You are on page 1of 7

การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 57 สาขาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ปริมาณธาตุอาหารหลักของพืชในปุ๋ยหมักที่ผลิตจากตะกอนดินโรงผลิตนํา้ ประปาร่ วมกับขยะอินทรีย์


Macronutrient Quantity of Plant in Compost from Waterworks Soil Sludge Combination
with Organic Waste

นนทพร ประเสริฐกุล1* วัชรพงษ์ วาระรัมย์1 อรอนงค์ ผิวนิล1 และ ธนิศร์ ปั ทมพิฑรู 1


Nontaporn Prasertkul1*, Watcharapong Wararam1, Onanong Phewnil1 and Thanit Pattamapitoon1

บทคัดย่ อ
งานวิจยั นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้ ประโยชน์จากตะกอนดินโรงผลิตนํ ้าประปาร่วมกับขยะอินทรี ย์ โดย
วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) ทําการหมักปุ๋ยจากตะกอนดินโรงผลิตนํ ้าประปา
และขยะอินทรี ย์ 4 อัตราส่วน คือ 1:1, 1:2, 2:1 และชุดควบคุม ตามลําดับ จํานวนหน่วยทดลองละ 3 ซํ ้า เก็บตัวอย่าง
ปุ๋ยหมักภายหลังการย่อยสลายสมบูรณ์ ที่ระยะเวลา 35 วัน โดยวิเคราะห์หาปริ มาณธาตุอาหารหลักของพืช ได้ แก่
ไนโตรเจนทั้งหมด (Total N) ฟอสฟอรัสที่เป็ นประโยชน์ (P2O5) และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ (K2O5) พบว่าปริ มาณ
ธาตุอาหารหลักของพืชในปุ๋ยหมักแต่ละอัตราส่วนมีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยปริ มาณ
ไนโตรเจนทั้งหมด ฟอสฟอรัสที่เป็ นประโยชน์ และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ พบมากที่สดุ ในปุ๋ยหมักที่มีอตั ราส่วน
ของตะกอนดินโรงผลิตนํ ้าประปาและขยะอินทรี ย์ 1:2 มีปริ มาณร้ อยละ 0.670, 0.006 และ 0.020 ตามลําดับ อย่างไรก็
ตามเมื่อเปรี ยบเทียบกับมาตรฐานปุ๋ยอินทรี ย์ที่กําหนดไว้ ในพระราชบัญญัตปิ ๋ ยุ พ.ศ. 2548 พบว่า ปุ๋ยหมักในอัตราส่วน
ที่ดีที่สดุ มีปริ มาณธาตุอาหารหลักตํ่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน ดังนั้นปุ๋ยหมักที่ได้ จากตะกอนดินโรงผลิตนํ ้าประปาร่วมกับ
ขยะอินทรี ย์จงึ เหมาะสมนําไปใช้ ประโยชน์เป็ นวัสดุปลูกเพื่อเพิ่มปริ มาณธาตุอาหารหลักให้ กบั พืช
ต ร ์
าส
ษ ตรศ ABSTRACT
This research aimed
ล ย
ั เกto study on utilization of waterworks soil sludge combination with organic

waste. The experiments ิา ทย was designed Completely Randomized Design (CRD), 4 treatments as


ัิทล ม and organic waste in ratio 1:1, 1:2, 2:1 and control with 3 replications. Compost
waterworks soil sludge
ู้ดิจ collected when completed decomposing stage at 35-day age. Macronutrients in
samples รwere


compost
ค า from waterworks soil sludge mixed with organic waste were determination in term of total
คลัง (Total N), available phosphorus (P O ), and exchangeable potassium (K O ). The results that
nitrogen 2 5 2 5
found macronutrients in treatments were highly significant difference (P<0.05). Total N, P2O5 and K2O5
หมดอายุวันที่ 07-12-2566
contents in compost from waterworks soil sludge and organic waste in ratio of 1:2 were 0.670, 0.006
and 0.020 percent, respectively. However, the result of macronutrients were lower than standard of
organic compost follow by fertilizer act in year 2005. Conclusion the compost from waterworks soil
sludge and organic waste could be used for adding macronutrient as growing medium to plant.
Key Words: Plant Macronutrient, Compost, Waterworks Soil Sludge, Organic Waste
*Corresponding author; e-mail address: jlay.nontaporn@gmail.com
1
ภาควิชาวิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้ อม คณะสิ่งแวดล้ อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900
1
Department of Environmental Science, Faculty of Environment, Kasetsart University, Bangkok 10900
849
สาขาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 57

