนดจุดตรวจไมนอยกวา 1จุด ในบริเวณที่ใกลสถานที่
ฝงกลบ สําหรับในลําน้ําที่ไหล จะตรวจเหนือน้ําและทายน้ําของสถานที่ฝงกลบ
(4) การสุมตัวอยางน้ําชะมูลฝอยและน้ําทิ้งจากระบบบําบัดน้ําเสีย จุดการสุมตัวอยางน้ําชะมูลฝอย
จะตองอยูในตําแหนงที่สูบน้ําชะมูลฝอยออกนอยที่สุดเพื่อใหไดลักษณะที่เปนตัวแทนของน้ํา
ชะมูลฝอย กอนที่ลักษณะสมบัติของน้ําชะมูลฝอยจะเปลี่ยนแปลงไป สําหรับน้ําทิ้งจากระบบ
บําบัดน้ําเสียใหสุมตัวอยางจากจุดที่จะระบายทิ้งสูภายนอกของสถานที่ฝงกลบขยะ
(5) ความถี่ก ารสุ มตัว อย า งตามปกติแ ละข อกํา หนด จะต องมีก ารสุ มตัว อย างวิเ คราะหแ ละ
คุ ณ ภาพน้ํ า ก อ นเริ่ ม โครงการ ทั้ ง น้ํ า ใต ดิ น และน้ํ า ผิ ว ดิ น ตามดั ช นี ที่ กํ า หนด หลั ง จาก

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 5 เกณฑ มาตรฐาน


และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน • ผ 5-26
ดําเนินการสถานที่ฝงกลบแลว จะสุมตัวอยางและวิเคราะหคุณภาพน้ําของน้ําชะมูลฝอย น้ํา
ทิ้งจากระบบบําบัดน้ําเสีย น้ําใตดิน และน้ําผิวดิน
(6) การประเมินผลและปฏิบัติการแกไข ถาความเขมขนของดัชนีคุณภาพน้ําสูงกวาคุณภาพน้ํากอน
เริ่ มโครงการ หรื อสู งเกิ นกว าค ามาตรฐานคุ ณภาพน้ํ าของทางราชการที่ เกี่ ยวข อง จะต อง
ตรวจสอบและคนหาสาเหตุ รวมทั้งหามาตรการแกไขโดยเร็วที่สุด พรอมทั้งจัดทํารายละเอียด
ของปญหาและสรุปผลการแกไขไวทุกครั้ง มาตรฐานคุณภาพน้ําของทางราชการที่เกี่ยวของ มี
ดังนี้
• น้ําใตดิน มาตรฐานคุณภาพน้ําบาดาลที่ใชบริโภคตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
ออกตามความใน พรบ. น้ําบาดาล
• น้ําผิวดิน มาตรฐานคุ ณภาพน้ํ าในแหล งน้ํ าผิ วดิ น ตามประกาศคณะกรรมการ
สิ่งแวดลอมแหงชาติ
• น้ําทิ้งจากระบบบําบัดน้ําเสีย มาตรฐานน้ํ า ทิ้ ง จากโรงงานอุ ต สาหกรรมตาม
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ออกตามความในพรบ.โรงงาน

(7) ดั ช นี คุ ณ ภาพน้ํ า การเฝ า ตรวจคุ ณ ภาพน้ํ า จะตรวจทั้ ง ดั ช นี คุ ณ ภาพน้ํ า ในสนามและใน


