You are on page 1of 7

ให้ ท่านเติมคำในช่ องว่าง และวิจารณ์ ข้อเสนอโครงการ 60 คะแนน

หัวเรื่อง ขยะพลาสติกในยุควิถีชีวิตใหม่ (New Normal)


1.1 ทีม่ าและความสำคัญของปัญหา
การแพร่ ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (“โควิด-19”) เริ่ มต้นขึ้นในเดือนธันวาคม 2562 แพร่ เชื้อจาก
คนสู่ คนอย่างรวดเร็ว ผูค้ นมีการปรับการใช้ชีวิตเข้าสู่ วิถีใหม่เพื่อป้ องกันตนเองให้ห่างไกลจากโควิด-19 เช่น
การสวมใส่ หน้ากากอนามัย การสัง่ อาหารแบบเดลิเวอรี่ แทนการนัง่ รับประทานในร้าน เป็ นต้น กิจกรรมเหล่า
นี้สร้างขยะพลาสติกมหาศาล เนื่องจากซองบรรจุภณั ฑ์ที่ใส่ หน้ากากอนามัย กล่องใส่ อาหาร ถุงใส่ อาหาร ล้วน
เป็ นผลิตภัณฑ์ที่มาจากพลาสติก ส่ งผลให้อตั ราการใช้พลาสติกและผลิตภัณฑ์ที่ไม่เป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อมเพิ่ม
สู งขึ้น เห็นได้จากปี 2563 แม้ปริ มาณขยะมูลฝอยช่วงโควิด-19 จะลดลง แต่ปริ มาณขยะพลาสติกกลับเพิม่ ขึ้นเป็ น
6,300 ตัน/วัน หรื อร้อยละ 15 จากในช่วงสถานการณ์ปกติที่มีขยะพลาสติกประมาณ 5,500 ตัน/วัน (กรม
ควบคุมมลพิษ, 2564) กระแสใส่ ใจสิ่ งแวดล้อมเริ่ มลดน้อยลง เนื่องจากต้องคำนึงถึงสุ ขอนามัยและความ
ปลอดภัยเป็ นสำคัญ
เครื อข่ายเพื่อความยัง่ ยืนแห่งประเทศไทย (Thailand Responsible Business Network – TRBN) ร่ วม
กับกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม และภาคีต่าง ๆ เห็นความสำคัญของการแก้ไขปัญหาขยะ
อย่างครบวงจร จึงริ เริ่ มโครงการ “ส่งพลาสติกกลับบ้าน” รณรงค์ประชาสัมพันธ์การ “แยกที่บา้ น ฝากทิ้งที่เรา”
และให้ความรู ้การคัดแยกขยะพลาสติกแก่ผบู้ ริ โภคตั้งแต่ตน้ ทาง เพื่อความปลอดภัยของซาเล้งและพนักงาน
เก็บขยะ ลดปริ มาณขยะพลาสติกสู่ บ่อฝังกลบ และเพิ่มการนำพลาสติกกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ ผ่าน
กระบวนการ Recycling หรื อ Upcycling ของบริ ษทั เอกชน และเพื่อให้ระบบเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular
economy) เกิดขึ้นได้จริ ง ถือเป็ นความร่ วมมือของภาคีเครื อข่ายตลอดห่วงโซ่คุณค่าพลาสติก เพื่อ Close loop
นำพลาสติกจากผูบ้ ริ โภคส่ งเข้าสู่ กระบวนการจัดการให้สามารถแปรรู ปกลับไปเป็ นผลิตภัณฑ์ใหม่ให้ผู ้
บริ โภคใช้อีกครั้ง (สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์, 2563)
แต่ปัจจุบนั พลาสติกถูกนำมา Recycling หรื อ Upcycling น้อยมาก คนไทยจำนวนมากไม่แยกขยะ
เพราะเชื่อว่าสุ ดท้ายก็น ำไปทิ้งรวมกันอยูด่ ี ทำให้ขยะพลาสติกถูกปนเปื้ อนและไม่สามารถนำมา Recycling
แปลงวัสดุที่ใช้แล้วให้เป็ นวัสดุใหม่ที่ใช้งานได้อีกครั้ง หรื อนำมา Upcycling ใช้การออกแบบและนวัตกรรม
เข้ามาช่วยเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์โดยไม่ท ำให้คุณภาพและส่ วนประกอบของวัสดุลดลงได้ ต้องนำไปกำจัดด้วย
การฝังกลบแบบเดิม ๆ ต่อไป ซึ่ งพลาสติกนั้นย่อยสลายยาก ใช้เวลาราว ๆ 500 ปี และไม่ใช่ทุกพลาสติกที่
สามารถย่อยสลายได้เอง
ภาพรวมสถานการณ์ของขยะพลาสติกของประเทศไทยปี 2562 ช่วงก่อนสถานการณ์โควิด-19 มีขยะ
พลาสติกเฉลี่ย 2 ล้านตัน/ปี หรื อเฉลี่ยประมาณ 90 กรัม/คน/วัน โดยสามารถนำกลับไป Recycling ได้ 0.5 ล้าน
ตัน/ปี และไม่สามารถนำกลับไป Recycling ได้ ต้องกำจัดโดยวิธีฝังกลบหรื อเข้าเตาเผา 1.5 ล้านตัน/ปี โดยใน
ช่วงต้นปี 2563 ประชาชนก็ได้ให้ความสนใจและหันมาใช้ถุงผ้ากันมากขึ้นจากการรณรงค์ลดใช้พลาสติกของ
ภาครัฐตาม Roadmap การจัดการขยะพลาสติก พ.ศ. 2561-2573 แต่หลังจากสถานการณ์โควิด-19 สิ่ งเหล่านี้
กลับถูกลืมเลือนไป จากข้อมูลปี 2563-2564 พบว่า ในปี 2563 มีปริ มาณขยะพลาสติกเฉลี่ยประมาณ 134
กรัม/คน/วัน และในสถานการณ์โควิด-19 ระลอกใหม่เดือนเมษายน 2564 เฉลี่ยประมาณ 139 กรัม/คน/วัน
และคาดว่าอาจจะมากกว่าเดิม เนื่องจากการเปลีย่ นแปลงวิถชี ีวติ รวมไปถึงความจำเป็ นในการใช้พลาสติก (กรม
ควบคุมมลพิษ, 2564)
2