คํานํา
กระบวนการผลิตนํ ้าประปาจากแหล่งนํ ้าธรรมชาติมีการผลิตในแต่ละวันเป็ นจํานวนมาก เพื่อให้ ได้ มาซึง่
ความสะอาด ปลอดภัย และคุณภาพนํ ้าใช้ ที่ดี กรรมวิธีในการผลิตจะต้ องได้ มาตรฐาน โดยระบบผลิตนํ ้าประปา
ทัว่ ไปสําหรับนํ ้าผิวดินที่เป็ นวัตถุดบิ มักจะมีตะกอนที่เกิดจากกระบวนการตกตะกอนด้ วยสารเคมีเสมอ ซึง่ ตะกอน
ของระบบผลิตนํ ้าประปาส่วนใหญ่เกิดจากกระบวนการตกตะกอนด้ วยสารส้ ม มีการระบายออกจากถังตกตะกอน
เป็ นปริ มาณมาก ก่อให้ เกิดปั ญหาในการกําจัดทั้งในแง่ของการขนส่งและการหาพื ้นที่กําจัด (เพิ่มผล, 2546) โดย
คุณสมบัตขิ องตะกอนดินจากระบบผลิตนํ ้าประปา เป็ นเนื ้อตะกอนดินทรายร่วน (loamy sand) มีธาตุอาหารหลัก
ของพืช ได้ แก่ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรั ส (P) และโพแทสเซียม (K) อยู่ในระดับปานกลางถึงสูงเป็ นส่วนใหญ่
รวมทั้งมีอินทรี ยวัตถุ (organic matter) อยู่ในระดับค่อนข้ างสูง ส่งผลทําให้ ตะกอนดินจากระบบผลิตนํ ้าประปามี
ความจุในการแลกเปลี่ยนแคตไอออนให้ กบั พืชได้ เป็ นอย่างดี และมีการระบายนํ ้าที่ดี ด้ วยคุณสมบัติดงั กล่าวหาก
มีการนําตะกอนจากระบบผลิตนํ ้าประปามาใช้ ประโยชน์ในทางการเกษตรสามารถช่วยลดปริ มาณของเสียและ
ลดพื ้นที่กําจัดได้ โดยการหมักทําปุ๋ยด้ วยกระบวนการแปรสภาพของอินทรี ยวัตถุโดยอาศัยจุลินทรี ย์ ที่มีอยู่ใน
ธรรมชาติช่วยในการย่อยสลาย (ประภาพรรณ, 2548) ร่ วมกับขยะอินทรี ย์ที่มีแหล่งกําเนิดจากชุมชน ที่เป็ นขยะ
ย่อยสลายได้ เร็ ว ให้ กลายเป็ นวัสดุปรับสภาพดินที่มีธาตุอาหารพืชสูง สามารถใช้ ในการปรับปรุ งคุณภาพของดิน
เพื่อใช้ ประโยชน์ในการเพาะปลูกได้ จึงเป็ นแนวทางหนึ่งในการลดปริ มาณตะกอนดินและเพิ่มมูลค่าของของเสียที่
สามารถนําไปใช้ ประโยชน์ตอ่ ในภาคการเกษตรได้ เป็ นอย่างดี

อุปกรณ์ และวิธีการ
วัสดุท่ ใี ช้ ในการทดลอง ์
ส ต ร
เตรี ยมตะกอนดินจากกระบวนการตกตะกอนของระบบผลิ ตนํ ้าประปาและดินนา โดยนําไปผึ่งแห้ งในที่
ศ า
ร่ ม 21 วัน แล้ วทําการบดและร่ วนผ่ษ ตารนตะแกรงให้ มีขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 0.2 เซนติเมตร โดยทําการผสมรวม
กับขยะอินทรี ย์ขนาดประมาณ ล ย
ั เก เซนติเมตร เพื่อให้ เกิดการย่อยสลายตัวได้ เร็วขึ ้น
1-2