หองปฏิบัติการโดยจะตองตรวจสอบ
ก) ดัชนีคุณภาพน้ําใตดิน
ดัชนีคุณภาพน้ําในสนาม ไดแก ระดับน้ําสถิติในบอกอนการดูดออก ความนําไฟฟา
จําเพาะ ความเปนกรด-ดาง ความขุน อุณหภูมิ สี
ดัชนีคุณภาพน้ําในหองปฏิบัติการ ไดแก ปริมาณสารทั้งหมด (Total Solids) คลอไรด
ซัลเฟต ฟลูออไรด ไนเตรท ความกระดางทั้งหมด ความกระดางถาวร (Non Carbonate
Hardness) ซีโอดี เหล็ก แมงกานีส แมกนีเซียม อารเซนิก ไซยาไนด ทองแดง สังกะสี
โครเมียมเฮกซาวาเลนท ตะกั่ว นิกเกิล แคดเมียม ปรอท โคลิฟอรมทั้งหมด ฟคัลโคลิฟอรม
ข) ดัชนีคุณภาพน้ําใตดิน
ดัชนีคุณภาพน้ําในสนาม ไดแก ความนําไฟฟาจําเพาะ ความเปนกรด-ดาง ออกซิเจน
ละลายน้ํา ความขุน อุณหภูมิ สี
ดั ช นี คุ ณ ภาพน้ํา ในห อ งปฏิบั ติ ก าร ได แ ก สารแขวนลอย สารละลายทั้ งหมด (Total
Dissolved Solids) บีโอดี ซีโอดี แอมโมเนีย ไนเตรท อารเซนิก ไซยาไนด ฟนอล
ทองแดง นิกเกิล สังกะสี แคดเมียม โครเมียมเฮกซาวาเลนท ตะกั่ว ปรอท โคลิฟอรม
ทั้งหมด ฟคัลโคลิฟอรม
ค) ดัชนีคุณภาพน้ําชะมูลฝอยและน้ําทิ้งจากระบบบําบัดน้ําเสีย
ดัชนีคุณภาพน้ําในสนาม ไดแก ความนําไฟฟาจําเพาะ ความเปนกรด-ดาง อุณหภูมิ สี

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 5 เกณฑ มาตรฐาน


และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน • ผ 5-27
ดัช นีคุ ณ ภาพน้ํ า ในห อ งปฏิ บั ติก าร ไดแ ก สารแขวนลอย สารละลายทั้ งหมด (Total
Dissolved Solids) ฟอสเฟตทั้งหมด อารเซนิก ไซยาไนด ฟนอล ทองแดง นิกเกิล
สังกะสี แคดเมียม โครเมียมเฮกซาวาเลนท ตะกั่ว ปรอท แมงกานีส โซเดียม ความเปน
ดางทั้งหมด คลอไรด ซัลเฟต บีโอดี ซีโอดี ไนเตรต แอมโมเนีย

5-8-5. วิธีการปด

(1) จัดทํารายละเอียดแผนผังแสดงขั้นตอนการปดสถานที่ฝงกลบ แบบแสดงภูมิประเทศเดิม


และระดับสุดทายภายหลังการปด
(2) การฝงกลบที่มีระดับสุดทายเหนือผิวดินเดิมนอยกวา 6 เมตร ใหติดตั้งหมุดสํารวจ เพื่อเปน
เครื่องหมายแสดงขอบเขตของสถานที่ฝงกลบ
(3) การฝงกลบที่มีระดับสุดทายเหนือผิวดินเดิมมากกวา 6 เมตร ตองทําการสํารวจขั้นสุดทาย
ภายหลังการปดสมบูรณ เพื่อพิสูจนวาเสนชั้นความสูงระดับสุดทายเปนไปตามแผนการ
โดยมีเสนชั้นความสูงไมเกิน 1 เมตร หรือใชเทคนิคการทําแผนที่ทางอากาศที่มีความ
ถูกตองเทียบเทาการสํารวจแทนการสํารวจได

5-8-6. การดูแลระยะยาว

(1) ชวงเวลาดูแลระยะยาว จะตองติดตามตรวจสอบและดูแลความมั่นคงและประสิทธิภาพของ


การปดทับชั้นสุดทายกับสวนประกอบอื่นของสถานที่ตอไปอีกไมนอยกวา 10 ป นับจากวัน
ปดเปนทางการ
(2) ชวงเวลาการดูแลระยะยาวอาจลดลงได ถาสถานที่ฝงกลบนั้นดําเนินการสอดคลองตาม
มาตรฐาน มีระบบควบคุมน้ําชะมูลฝอยและแผนวัสดุกันซึม มีการปดดวยวัสดุกลบทับชั้น
สุดทายที่เหมาะสม มีการปลูกพืชปกคลุม และมีการติดตั้งระบบติดตามตรวจสอบ และถา
ภายในระยะเวลา 10 ปหลังการปด คุณภาพน้ําในระบบติดตามตรวจสอบไมเกินคามาตรฐาน
นอกจากนี้จะตองไมมีการกัดเซาะชั้นปกคลุมใหเสียหาย และการยุบตัวของขยะมูลฝอย
สิ้นสุดลงแลว
(3) การดัดแปลงแผนการติดตามตรวจสอบน้ําใตดินอาจมีการดัดแปลงแกไขแผนการติดตาม
ตรวจสอบน้ําใตดินเพื่อยกเลิกดัชนีคุณภาพตัวใดตัวหนึ่งที่ระบุตามขอกําหนดการติดตาม
ตรวจสอบคุณภาพน้ําและน้ําชะมูลฝอย ถาการสุมตัวอยางและวิเคราะหน้ําชะมูลฝอยและ
น้ําใตดินอยางสม่ําเสมอ สําหรับดัชนีคุณภาพน้ําปรากฎวาไมพบดัชนีคุณภาพน้ําในน้ําชะ
มูลฝอยหรือบอน้ําใตดินหรือจุดน้ําผิวดินในระยะเวลาของการฝงกลบ