ผลิตภัณฑ์ตามท้องตลาดทัว่ ไปไม่มีการรับคืนซากผลิตภัณฑ์หลังจากหมดอายุการใช้งาน กลายเป็ น


ภาระของผูบ้ ริ โภคที่ตอ้ งหาสถานที่ทิ้งหรื อกำจัดสิ นค้านั้น ในขณะที่ผลิตภัณฑ์ที่เป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อมให้
ความสำคัญกับภาระการรับซากคืนหรื อผลิตภัณฑ์ที่หมดอายุ เพื่อนำไป Recycling หรื อ Upcycling กลับสู่
กระบวนการผลิตต่อไป เป็ นการแบ่งเบาภาระผูบ้ ริ โภคและบรรเทาปัญหาขยะในเวลาเดียวกัน ดังนั้น หาก
เปลี่ยนมาใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม ซึ่ งเป็ นผลิตภัณฑ์ที่ลดผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมตั้งแต่ข้ นั
ตอนการคัดเลือกวัตถุดิบ กระบวนการผลิต การขนส่ ง การใช้งาน จนกระทัง่ การจัดการหลังผลิตภัณฑ์น้ นั ๆ
หมดอายุการใช้งานแล้วอย่างถูกวิธี สามารถสังเกตได้จากฉลากสิ่ งแวดล้อมบนกล่องหรื อหี บห่อหรื อบนตัว
สิ นค้า เช่น สัญลักษณ์ฉลากเขียว, สัญลักษณ์ประหยัดไฟเบอร์ 5, สัญลักษณ์ผลิตมาจากวัสดุแปรใช้ใหม่,
สัญลักษณ์ที่ผลิตมาจากป่ าที่ปลูก สัญลักษณ์มาตรฐานผลิตภัณฑ์คุณภาพ ฉลากลดคาร์บอน ฯลฯ แล้วลดการ
ใช้พลาสติกซึ่ งย่อยสลายยาก ก็ถือว่าเป็ นการช่วยรักษาสิ่ งแวดล้อม ใช้ทรัพยากรอย่างคุม้ ค่า ลดผลกระทบต่าง
ๆ ในการผลิตที่อาจเกิดอันตรายต่อมนุษย์และสิ่ งแวดล้อม ลดการปล่อยมลพิษที่เป็ นสาเหตุให้เกิดภาวะโลก
ร้อนอีกด้วย
ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ์ที่เป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อมมักมีราคาสู งและเข้าถึงยากกว่าผลิตภัณฑ์ทวั่ ไป ประกอบกับ
สถานการณ์โควิด-19 ทำให้ความเป็ นไปได้ในการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อมเป็ นไปได้ยาก
ขึ้น แม้วา่ ประเทศไทยได้น ำการตลาดสี เขียว (Green Marketing) มาใช้ในระยะ 10 ปี ที่ผา่ นมา จนกระทัง่ มี
ผลิตภัณฑ์ที่เป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อมวางขายในตลาดมากขึ้น อย่างไรก็ตาม การเติบโตของตลาดสี เขียวของ
ประเทศไทยช้ากว่าประเทศอื่น ๆ มาก เนื่องจากผูบ้ ริ โภคยังไม่นิยมใช้ปัจจัยด้านสิ่ งแวดล้อมมาพิจารณาเลือก