ิา ทย


แผนการทดลอง ท
ิ ัล ม
ร ู้ดิจ
วางแผนการทดลองแบบ
ม Completely Randomized Design (CRD) จํานวน 3 ซํ ้า ที่ประกอบด้ วยการ
ว า
หมัลังกคตะกอนดินโรงผลิตนํ ้าประปาร่ วมกับชั้นขยะอินทรี ย์ 3 อัตราส่วน คือ 1:1 (T1), 1:2 (T2) และ 2:1 (T3) คิด

เป็ น 45:45, 30:60 และ 60:30 กิ โลกรั มโดยนํ า้ หนัก และชุดควบคุมทํ าการหมักดินนาร่ วมกับชั้นขยะอิ นทรี ย์
หมดอายุ
อัตราส่วน 1:2 (Control) คิดเป็ น 30:60 กิโลกรัมโดยนํ ้าหนัก ตามลํ วันทีอซี่ 07-12-2566
าดับ ในวงบ่ เมนต์ขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง
60 เซนติเมตร สูง 80 เซนติเมตร ด้ วยเทคโนโลยีกล่องคอนกรี ตกํ าจัดขยะของโครงการศึกษาวิจัยและพัฒนา
แหลมผักเบี ้ยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ทําการรดนํ ้าครั้งแรกที่กองปุ๋ยหมัก 2.5 ลิตร และรดนํ ้าครั้งละ 1.5 ลิตร
ทุก 7 วัน ทิ ้งไว้ โดยไม่ต้องมีการกลับกองปุ๋ยจนการย่อยสลายภายในกองปุ๋ยหมักสมบูรณ์

การเก็บตัวอย่ าง
ภายหลัง ปุ๋ยหมัก ย่อ ยสลายสมบูร ณ์ แ ล้ ว ครบ 35 วัน นํ า ปุ๋ยออกจากวงบ่อซี เ มนต์ ไ ปผึ่ง แห้ ง ในที่ ร่ม
ประมาณ 7-10 วัน สุ่มเก็บตัวอย่างปุ๋ยหมักในแต่ละอัตราส่วน อัตราส่วนละ 3 ซํ ้า ปริ มาณ 500 กรัม แล้ วนํามา
850
การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 57 สาขาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

บดและร่ อนด้ วยตะแกรงร่ อนดินขนาด 2 มิลลิเมตร เก็บตัวอย่างปุ๋ยหมักที่ได้ ไว้ ในถุงพลาสติกปิ ดสนิท เพื่อใช้ ใน
การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี

การวิเคราะห์ ข้อมูล
วิ เ คราะห์ อ งค์ ป ระกอบทางเคมี ข องปุ๋ยหมัก ได้ แ ก่ ความเป็ นกรด-ด่ า ง (pH) ค่ า การนํ า ไฟฟ้ า (EC)
อินทรี ยวัตถุ (OM) และปริ มาณธาตุอาหารหลักของพืช ได้ แก่ ไนโตรเจนทั้งหมด (Total N) ฟอสฟอรัสที่เป็ นประโยชน์
(P2O5) และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ (K2O5) (Table 1) นํ าผลที่ได้ วิเคราะห์ ความแปรปรวน และเปรี ยบเทียบ
ค่าเฉลี่ยตามวิธี Duncan's multiple range test (ไมตรี , 2554)

Table 1 Parameters and methods of compost analysis


Parameters Methods of analysis Referent
pH pH Meter Li et al. (2012)
Electrical Conductivity, EC (dS/m) EC Meter Patcharee (2011)
Organic Matter, OM (%) Walkley and Black Conklin (2005)
Total Nitrogen, Total-N (%) Kjeldahl Conklin (2005)
Available Phosphorus, P2O5 (%) Spectrophotometer Land Development
molybdovanadate Department (2010)
Exchangeable Potassium, K2O5 (%) Atomic Absorption Soil and Plant Analysis
Spectrophotometer Council (2000)
ต ร ์
าส
ษตรศผลและวิจารณ์ ผลการทดลอง
เก
องค์ ประกอบทางเคมีของตะกอนดิ
ย าลัย นโรงผลิตนํา้ ประปาและดินนา
จากการวิเคราะห์ า ว ิท องค์ประกอบทางเคมีของตะกอนดินโรงผลิตนํ ้าประปา พบว่า เนื ้อตะกอนดินเป็ นดิน