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 5 เกณฑ มาตรฐาน


และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน • ผ 5-28
(4) การทดแทนเครื่องมือการติดตามตรวจสอบ ถาอุปกรณใด ๆ ตามแผนการติดตามตรวจสอบ
เกิดการเสียหาย จะตองหามาทดแทนภายใน 60 วัน

5-8-7. การขยายแนวดิ่งของการฝงกลบ

การกอสรางหนวยกําจัดขยะมูลฝอยไวดานบน หรือดานขางลาดเอียงของการฝงกลบที่ถมไวกอน
แลว ไมวาจะเปนหลุมที่ยังดําเนินการอยู ปดแลว หรือเลิกใชแลว ถือวาเปนการขยายแนวดิ่งของ
การฝงกลบ ซึ่งจะตองไมเปนสาเหตุใหเกิดการรั่วไหลของน้ําชะมูลฝอย การกอสรางบนลาดเอียง
ของการฝงกลบที่ถูกถมแลวตองมีการตรวจสอบเสถียรภาพของฐานราก และทําการคํานวณการ
ทรุดตัว การออกแบบการขยายตัวในแนวดิ่งจะตองใชคาแฟคเตอรตามความปลอดภัยต่ําสุดเทากับ
1.5 สําหรับเสถียรภาพของระบบวัสดุกันซึม ระบบการจัดการน้ําผิวดินจะตองมีการออกแบบทาง
ระบายอยางเหมาะสมที่ขอบรวมระหวางลาดเอียงที่มีอยูกับบริเวณการขยายแนวดิ่ง ระบบควบคุม
กาซจะตองติดตั้งบอระบายกาซจากขอบรวมระหวางลาดเอียงของการฝงกลบที่เปนอยูกับลาดเอียง
ของการขยายแนวดิ่ง

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 5 เกณฑ มาตรฐาน


และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน • ผ 5-29
ภาคผนวก 6
มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมที่เกี่ยวของ
ภาคผนวก 6
มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมที่เกี่ยวของ

6-1. มาตรฐานคุณภาพน้ําบาดาลที่ใชบริโภค
คามาตรฐาน
ลําดับที่ ดัชนีคุณภาพน้ํา หนวย เกณฑกําหนด เกณฑอนุโลม
ที่เหมาะสม สูงสุด
1 คุณลักษณะทางกายภาพ
1.1 สี (Color) ปลาตินัม-โคบอลต 5 50
1.2 ความขุน (Turbidity) หนวยความขุน 5 20
1.3 ความเปนกรด-ดาง (pH) - 7.0-8.5 6.5-9.2
2 คุณลักษณะทางเคมี
2.1 เหล็ก (Fe) มก./ล. ไมเกิน 0.5 1.0
2.2 แมงกานีส (Mn) มก./ล. ไมเกิน 0.3 0.5
2.3ทองแดง (Cu) มก./ล. ไมเกิน 1.0 1.5
2.4 สังกะสี (Zn) มก./ล. ไมเกิน 5.0 15.0
2.5 ซัลเฟต (SO4) มก./ล. ไมเกิน 200 250
2.6 คอไรด (Cl) มก./ล. ไมเกิน 200 600
2.7 ฟลูออไรด (F) มก./ล. ไมเกิน 1.0 1.5
2.8 ไนเตรท (N O3) มก./ล. ไมเกิน 45 45
2.9 ความกระดางทั้งหมด (Total Hardness as CaCO3) มก./ล. ไมเกิน 300 500
2.10 ความกระดางถาวร (Non Carbonate Hardness as CaCO3) มก./ล. ไมเกิน 200 250
2.11 ปริมาณมวลสารทั้งหมด (Total Solids) มก./ล. ไมเกิน 750 1,500
3 คุณลักษณะที่เปนพิษ
3.1 สารหนู (As) มก./ล. ตองไมมีเลย 0.05
3.2 ไซยาไนด (CN) มก./ล. ตองไมมีเลย 0.2
3.3 ตะกั่ว (Pb) มก./ล. ตองไมมีเลย 0.05
3.4 ปรอท (Hg) มก./ล. ตองไมมีเลย 0.001
3.5 แคดเมียม (Cd) มก./ล. ตองไมมีเลย 0.01
3.6 เซเลเนียม (Se) มก./ล. ตองไมมีเลย 0.01
4 ลักษณะทางบัคเตรี
4.1 Standard Plate Count โคโลนี/ ลบ.ซม. ไมเกิน 500 -
เอ็ม.พี.เอ็น/100 ลบ. นอยกวา 2.2 -
42 Most probable number of Coliform Organism (MPN)
ซม.
4.3 E. Coli - ตองไมมีเลย -
ที่มา : ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2521) ออกตามความใน พรบ. น้ําบาดาล พ.ศ.2520 เรื่องกําหนดหลักเกณฑและ
มาตรการในทางวิชาการสําหรับการปองกันดานสาธารณสุขและการปองกันในเรื่องสิ่งแวดลอมเปนพิษ