ซื้ อผลิตภัณฑ์ ทำให้การตลาดสี เขียวของไทยยังไม่ประสบความสำเร็ จเท่าที่ควร กล่าวคือ การขาดกลุ่มผู ้
บริ โภคที่มีความห่วงใยต่อสิ่ งแวดล้อมอย่างจริ งจัง ซึ่ งในอนาคต หากมีผบู ้ ริ โภคที่ใส่ ใจสิ่ งแวดล้อมเพิ่มขึ้น
และมีการส่ งเสริ มหรื อสนับสนุนให้เกิดการบริ โภคที่ยงั่ ยืน ก็จะทำให้ความต้องการผลิตภัณฑ์ที่เป็ นมิตรต่อสิ่ ง
แวดล้อมมีมากขึ้น
จากปั ญหาตามที่กล่าวมาข้างต้น ผูว้ ิจยั จึงสนใจศึกษารู ปแบบการส่ งเสริ มการใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็ นมิตร
ต่อสิ่ งแวดล้อมในสถานการณ์โรคระบาดโควิด-19 ว่า ปั จจัยด้านต่าง ๆ ส่ งผลต่อการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็ น
มิตรต่อสิ่ งแวดล้อมมากน้อยเพียงใด เช่น ด้านราคา เมื่อผูค้ นตกอยูใ่ นสถานการณ์ยากลำบาก หลายธุรกิจขาด
รายได้และต้องปิ ดตัวลง กำลังซื้ อของผูบ้ ริ โภคน้อยลง แนวโน้มเลือกใช้ผลิตภัณฑ์เป็ นอย่างไร การยอมรับ
ความปลอดภัย การเข้าถึง หรื อมีปัจจัยอื่นใดที่เป็ นตัวแปรสำคัญในการขับเคลื่อนการใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็ นมิตร
ต่อสิ่ งแวดล้อม และจะทำอย่างไรให้การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อมสามารถเติบโตได้ใน
สถานการณ์เช่นนี้ เพื่อสนับสนุนให้ประเทศไทยเกิดการผลิตและการบริ โภคอย่างยัง่ ยืน ลดผลกระทบที่
รุ นแรงต่อสิ่ งแวดล้อม และสามารถส่ งต่อโลกในสภาพที่ดีให้รุ่นลูกรุ่ นหลานต่อไป

1.2 ให้ ท่านวิจารณ์ที่มาและความสำคัญ ข้ อเสนอโครงการ เพือ่ ให้ สมบูรณ์


ตอบ จากสถานการณ์ COVID-19 ในประเทศไทย ทำให้ผคู้ นต้องมีการปรับตัวเข้าสู่ยคุ New Normal
ทำให้เกิดกิจกรรมทีส่ ร้างขยะพลาสติกมหาศาล เช่น กิจกรรม การสัง่ อาหารออนไลน์ (Food Delivery) แม้ภาครัฐจะมี
โครงการ “ ส่งพลาสติกกลับบ้าน ” และรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ “ แยกทีบ่ า้ น ฝากทิง้ ทีเ่ รา ” เพือ่ ให้ขยะพลาสติกนำกลับ
3

มา Recycling หรื อ Upcycling ได้ แต่คนไทยก็ยงั มีพฤติกรรมไม่แยกขยะเพราะเชื่อว่า สุ ดท้ายก็จะนำขยะไปรวม