ทรายร่วน (loamy ัิทล มsand) มีสภาพความเป็ นกรดเล็กน้ อย โดยมีความเป็ นกรด-ด่าง (pH) เท่ากับ 6.57 มีสภาพการ
นําไฟฟ้าม(EC) ร ู้ดิจ เท่ากับ 2.50 mS/cm มีปริ มาณอินทรี ยวัตถุ (OM) อยู่ในระดับค่อนข้ างสูง ร้ อยละ 3.48 มีปริมาณ
ค ว า
คมิลลังลิกรัม/กิโลกรัม มีปริ มาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ อยู่ในระดับสูงมาก เท่ากับ 139.00 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
ไนโตรเจนทั้งหมดอยู ่ในระดับปานกลาง ร้ อยละ 0.42 มีฟอสฟอรัสที่เป็ นประโยชน์อยู่ในระดับสูง เท่ากับ 28.61

(Table 2) หมดอายุวันที่ 07-12-2566


องค์ประกอบทางเคมีของดินนา พบว่า เนื ้อดินเป็ นดินร่ วนเหนียว (clay loam) มีสภาพความเป็ นกลาง
โดยมี ค่าค่า pH เท่ากับ 7.07 มี ปริ มาณอินทรี ยวัตถุอยู่ในระดับค่อนข้ างตํ่า ร้ อยละ 1.10 มี ปริ มาณไนโตรเจน
ทั้งหมด ร้ อยละ 0.06 มีปริ มาณฟอสฟอรัสที่เป็ นประโยชน์ และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ เท่ากับ 1.94 และ
68.05 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ตามลําดับ (Table 2)

851
สาขาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 57

Table 2 Chemical composition of waterworks soil sludge and paddy soil


Parameters Waterworks soil sludge Paddy soil
Soil texture loamy sand clay loam
EC (mS/cm) 2.50 0.30
pH 6.57 7.07
Organic Matter (%) 3.48 1.10
Total N (%) 0.42 0.06
Available-P (mg/kg) 28.61 1.94
Exchangeable K (mg/kg) 139.00 68.05

องค์ ประกอบทางเคมีของปุ๋ยหมัก
จากการวิ เ คราะห์ อ งค์ ป ระกอบทางเคมี ได้ แ ก่ ความเป็ นกรด-ด่ า ง (pH) ค่ า การนํ า ไฟฟ้ า (EC)
อินทรี ยวัตถุ (OM) ของปุ๋ยหมักภายหลังการย่อยสลายสมบูรณ์แล้ วที่ระยะเวลา 35 วัน (Table 3) พบว่า ปุ๋ยหมัก
ทุกอัตราส่วนมีคา่ pH อยูร่ ะหว่าง 6.88-7.30 และ EC อยูร่ ะหว่าง 1.24-3.40 dS/m เมื่อเปรี ยบเทียบกับมาตรฐาน
ปุ๋ยอินทรี ย์ที่กรมวิชาการเกษตรได้ กําหนดไว้ ในพระราชบัญญัติป๋ ยุ พ.ศ. 2548 ว่าปุ๋ยอินทรี ย์ที่มีคณ ุ ภาพต้ องมีคา่
pH ระหว่าง 5.5-8.5 และมีค่า EC ไม่เกิน 6 dS/m โดยค่า pH และ EC ของปุ๋ยหมักสามารถใช้ ในการบ่งบอกถึง
ความสมบูรณ์ ของกระบวนการย่อยสลายอินทรี ย์สาร (มณฑยา, 2546) โดยสารอินทรี ย์จะถูกย่อยสลายอย่าง
สมบูรณ์ ได้ ผลิตภัณฑ์ ที่มีอิออนเป็ นองค์ประกอบ ก็ ต่อเมื่ อมี ค่า pH อยู่ในช่วงที่เหมาะสมต่อการทํางานของ
จุลนิ ทรี ย์ ส่งผลทําให้ มีคา่ EC สูงตามไปด้ วย ์ แต่เนื่องจากค่า EC ขึ ้นอยูก่ บั จํานวนอิออนในปุ๋ยหมักที่ได้ (Soil and
Plant Analysis Council, 1999) ซึ่งในกระบวนการย่ ส ต ร อยสลายแบบไม่ใช้ อากาศส่งผลให้ มีค่า pH และ EC ตํ่า
ศ า
เนื่ องจากปริ มาณกรดอินทรี ย์ในวั ษ ตสรดุหมักเพิ่มขึน้ รวมทั้งมีอิออนบางตัวหายไปอีกด้ วย (Metcalf and Eddy,
1991) ในขณะที่ค่า OM พบมากที ล ย
ั เก ่สดุ ในปุ๋ยหมักจากตะกอนดินโรงผลิตนํ ้าประปาและขยะอินทรี ย์อตั ราส่วน 1:2
ว ท
ิ ยา
(T2) มีค่าร้อยละ 7.38า เมื่อเปรี ยบเทียบกับชุดควบคุมปุ๋ยหมักจากดินนาและขยะอินทรี ย์ (Control) ที่มีค่าน้ อย