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 6


มาตรฐานคุณภาพสิง่ แวดลอมที่เกี่ยวของ • ผ 6-1
6-2. มาตรฐานน้ําทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม
ลําดับที่ ลักษณะน้ําทิ้ง หนวย คามาตรฐาน หมายเหตุ
1 ความเปนกรดและดาง - 5.5-9
2 สารละลายทัง้ หมด มก./ล. ไมมากกวา 3,000 หรืออาจแตกตางจากทีก่ ําหนดไวขึ้นอยูกับปริมาณน้ําทิง้
แหลงรองรับน้าํ ทิ้ง หรือประเภทของโรงงานแตตองไมมาก
กวา 5,000 มก./ล.
3 สารแขวนลอย มก./ล. ไมมากกวา 50 หรืออาจแตกตางจากทีก่ ําหนดไวขึ้นอยูกับปริมาณน้ําทิง้
แหลงรองรับน้าํ ทิ้ง หรือประเภทของโรงงานแตตองไมมาก
กวา150 มก./ล.
4 โลหะหนัก
4.1 ปรอท มก./ล. ไมมากกวา 0.005
4.2 เซเลเนียม มก./ล. ไมมากกวา 0.02
4.3 แคดเมียม มก./ล. ไมมากกวา 0.03
4.4 ตะกั่ว มก./ล. ไมมากกวา 0.2
4.5 อารเซนิค มก./ล. ไมมากกวา 0.25
4.6 โครเมียม
4.6.1 เฮกซาวาเลนท มก./ล. ไมมากกวา 0.25
4.6.2 ไตรวาเลนท มก./ล. ไมมากกวา 0.75
4.7 บาเรียม มก./ล. ไมมากกวา 1.0
4.8 นิกเกิล มก./ล. ไมมากกวา 1.0
4.9 ทองแดง มก./ล. ไมมากกวา 2.0
4.10 สังกะสี มก./ล. ไมมากกวา 5.0
4.11 แมงกานีส มก./ล. ไมมากกวา 5.0
5 ซัลไฟด คิดเทียบเปนไฮโดรเจน มก./ล. ไมมากกวา 1
ซัลไฟด
6 ไซยาไนด คิดเทียบเปนไฮโดร มก./ล. ไมมากกวา 0.2
ไซยาไนด
7 ฟอรมัลดีไฮด มก./ล. ไมมากกวา 1
8 สารประกอบฟนอล มก./ล. ไมมากกวา 1
9 คลอรีนอิสระ มก./ล. ไมมากกวา 1
10 เพสติไซด (Pesticides) มก./ล. ตองไมมี
11 อุณหภูมิ องศาเซลเซียส ไมมากกวา 40
12 สี - ไมเปนที่พึงรังเกียจ
13 กลิ่น - ไมเปนที่พึงรังเกียจ
14 น้ํามันและไขมัน มก./ล. ไมมากกวา 5 หรืออาจแตกตางจากทีก่ ําหนดไว ขึ้นอยูกับปริมาณน้ําทิง้
แหลงรองรับน้ําทิ้ง หรือประเภทของโรงงานแตตองไมมากกวา 15 มก./ล.
15 บีโอดี มก./ล. ไมมากกวา 20 หรืออาจแตกตางจากทีก่ ําหนดไว ขึ้นอยูกับปริมาณน้ําทิง้
แหลงรองรับน้ําทิ้ง หรือประเภทของโรงงานแตตองไมมากกวา 60 มก./ล.
16 ทีเคเอ็น มก./ล. ไมมากกวา 100 หรืออาจแตกตางจากทีก่ ําหนดไว ขึ้นอยูกับปริมาณน้ําทิง้
แหลงรองรับน้ําทิ้ง หรือประเภทของโรงงานแตตองไมมากกวา200 มก./ล.
17 ซีโอดี มก./ล. ไมมากกวา 120 หรืออาจแตกตางจากทีก่ ําหนดไว ขึ้นอยูกับปริมาณน้ําทิง้
แหลงรองรับน้ําทิ้งหรือประเภทของโรงงานแตตองไมมากกวา400 มก./ล.
ที่มา : ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2539) ออกตามความใน พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 เรื่องกําหนดคุณลักษณะของ
น้ําทิ้งที่ระบายออกจากโรงงาน