กันอยูด่ ี นอกจากนี้ สิ นค้าตามท้องตลาดทัว่ ไปไม่มีการรับคืนซากผลิตภัณฑ์หลังจากหมดอายุการใช้งาน
กลายเป็ นภาระผูบ้ ริ โภคที่ตอ้ งหาสถานที่ทิ้งเอง ในขณะที่ผลิตภัณฑ์ที่เป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อม ให้ความสำคัญ
กับการรับซื้ อคืนผลิตภัณฑ์ที่หมดอายุ ดังนั้น ถ้าทุกคนร่ วมใจเปลีย่ นมาใช้ผลิตภัณฑ์ทเ่ี ป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และ
เปลีย่ นพฤติกรรมในการแยกขยะ ก็จะสามารถลดปริ มาณขยะพลาสติกลงได้

1.3 วัตถุประสงค์ของการศึกษา
ตอบ 1) เพือ่ ลดปริ มาณขยะพลาสติกทีเ่ กิดจากกิจกรรมต่าง ๆ ในช่วง COVID-19
2) ส่งเสริ มการใช้ผลิตภัณฑ์ทเ่ี ป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
3) กระตุน้ ธุรกิจผลิตภัณฑ์ทเ่ี ป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

1.4 ประโยชน์ ทคี่ าดว่าจะได้รับ


ตอบ 1) ปริ มาณขยะพลาสติกทีเ่ กิดจากกิจกรรมต่าง ๆ ในช่วง COVID-19 ลดลง
2) ขยะพลาสติกสามารถนำกลับมา Recycling และ Upcycling ได้มากยิง่ ขึ้น
3) ขับเคลือ่ นเศรษฐกิจในด้านธุรกิจผลิตภัณฑ์ทม่ี ติ รต่อสิ่งแวดล้อมมากยิง่ ขึ้น
4) ลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติลงได้

1.5 ขอบเขตการศึกษา
ตอบ ขอบเขตด้านเนื้อหา : ลดปริ มาณขยะพลาสติกลง และส่งเสริ มการใช้ผลิตภัณฑ์ทเ่ี ป็ นมิตร
ต่อสิ่งแวดล้อมมากยิง่ ขึ้น
ขอบเขตด้านประชากร : ผูบ้ ริโภค ผูผ้ ลิต ภาครัฐ ภาคเอกชน
ขอบเขตด้านพื้นที่ : ผูบ้ ริโภค และผูผ้ ลิต ในประเทศไทย
ขอบเขตด้านระยะเวลา : อิงตาม แผนปฏิบตั กิ ารด้านการจัดการขยะพลาสติกระยะที่ 1พ.ศ. 2563 - 2565 ภาย
ใต้ Road map การจัดการขยะพลาสติก พ.ศ. 2561 - 2573

1.6 นิยามศัพท์
ผลิตภัณฑ์ ที่เป็ นมิตรต่ อสิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ นค้าที่ส่งผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมน้อยกว่า เมื่อเทียบ
กับสิ นค้าอื่นที่ท ำหน้าที่อย่างเดียวกัน โดยคำนึงผลกระทบตลอดวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่การจัดหาวัตถุดิบ
การผลิต การขนส่ ง การใช้งานผลิตภัณฑ์ การนำมาใช้ใหม่หรื อการแปรรู ป รวมทั้งการนำไปกำจัด ดังนั้น การ
เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อมจึงเป็ นทางเลือกที่สร้างผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมน้อยกว่า
ผลิตภัณฑ์ทวั่ ไป
นอกจากนี้ สามารถสังเกตและตรวจสอบผลิตภัณฑ์ที่เป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อมได้จาก "ฉลาก" หรื อ
"ตราสัญลักษณ์" ที่แสดงว่าผ่านการตรวจสอบประเมินผลกระทบที่เกิดจากกระบวนการผลิตตลอดทั้งวัฏจักร
ผลิตภัณฑ์จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมแล้ว
4

1.7 หัวข้ อทบทวนวรรณกรรม


ตอบ 1) แผนปฏิบตั กิ ารจัดการขยะพลาสติก ระยะที่ 1 พ.ศ. 2563 - 2565
2) Roadmap การจัดการขยะพลาสติก พ.ศ. 2561 - 2573
3) ภาพรวมสถานการณ์การใช้ขยะพลาสติกในประเทศไทย
4) ศึกษา Recycling และ Upcycling
5) ศึกษา Circular Economy
6) ศึกษาธุรกิจผลิตภัณฑ์ทเ่ี ป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
7) ทฤษฎีการสื่อสารและการประชาสัมพันธ์
8) งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง
1.8 กรอบแนวคิด