ที่ สุด ร้ อยละ 3.19 ัิทล มพบว่าแตกต่างอย่างมี นัยสําคัญยิ่งสถิติ (P<0.05) เนื่ องจากคุณสมบัติของตะกอนดินที่มี
ิจ
อินทรี ยวัมตรถุู้ดอยู่ในระดับค่อนข้ างสูง (เอิบและคณะ, 2544) กว่าดินนา ส่งผลให้ ร้อยละของอินทรี ยวัตถุในปุ๋ย
ค ว า
ลัง งการหมักเพิ่มสูงขึ ้นด้ วย
ภายหลั

Table 3 Chemical composition of compost from waterworksหมดอายุ
soil sludgeวันcombination
ที่ 07-12-2566
with organic waste
Ratio of soil: organic waste Parameters
Treatment
(kg by weight) pH EC (dS/m) OM (%)
T1 45:45 (1:1) 7.04b 1.24a 5.72a
T2 30:60 (1:2) 6.88a 3.10a 7.38c
T3 60:30 (2:1) 7.08ab 3.40a 4.87b
Control 30:60 (1:2) 7.30ab 2.86a 3.19b
Remark: xa = Significant at P<0.05

852
การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 57 สาขาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ปริมาณไนโตรเจนทัง้ หมด (Total N) ในปุ๋ยหมัก


ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมด (Total N) ของปุ๋ยหมักภายหลังการย่อยสลายสมบูรณ์แล้ วที่ระยะเวลา 35 วัน
(Table 4) พบว่ า ปุ๋ยหมัก จากตะกอนดิ น โรงผลิ ต นํ า้ ประปาและขยะอิ น ทรี ย์ อัต ราส่ ว น 1:2 (T2) มี ป ริ ม าณ
ไนโตรเจนทั้ง หมดมากที่ สุด คิ ด เป็ นร้ อยละ 0.670 รองลงมาในปุ๋ยหมัก อัต ราส่ว น 1:1 (T1) และ 2:1 (T3) มี
ปริ ม าณไนโตรเจนทั้ง หมดเท่า กัน คิด เป็ นร้ อยละ 0.590 และชุด ควบคุม ปุ๋ยหมัก จากดิน นาและขยะอิ น ทรี ย์
อัตราส่วน 1:2 (Control) มีปริ มาณร้อยละ 0.310 ซึ่งแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญยิ่งสถิติ เนื่องจากคุณสมบัติของ
ตะกอนดินมีปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดอยู่ในระดับปานกลาง ที่ส่งผลให้ ปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดในปุ๋ยหน่วย
ทดลอง (T1-T3) สูงกว่าชุดควบคุม (Control) และปริ มาณไนโตรเจนทั้งหมดของปุ๋ยหมักยังเพิ่มสูงขึ ้นตามปริ มาณ
ของขยะอินทรี ย์ที่เพิ่มขึ ้นในแต่ละอัตราส่วนด้ วย