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 6


มาตรฐานคุณภาพสิง่ แวดลอมที่เกี่ยวของ • ผ 6-2
6-3. มาตรฐานคุณภาพน้ําในแหลงน้ําผิวดิน
คาทาง การแบงประเภทคุณภาพน้ําตามการใชประโยชน
ลําดับที่ คุณภาพน้ํา หนวย
สถิติ ประเภท 1 ประเภท 2 ประเภท 3 ประเภท 3 ประเภท 4
1 สี, กลิ่น และรส - ธ ธ’ ธ’ ธ' -
°
2 อุณหภูมิ ซ ธ ธ’ ธ’ ธ’ -
3 ความเปนกรดและดาง(pH) - ธ 5.0-9.0 5.0-9.0 5.0-9.0 -
4 ออกซิเจนละลาย(DO) P 20 มก./ล. ธ < 6.0 < 4.0 < 2.0 -
5 บีโอดี(BOD) P 80 มก./ล. ธ > 1.5 > 2.0 > 4.0 -
6 แบคทีเรียกลุมโคลิฟอรม (Total P 80 เอ็ม.พี.เอ็น./ ธ > 5,000 > 20,000 - -
Coliform Bacteria) 100 มล.
7 แบคทีเรียกลุมฟคอลโคลิฟอรม P 80 เอ็ม.พี.เอ็น./ ธ > 1,000 > 4,000 - -
(Fecal Coliform Bacteria) 100 มล.
8 ไนเตรต (NO3 ) ในหนวยไนโตรเจน มก./ล. ธ มีคาไมเกินกวา 5.0 -
9 แอมโมเนีย (NH3 ) ในหนวย ไนโตรเจน มก./ล. ธ มีคาไมเกินกวา 0.5 -
10 ฟนอล (Phenols) มก./ล. ธ มีคาไมเกินกวา 0.005 -
11 ทองแดง (Cu) มก./ล. ธ มีคาไมเกินกวา 0.1 -
12 นิกเกิล (Ni) มก./ล. ธ มีคาไมเกินกวา 0.1 -
13 แมงกานีส (Mn) มก./ล. ธ มีคาไมเกินกวา 1.0 -
14 สังกะสี (Zn) มก./ล. ธ มีคาไมเกินกวา 1.0 -
15 แคดเมียม (Cd) มก./ล. ธ มีคาไมเกินกวา 0.005* -
0.05**
16 โครเมียมชนิดเฮกซาวาเลนท มก./ล. ธ มีคาไมเกินกวา 0.05 -
(Cr Hexavalent)
17 ตะกั่ว(Pb) มก./ล. ธ มีคาไมเกินกวา 0.05 -
18 ปรอททั้งหมด (Total Hg) มก./ล. ธ มีคาไมเกินกวา 0.002 -
19 สารหนู (As) มก./ล. ธ มีคาไมเกินกวา 0.01 -
20 ไซยาไนด (Cyanide) มก./ล. ธ มีคาไมเกินกวา 0.005 -
21 กัมมันตภาพรังสี(Radioactivity)
- คารังสีแอลฟา (Alpha) เบคเคอเรล/ล. ธ มีคาไมเกินกวา 0.1 -
- คารังสีเบตา (Beta) เบคเคอเรล/ล. ธ มีคาไมเกินกวา 1.0 -
22 สารฆาศัตรูพืชและสัตวชนิดที่มี มก./ล. ธ มีคาไมเกินกวา 0.05 -
คลอรีนทั้งหมด (Total
Organochlorine Pesticides)
23 ดีดีที(DDT) ไมโครกรัม./ล. ธ มีคาไมเกินกวา 1.0 -
24 บีเอชซีชนิดอัลฟา (Alpha-BHC) ไมโครกรัม./ล. ธ มีคาไมเกินกวา 0.02 -
25 ดิลดริน (Dieldrin) ไมโครกรัม./ล. ธ มีคาไมเกินกวา 0.1 -
26 อัลดริน (Aldrin) ไมโครกรัม./ล. ธ มีคาไมเกินกวา 0.1 -
27 เฮปตาคลอร และเฮปตาคลออีปอก- ไมโครกรัม./ล. ธ มีคาไมเกินกวา 0.2 -
ไซด (Heptachlor & Heptachlor
epoxide)
28 เอนดริน (Endrin) ไมโครกรัม./ล. ธ ไมสามารถตรวจพบไดตาม -
วิธีการตรวจสอบที่กําหนด
ที่มา : ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) ออกตามความใน พรบ. สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม
แหงชาติ พ.ศ. 2535 เรื่องกําหนดมาตรฐานคุณภาพน้ําในแหลงน้ําผิวดิน