แนวทางการแก้ไข :
ผลกระทบ :
สาเหตุ : พัฒนานวัตกรรมในการผลิตผลิตภัณฑ์ทเ่ี ป็ นมิตรต่อสิ่ง
ปริ มาณขยะพลาสติกในประเทศไทยสูงขึ้น
สถานการณ์ COVID-19 ทำให้ แวดล้อม
ขยะพลาสติกล้นหลุมฝังกลบ
ประชาชนต้องปรับตัวเข้าสู่ยคุ สื่ อสาร/ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนตระเห็นถึงความ
สารพิษตกค้างในสิ่ งแวดล้อม
New Normal สำคัญของการแยกขยะ
สุขภาพของประชาชนแย่ลง
Circular Economy
การแปรรู ปขยะไปเป็ นพลังงาน

ความเสียหาย :
สาเหตุ :
มีการขุดหลุมฝังกลบมากขึ้น
กิจกรรมต่างๆที่ท ำให้เกิดขยะพลาสติก เช่น
กิจกรรมการเผาขยะพลาสติกทำให้เกิดมลพิษทางอากาศ
ผู้รับผิดชอบ :
1.9 สมมติฐานการวิจัย
การสั่งอาหารออนไลน์ (Food
มากขึ้น
ประชาชนทุกคนในประเทศ
Delivery)ตอบ
เป็ นต้น 1) การรับรูข้ อ้ มูลข่าวสารเกีย่ วกั
ทรับ การจัดการขยะพลาสติ
พยากรทางธรรมชาติ ลดลง กและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากหน่วยงานภาครัฐ
หน่วยงานภาครัฐ
และเอกชนทีแ่ ตกต่างมีผลกับการมีส่วนร่ วมของประชาชนในการจัดการปัญหาขยะพลาสติ กในยุค New
หน่วยงานภาคเอกชน
Normal
2) การเข้าถึงผลิตภัณฑ์ทางเลือกทีเ่ ป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับพฤติกรรมการจัดการขยะ
พลาสติกของประชาชน
3) ปัจจัยด้านกายภาพ เช่น จุดรับคืนซากผลิตภัณฑ์หลังจากหมดอายุการใช้งาน จุดรับขยะก่อนนำเข้าสู่
กระบวนการคัดแยก มีผลต่อการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชน
4) ปัจจัยด้านการสนับสนุน เช่น นโยบายส่งเสริ มนวัตกรรมการพัฒนาสินค้าทีเ่ ป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
นโยบายส่งเสริ มการเปลีย่ นขยะให้เป็ นพลังงาน (Waste-To-Energy) นโยบายส่งเสริ มความตระหนักรูแ้ ละ
การนำแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ไปประยุกต์ใช้ในภาคธุรกิจ มีผลต่อการปรับเปลีย่ น
พฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชน และลดการกำจัดขยะโดยวิธีฝงั กลบหรื อเข้าเตาเผา

1.10 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง อธิบายการหาขนาดตัวอย่ าง และการสุ่ มตัวอย่ างอย่ างละเอียด สมมติให้


ประชากรที่สนใจศึกษา 1,000,000 คน
5

ตอบ การศึกษาประชากรทีอ่ าศัยอยูใ่ นประเทศไทย 1,000,000 คน เป็ นจำนวนประชากรขนาดใหญ่ จึงเลือกใช้


สมการคำนวณขนาดกลุม่ ตัวอย่างของ ทาโร ยามาเน (Taro Yamane) เนื่องจากทราบจำนวนประชากรทีแ่ น่นอน โดย
สมมติให้มคี า่ ความคลาดเคลือ่ นทีย่ อมรับได้รอ้ ยละ 5:
สส
N
n=
1+ N e 2
1,000,000
หรื อ n= 2
1+ ( 1,000,000 ) ( 0.05 )
1,000,000
n=
2,501
n=399.84 หรื อ 400

ดังนั้น ทีมงานวิจยั ต้องเก็บข้อมูลจากประชากรกลุม่ ตัวอย่างจำนวน 400 คน

1.11 เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล ให้อธิบายเครื่องมือทีจ่ ะใช้ ว่ามีอะไรบ้าง ยกตัวอย่างคำถามคร่ าว ๆ


ตอบ เลือกใช้การเก็บข้อมูลในงานวิจยั โดยการจัดทำแบบสอบถามให้ผ้ตู อบตอบเอง (เชิงปริมาณ) สำหรับกลุม่
ประชากรตัวอย่างทีก่ ำหนดไว้ และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (เชิงคุณภาพ) สำหรับเจ้าหน้าทีภ่ าครัฐทีม่ สี ่วน
เกีย่ วข้องและภาคเอกชนทีผ่ ลิตนวัตกรรมหรื อผลิตภัณฑ์ทางเลือกทีเ่ ป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพือ่ ให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่
ตรงตามต้องการและเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาของงานวิจยั ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ดูตารางการอธิบายเครื่องมือเก็บ
รวบรวมข้อมูลได้ในหน้าถัดไป)