Table 4 Quantity of macronutrient of compost from waterworks soil sludge combination with organic waste
Ratio of soil: organic waste Parameters
Treatment
(kg by weight) Total N (%) P2O5 (%) K2O5 (%)
T1 45:45 (1:1) 0.590a 0.003b 0.020a
T2 30:60 (1:2) 0.670c 0.006b 0.020a
T3 60:30 (2:1) 0.590b 0.003a 0.020a
Control 30:60 (1:2) 0.310b 0.008a 0.020a
Remark: xa = Significant at P<0.05

ปริมาณฟอสฟอรั สที่เป็ นประโยชน์ (Pส2ตOร5์ ) ในปุ๋ยหมัก


รศา (P2O5) ของปุ๋ยหมักภายหลังการย่อยสลายสมบูรณ์แล้ วที่ระยะเวลา
ปริ มาณฟอสฟอรัสที่เป็ นประโยชน์


35 วัน (Table 4) พบว่า ปุ๋ยหมััยเกกจากตะกอนดินโรงผลิตนํ ้าประปาและขยะอินทรี ย์อตั ราส่วน 1:2 (T2) มีปริ มาณ
าล
ิาวทย ๋ ยหมักอัตราส่วน 1:1 (T1) และ 2:1 (T3) มีปริมาณ P2O5 เท่ากัน ร้ อยละ 0.003
P2O5 ร้ อยละ 0.006 รองลงมาในปุ

น้ อยกว่าชุดควบคุ ัิทล ม ปุ๋ยหมักจากดินนาและขยะอินทรี ย์อตั ราส่วน 1:2 (Control) มีปริ มาณร้ อยละ 0.008 อย่างมี
นัยสําคัญรยิู้ด่งิจทางสถิติ เนื่องจากทัว่ ไปในดินธรรมชาติจะมีฟอสฟอรัสตํ่ามาก เมื่อเทียบกับปริ มาณไนโตรเจนและ
โพแทสเซี ว า มยม โดยเฉลี่ยแล้ วในดินมีฟอสฟอรัสเพียงร้ อยละ 0.050 ดินชั้นบนของดินนาในประเทศไทยมีฟอสฟอรัส

คเฉลีลัง่ยเพียงร้ อยละ 0.02 (Yongyut, 2003) ในขณะที่ตะกอนดินจากระบบผลิตนํ ้าประปามีฟอสฟอรัสเฉลี่ยอยูเ่ พียง
ร้ อยละ 0.001 (เอิบและคณะ, 2544) ซึ่งฟอสฟอรั สในดินมักสูญเสียไปจากดินได้ โดยง่าย และมักอยู่ในรู ปที่มี
หมดอายุวันที่ 07-12-2566
ความสามารถในการละลายนํ า้ ได้ น้ อ ยมาก (ศุภ มาศและคณะ, 2559) ส่ง ผลให้ เ มื่ อ วัส ดุห มัก ดัง กล่า วผ่ า น
กระบวนการหมักแล้ วทําให้ ป๋ ยหมั ุ กที่ได้ มีคา่ P2O5 อยู่ในระดับตํ่าเมื่อเทียบกับมาตรฐานปุ๋ยอินทรี ย์ที่กรมวิชาการ
เกษตรได้ กําหนดไว้ ในพระราชบัญญัติป๋ ยุ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 ว่าปุ๋ยอินทรี ย์ที่มีคณ ุ ภาพต้ องมีค่า P2O5 ไม่น้อย
กว่าร้ อยละ 0.500