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 6


มาตรฐานคุณภาพสิง่ แวดลอมที่เกี่ยวของ • ผ 6-3
ประเภทแหลงน้ําผิวดิน มีการใชประโยชนเพื่อ
ประเภทที่ 1 ไดแก แหลงน้ําที่คณุ ภาพน้ํามีสภาพตามธรรมชาติโดยปราศจากกิจกรรมทุกประเภท และสามารถเปนประโยชน เพือ่
(1) การอุปโภคและบริโภค โดยตองผานการฆาเชื้อโรคตามปกติกอน
(2) การขยายพันธุตามธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตระดับพื้นฐาน
(3) การอนุรักษระบบนิเวศนของแหลงน้ํา
ประเภทที่ 2 ไดแก แหลงน้ําที่ไดรับน้ําทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท และสามารถเปนประโยชนเพื่อ
(1) การอุปโภคบริโภคโดยตองผานการฆาเชื้อโรคตามปกติกอน และผานกระบวนการปรับปรุงคุณภาพ
น้ําทั่วไปกอน
(2) การอนุรักษสัตวน้ํา
(3) การประมง
(4) การวายน้ําและกีฬาทางน้ํา
ประเภทที่ 3 ไดแก แหลงน้ําที่ไดรับน้ําทิ้งจากกิจกรรมบางประเภทและสามารถเปนประโยชนเพือ่
(1) การอุปโภคบริโภคโดยตองผานการฆาเชื้อโรคตามปกติกอน และผานกระบวนการปรับปรุงคุณภาพ
น้ําทั่วไปกอน
(2) การเกษตร
ประเภทที่ 4 ไดแก แหลงน้ําที่ไดรับน้ําทิ้งจากกิจกรรมบางประเภทและสามารถเปนประโยชนเพือ่
(1) การอุปโภคบริโภคโดยตองผานการฆาเชื้อโรคตามปกติกอน และผานกระบวนการปรับปรุงคุณภาพ
น้ําทั่วไปกอน
(2) การอุตสาหกรรม
ประเภทที่ 5 ไดแก แหลงน้ําที่ไดรับน้ําทิ้งจากกิจกรรมบางประเภทและสามารถเปนประโยชนเพือ่ การคมนาคม

หมายเหตุ: ธ เปนไปตามธรรมชาติ
ธ' อุณหภูมิของน้ําจะตองไมสูงกวาอุณหภูมิตามธรรมชาติเกิน 3 OC
* น้ําที่มีความกระดางในรูปของ CaCO3 ไมเกินกวา 100 มิลลิกรัม/ ลิตร
** น้ําที่มีความกระดางในรูปของ CaCO3 เกินกวา 100 มิลลิกรัม/ ลิตร
< ไมนอยกวา
> ไมมากกวา
P 20 คาเปอรเซนตไทลที่ 20 จากจํานวนตัวอยางน้ําทั้งหมดที่เก็บมาตรวจสอบอยางตอเนื่อง
P 80 คาเปอรเซนตไทลที่ 80 จากจํานวนตัวอยางน้ําทั้งหมดที่เก็บมาตรวจสอบอยางตอเนื่อง
มก./ล. มิลลิกรัมตอลิตร
มล. มิลลิลิตร
MPN เอ็ม.พี.เอ็น. หรือ Most Probable Number