เครื่องมือทีห่ นึง่ : การจัดทำแบบสอบถามให้ผ้ตู อบตอบเอง (เชิงปริมาณ) โดยการออกแบบคำถามทีส่ อดคล้องกับ


คุณลักษณะและพฤติกรรมของประชากรกลุม่ ตัวอย่าง รวมถึงเหตุการณ์และปรากฏการณ์ทเ่ี กิดขึ้นในช่วงเวลาดัง
กล่าว
6

ตัวอย่างคำถาม – แบบสอบถามแบบปลายปิ ดสำหรับกลุม่ ประชากรตัวอย่าง


คำถามเกีย่ วกับพฤติกรรมการสั่งซื้ออาหารออนไลน์ และการทิง้ ขยะ ใช่ ไม่ ใช่
1) ท่านคิดว่า ขยะพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้ง ไม่ส่งผลต่อปริ มาณขยะ และ
คุณภาพที่ดีของสิ่ งแวดล้อมในระยะยาว
2) ท่านคิดว่า จำนวนป้ ายสื่ อสารเรื่ องการคัดแยกขยะในชุมชนของท่านมี
ความชัดเจนมากพอหรื อไม่
3) หลังบริ โภคอาหารที่สัง่ มาแล้ว ท่านคัดแยกขยะพลาสติกก่อนนำไปทิ้ง
หรื อไม่
4) ....

นอกจากนี้ ทีมวิจยั เลือกเพิม่ เติมคำถามปลายเปิ ด (เช่น ข้อเสนอแนะ หรื ออธิบายถึงปัญหาและอุปสรรค) ไว้ทา้ ยสุด
ของแบบสอบถาม ในกรณีทป่ี ระชากรกลุม่ ตัวอย่างมีขอ้ มูลอืน่ ไม่สามารถตอบได้ระหว่างการตอบคำถามปลายปิ ด
ตัวอย่างคำถาม เช่น

1) ท่านมีปัญหาหรื ออุปสรรคอะไรบ้างในการคัดแยกขยะพลาสติก
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………

ทั้งนี้ คำถามปลายเปิ ดจะอยูใ่ นส่วนสุดท้ายของแบบสอบถาม ก่อนจะตามด้วยการสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล อาทิ


อายุ เพศ การศึกษา อาชีพ รายได้เฉลีย่ ต่อเดือน ฯลฯ

เครื่องมือทีส่ อง : การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (เชิงคุณภาพ) โดยเลือกใช้การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured


Interview) เพือ่ เก็บข้อมูลเชิงลึกและความรูส้ ึก ความคิดเห็น และทัศนคติของผูท้ ท่ี ำหน้าทีบ่ ริ หารจัดการขยะทีล่ กึ ซึ้ง
และหลากหลายมาวิเคราะห์ขอ้ มูล

ตัวอย่างคำถาม – การสัมภาษณ์เชิงลึกสำหรับเจ้าหน้าทีท่ เ่ี กีย่ วข้อง


1) เหตุใดความร่ วมมือในการการบริ หารจัดการพลาสติกกับองค์กรภาคเอกชนจึงยังมีความล่าช้า
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………

2) มีแนวทางอย่างไรในการกระตุน้ ให้กลุม่ ผูบ้ ริ โภคลดและคัดแยกขยะพลาสติกอย่างจริ งจังมากขึ้น


……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
7

……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………

ตัวอย่างคำถาม – การสัมภาษณ์เชิงลึกสำหรับภาคเอกชน
1) ท่านคิดว่า นโยบายใดของภาครัฐทีค่ วรได้รบั การปรับปรุ งเพือ่ ส่งเสริ มให้การดำเนินงานด้านคัดแยกขยะพลาสติก
มีประสิทธิภาพมากขึ้น
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………

------------------------------------------------------------------------

จัดทำโดย
1. วศินี ธัญสิ ริโภคิน รหัสนักศึกษา 6520921003
2. ปรางทอง จิตรเจริ ญกุล รหัสนักศึกษา 6520921010
3. ณัฐวัตร สิ บแก้ว รหัสนักศึกษา 6520921002

You might also like