853
สาขาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 57

ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ (K2O5) ในปุ๋ยหมัก


ปริ มาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ (K2O5) ของปุ๋ยหมักภายหลังการย่อยสลายสมบูรณ์แล้ วที่ระยะเวลา
35 วัน (Table 4) พบว่า ปุ๋ยหมักทุกอัตราส่วนทั้งหน่วยทดลอง และควบคุม (Control) มี ปริ มาณ K2O5 ร้ อยละ
0.020 ซึ่งไม่แตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติ โดยการเปลี่ยนแปลงของปริ มาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้
นั้น มาจากกิจกรรมของจุลินทรี ย์ที่มีการใช้ โพแทสเซียมในการเจริ ญเติบโตและสร้างเซลล์ (Chalermchai et al.,
2013) ซึ่งการเพิ่มขึ ้นหรื อลดลงของปริ มาณธาตุอาหารที่เป็ นประโยชน์ในปุ๋ยหมักที่เวลาต่างๆ อาจเป็ นผลมาจาก
อัตราการเกิ ดขบวนการ immobilization และ mineralization ของธาตุอาหารในปุ๋ยหมักได้ ด้วยเช่นกัน (Sophie
and Marstorp, 2002)

สรุ ป
จากการศึกษาปริ มาณธาตุอาหารหลักของพืชในปุ๋ยหมักที่ผลิตจากตะกอนดินโรงผลิตนํ ้าประปาร่ วมกับ
ขยะอินทรี ย์ในอัตราส่วน 1:1, 1:2, 2:1 และชุดควบคุม พบว่า ปริ มาณธาตุอาหารหลักของพืชในปุ๋ยหมักแต่ละ
อัตราส่วนมีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติ โดยปุ๋ยหมักจากตะกอนดินโรงผลิตนํ ้าประปาร่ วมกับชั้น
ขยะอิ น ทรี ย์ อัต ราส่ว น 30:60 กิ โ ลกรั ม โดยนํ า้ หนัก (1:2) มี ป ริ ม าณธาตุอ าหารหลัก ของพื ช มากที่ สุด ได้ แ ก่
ไนโตรเจนทั้งหมด ฟอสฟอรัสที่เป็ นประโยชน์ และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ ร้ อยละ 0.670, 0.006 และ 0.020
ตามลําดับ ตํ่ากว่ามาตรฐานปุ๋ยอินทรี ย์ที่กรมวิชาการเกษตรได้ กําหนดไว้ ในพระราชบัญญัตปิ ๋ ยุ พ.ศ. 2548 ที่มีคา่
ไนโตรเจนทั้งหมด ฟอสฟอรัสที่เป็ นประโยชน์ และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ เท่ากับร้ อยละ 1.0, 0.5 และ 0.5
ตามลําดับ ดังนั้นปุ๋ยหมักที่ผลิตจากตะกอนดินโรงผลิตนํ ้าประปาร่ วมกับขยะอินทรี ย์นั้นจึงเหมาะสมเป็ นเพียง
วัส ดุป ลูก ในทางการเกษตร มี ธ าตุอ าหารหลั ์ ก ของพื ช อยู่ใ นระดับ หนึ่ ง ที่ มี คุณ สมบัติ ส ามารถต้ า นทานการ

ต นปลูกได้ เป็ นอย่างดี
เปลี่ยนแปลงความเป็ นกรดด่าง (buffer)าสของดิ
ษตรศ
เก
ย าลัย กิตติกรรมประกาศ
ผู้วิจยั ขอขอบคุ


าว ณโครงการศึกษาวิจยั และพัฒนาสิ่งแวดล้ อมแหลมผักเบี ้ยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
ม ห
จังหวัดเพชรบุิทรี ัลที่สนับสนุนงบเอื ้อเฟื อ้ สถานที่ในการดําเนินงานวิจยั ขอขอบคุณอาจารย์และเจ้ าหน้ าที่โครงการ
แหลมผัากมเบี รู้ด้ยทุิจ กท่านที่ได้ มีส่วนร่วมอํานวยความสะดวกต่อการทําวิจยั รวมทั้งขอขอบคุณนิสิตระดับปริ ญญาโท
คว ภาควิชาวิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้ อม คณะสิ่งแวดล้ อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่มีส่วนช่วยในการ
รุ่ นลัง40

ดําเนินงานวิจยั ไปได้ ด้วยดี
หมดอายุวันที่ 07-12-2566
เอกสารอ้ างอิง
กรมวิชาการเกษตร. 2548. ประกาศกรมวิชาการเกษตรเรื่ อง มาตรฐานปุ๋ยอินทรี ย์ พ.ศ. 2548. 30 กันยายน
2548.
ประภาพรรณ ซื่อสัตย์. 2548. การใช้ ป๋ ุยหมักจากขยะชุมชนเทศบาลเมืองเพชรบุรีท่ ผี ลิตด้ วยเทคโนโลยี
กล่ องคอนกรีตเป็ นวัสดุปลูกดาวเรื อง. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ,
กรุงเทพฯ.