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 6


มาตรฐานคุณภาพสิง่ แวดลอมที่เกี่ยวของ • ผ 6-4
6-4. มาตรฐานควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียจากเตาเผามูลฝอยชุมชน
ประเภทของเตาเผามูลฝอยชุมชน
อากาศเสียจากปลองเตาเผา หนวย
1 - 50 ตัน/วัน > 50 ตัน/วัน
1. กาซซัลเฟอรไดออกไซด พีพีเอ็ม ไมเกิน 30 ไมเกิน 30
2. กาซออกไซดของไนโตรเจน พีพีเอ็ม ไมเกิน 250 ไมเกิน 180
3. กาซไฮโดรเจนคลอไรด พีพีเอ็ม ไมเกิน 136 ไมเกิน 25
4. สารประกอบไดออกซิน นาโนกรัม / ลบ.ม. ไมเกิน 30 ไมเกิน 30
5. ปริมาณฝุนละออง มก. / ลบ.ม. ไมเกิน 400 ไมเกิน 120
6. ความทึบแสง % ไมเกิน 20 ไมเกิน 10

หมายเหตุ : 1) การวัดคาอากาศเสียจากปลองเตาเผามูลฝอย ใหคํานวณผลที่ความดัน 1 บรรยากาศหรือที่ 760 มม. ปรอท อุณหภูมิ 25


องศาเซลเซียส ที่สภาวะแหง โดยมีปริมาตรอากาศสวนเกินในการเผาไหม 50% หรือที่ปริมาตรออกซิเจนสวนเกินใน
การเผาไหม 7%
2) มาตรฐานนี้ไมใชบังคับเตาเผามูลฝอยที่ใชเพื่อกําจัดมูลฝอยที่เปนวัตถุอันตรายตามกฎหมายวาดวยวัตถุอัตราย มูลฝอย
ติดเชื้อตามกฎหมายวาดวยการสาธารณสุข หรือมูลฝอยที่เปนสิ่งปฏิกูล หรือวัสดุที่ไมใชแลวตามกฎหมายวาดวย
โรงงานเปนการเฉพาะ
ที่มา : ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม (17 มิถุนายน 2540) ออกตามความใน พรบ. สงเสริมและรักษา
คุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 เรื่อง กําหนดมาตรฐานควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียจากเตาเผามูลฝอย

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 6


มาตรฐานคุณภาพสิง่ แวดลอมที่เกี่ยวของ • ผ 6-5
ภาคผนวก 7
เอกสารอางอิง
ภาคผนวก 7
เอกสารอางอิง

7-1. การวางแผนงานโดยรวม (Comprehensive Planning)


1. เอกสารชุดคูมือการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพ
สิ่งแวดลอมระดับจังหวัด เลมที่ 8 “การจัดการมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล” ;
สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม, 2539
2. การจัดการมูลฝอย, รายงานการฝกอบรมทางวิชาการ โดยความรวมมือ
ระหวางกรมการปกครอง และองคการความรวมมือระหวางประเทศแหง
ญี่ปุน (JICA) ; สํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ, กันยายน 2531
3. United States Environmental Protection Agency; “Decision-Makers’
Guide to Solid Waste Management, Volume II”, EPA530-R-95-023,
August 1995.
4. George Tchobanoglous, Hilary Theisen, Samuel A. Vigil; “Integrated
Solid Waste Management-Engineering Principles and Management
Issues”, 1993, McGraw-Hill International Editions, Civil Engineering
Series.

7-2. ระบบจัดเก็บคาธรรมเนียม (Planning of a Charging System)


5. โครงการศึกษาความเหมาะสมของคาบริการและองคกรบริหารของทองถิ่น
ที่จัดใหมีระบบบําบัดน้ําเสียและระบบกําจัดมูลฝอย ; สํานักงานนโยบาย
และแผนสิ่งแวดลอม, ตุลาคม 2543.
6. United States Environmental Protection Agency; “ Making Solid (Waste)
Decisions With Full Cost Accounting”, 1996.
7. United States Environmental Protection Agency; “ Pay-As-You-Throw
Lessons Learned About Unit Pricing”, 1994.