854
การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 57 สาขาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ปิ ยะมาตร์ กิ่งพุม่ . 2543. การใช้ ตะกอนดินนํา้ ประปาเป็ นวัสดุปลูกทานตะวันกระถาง. ปั ญหาพิเศษ


ปริ ญญาตรี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ.
เพิ่มผล กาญจนามัย. 2546. การใช้ ประโยชน์ ตะกอนจากโรงผลิตนํา้ ประปาบางเขนในอุตสาหกรรม
ก่ อสร้ าง. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ.
ไมตรี แก้ วทับทิม. 2554. ปริ มาณธาตุอาหารพืชในปุ๋ยอินทรี ย์จากการหมักวัสดุอินทรี ย์ตา่ งๆ. ว.วิทย.กษ. 42
(3/1): 479-482.
ศุภมาศ พนิชศักดิพ์ ฒ ั นา, ชัยสิทธิ์ ทองจู และแสงดาว เขาแก้ ว. 2559. มลพิษทางดิน. สํานักพิมพ์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ
เอิบ เขียวรื่ นรมณ์, อัญชลี สุทธิประการ, สุเทพ ทองแพ, พิบลู ย์ กังแฮ, เสาวนุช ถาวรพฤกษ์ , สมชัย อนุสนธิ์พรเพิ่ม,
วิภาวรรณ ท้ ายเมือง, ปริ ศนา เสือแซมเสริ ม และนฤมล จันทร์ จิราวุฒิกลุ . 2544. การศึกษาคุณภาพ
ของตะกอนแยกจากนํา้ ดิบของการประปานครหลวง เพื่อพัฒนาใช้ ประโยชน์ ทางการ
เกษตรกรรมและอุตสาหกรรม. ภาคปฐพีวทิ ยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ.
Conklin, A.R.Jr. 2005. Introduction to Soil Chemistry: Analysis and Instrumentation. Wiley, New
Jersey.
Gunnarsson, S. and H. Marstorp. 2002. Carbohydrate composition of plant materials determines N
mineralization. Nutrient Cycling in Agro ecosystems. 62: 175–183.
Land Development Department. 2000. Analytical Handbook of Chemical Soil Analysis. Ministry of
Agriculture and Cooperatives, Bangkok, Thailand.
Li, R., J.J. Wang, Z. Zhang, F. Shen, G. Zhang, ์ R. Qin, X. Li, R. Xiao. 2012. Nutrient Transformations
during Composting of Pig Manure ส ร
ต with Bentonite. Bioresour Technol. 121: 362–368.
ศ า
Osatapa, Y. 2003. Plant nutrient. ษตรDepartment of Soil Science, Faculty of Agriculture. Kasetsart
เ ก
University, Bangkok.
ย าลัย
Paekum, C., M. Tittayavan า ว ิท and W. Nuangmek. 2013. Screening of Enzymes Activities in Indigenous

ัิทล ม for Water Hyacinth Degradation. 29th National Graduate Research
Microorganism
ม ร ู้ดิจ
Conference: 1078-1083.
คว า
คลัง and Plant Analysis Council. 1999. Soil Analysis Handbook of Reference Method. CRC Press,
Soil
USA.
Soil and Plant Analysis Council. 2000. Soil Analysis: Handbook หมดอายุ วันที่ 07-12-2566
of Reference Methods. CRC Press,
Boca Raton.
Theerajindakajon, P. 2011. Handbook of Soil Chemical Analysis. Khon Kaen University Press, Khon
Kaen, Thailand.

855

You might also like