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 7 เอกสารอางอิง • ผ 7-1


7-3. การประเมินทางดานเศรษฐศาสตรและการเงิน
(Financial and Economic Evaluation)

♦ การประเมินทางดานเศรษฐศาสตรและการเงิน

8. Maynard M. Hufschmidt et al; “ Environment, Natural Systems, and


Development: An Economic Valuation Guide”, 1983, the Johns Hopkins
University Press.
9. John A. Dixon and Maynard M. Hufschmidt; “ Economic Valuation
Techniques for the Environment – A Case Study Workbooks”, 1986, the
Johns Hopkins University Press.
10. J.P. Gittinger; “Economic Analysis of Agricultural Projects”, 1984, the
Johns Hopkins University Press.
11. Pedro Belli et al; “Handbook on Economic Analysis of Investment
Operations”, 1997, the World Bank
12. The Asian Development Bank; “Guideline for the Financial Analysis of
Projects”

7-4. การใหความรูเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม
(Environmental Education)
13. United States Environmental Protection Agency; “ RCRA Public
Participation Manual”, 1996.

7-5. การเลือกสถานที่ตั้งโครงการ โดยคํานึงถึงสิ่งแวดลอม สังคม และการมีสวนรวม


ของประชาชน (Facility Siting with Environmental/Social Consideration
and Public Participation)
14. United States Environmental Protection Agency; “ Site for Our Solid
Waste-A Guidebook for Effective Public Involvement”, EPA/530-SW-90-
019, March 1990.
♦ การวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม
15. JBIC; “ A Guide to Preparing an Environmental Impact Assessment
(Waste Disposal Sector)”, 1996.

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 7 เอกสารอางอิง • ผ 7-2


♦ การพิจารณาผลกระทบทางสังคม
16. Brudge, Rabel J.; “A Community Guide to Social Impact Assessment”,
1994, Social Ecology Press, 210 pages.

7-6. การลดขยะมูลฝอยที่แหลงกําเนิด (Source Reduction)


17. United States Environmental Protection Agency; “Promoting Source
Reduction and Recyclability in the Marketplace”, 1989.

7-7. การเก็บรวบรวมและการขนสง (Collection and Transportation)


18. George Tchobanoglous, Hilary Theisen, Samuel A. Vigil; “Integrated
Solid Waste Management-Engineering Principles and Management
Issues”, 1993, McGraw-Hill International Editions, Civil Engineering
Series.

7-8. การนําขยะมูลฝอยกลับมาใชใหม (Recycling)


19. United States Environmental Protection Agency; “ School Recycling Programs
– A Handbook for Educators”, 1990.
20. United States Environmental Protection Agency; “ Waste Prevention, Recycling, and
Composting Options: Lessons from 30 Communities”, 1994.

7-9. การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล (Sanitary Landfill)


21. คูมือการดําเนินงานและบํารุงรักษาโครงการระบบกําจัดมูลฝอยแบบฝงกลบ
อยางถูกหลักสุขาภิบาล ภายใตแผนการใชเงินกู JBIC โครงการกองทุน
สิ่งแวดลอม ระยะที่ 1, สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม, 2543.
22. United States Environmental Protection Agency; Criteria for Solid Waste
Disposal Facilities-A Guide for Owners/ Operators”, EPA/530-SW-91-
089, March 1933.

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 7 เอกสารอางอิง • ผ 7-3


23. Duncan Mara; “ Sewage Treatment in Hot Climates”, 1976, A Wiley-
Interscience Publication, John Wiley & Sons.
24. การควบคุมดูแลระบบบําบัดน้ําเสีย, คณาจารยภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม
คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2538

7-10. การทําปุยหมัก (Composting)


25. United States Environmental Protection Agency; “ Composting Yard
Trimmings and Municipal Solid Waste “, 1994.
26. George Tchobanoglous, Hilary Theisen, Samuel A. Vigil; “Integrated
Solid Waste Management-Engineering Principles and Management
Issues”, 1993, McGraw-Hill International Editions, Civil Engineering
Series.

7-11. การเผา (Incineration)


27. George Tchobanoglous, Hilary Theisen, Samuel A. Vigil; “Integrated
Solid Waste Management-Engineering Principles and Management
Issues”, 1993, McGraw-Hill International Editions, Civil Engineering
Series.

คูมือการจัดทําโครงการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคผนวก 7 เอกสารอางอิง • ผ 7-4

You might also like