You are on page 1of 11

1

1.1 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2540) เรือ ่ ง


การกำาจัดสิ่งปฏิกูลหรือ
วัสดุที่ไม่ใช้แล้ว
1.2 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2541) เรือ ่ ง
การกำาจัดสิ่งปฏิกูลหรือ
วัสดุที่ไม่ใช้แล้ว
1.3 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่องการกำาจัดสิ่งปฏิกูล
หรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว (เพิม ่ เติม)
พ.ศ.2547
1.4 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ ่ ง กำาหนดลักษณะของ
นำ้ามันใช้แล้วที่ผ่านกระบวนการ
ปรับคุณภาพและเชื้อเพลิงสังเคราะห์ ทีจ่ ะนำามาใช้เป็นเชือ้
เพลิงในเตาอุตสาหกรรมเพื่อ
ทดแทนนำ้ามันเตา พ.ศ. 2547
1.5 ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรือ ่ ง กำาหนดชนิดและ
ประเภทของเตาอุตสาหกรรมที่นำา
นำ้ามันใช้แล้วที่ผ่านกระบวนการปรับคุณภาพหรือเชือ ้ เพลิง
สังเคราะห์ไปใช้งาน พ.ศ. 2547

2.1 นิยาม
2.2 ข้อยกเว้น

3
-2-

1
1.1 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2540) เรื่อง การกำา จัดสิ่ง
ปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว
เป็นกฎหมายที่ว่าด้วยการกำาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่
ถือว่าเป็นของเสียอันตราย (Hazardous wastes) โดยได้กำาหนดลักษณะและ
คุณสมบัติของวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ถือเป็นของเสียอันตราย พร้อมหลักเกณฑ์
และวิธีการนำาไปกำาจัดอย่างถูกต้องไว้ โดยประกาศฉบับนี้มส ี าระสำาคัญ 3
ประการ คือ
1) ถ้าโรงงานมีวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่มล
ี ักษณะและคุณสมบัติ ตามที่
กำาหนดในภาคผนวกที่ 1 ต้องปฏิบัตต ิ าม ข้อ 2) และ ข้อ 3) คือ
2) ห้ามนำาวัสดุที่ไม่ใช้แล้วออกนอกบริเวณโรงงานจนกว่าจะได้รับ
อนุญาตจากอธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรมหรือผู้ซึ่งอธิบดีกรม
โรงงานอุตสาหกรรมมอบหมายให้นำาไปกำาจัดตามหลักเกณฑ์ที่
ระบุในภาคผนวกที่ 2
3) ต้องแจ้งรายละเอียดของวัสดุที่ไม่ใช้แล้วทั้งทีด ่ ำาเนินการจัดการ
ภายในและทีข ่ นออกไปกำาจัด
ภายนอก ตามแบบ ร.ง. 6 ภายในวันที่ 30 ธันวาคมของทุกปี
และมีรายละเอียดเพิม ่ เติมในภาคผนวก คือ
ภาคผนวกที่ 1 บัญชีลักษณะและคุณสมบัติของสิ่งปฏิกูลหรือ
วัสดุที่ไม่ใช้แล้ว
-3-

ภาคผนวกที่ 2 หลักเกณฑ์และวิธีการกำาจัด

1.2 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบั บ ที่ 1 (พ.ศ. 2541) เรื่อ ง การกำา จั ด สิ่ ง


ปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว
เป็นกฎหมายที่ว่าด้วยการกำาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ไม่
ถือว่าเป็นของเสียอันตราย
(Non-hazardous wastes) โดยได้กำาหนดลักษณะและคุณสมบัตข ิ องวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว
ที่ไม่ถอ
ื เป็นของเสียอันตราย พร้อมหลักเกณฑ์และวิธีการนำาไปกำาจัด
อย่างถูกต้องไว้ โดยประกาศฉบับนี้มส ี าระสำาคัญ 2 ประการ คือ
1) โรงงานทีต ่ ั้งอยู่ในพื้นที่ 14 จังหวัดที่ระบุในประกาศฯ และมีสิ่ง
ปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วทีม ่ ี
ลักษณะและคุณสมบัติ ตามที่กำาหนดในภาคผนวกที่ 1 จะต้อง
ปฏิบัตต ิ าม ข้อ 2 คือ
2) ห้ามนำาวัสดุที่ไม่ใช้แล้วออกนอกบริเวณโรงงานจนกว่าจะได้รับ
อนุญาตจากอธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรมหรือผู้ซึ่งอธิบดีกรม
โรงงานอุตสาหกรรมมอบหมายให้นำาไปกำาจัดตามหลักเกณฑ์ที่
ระบุในภาคผนวกที่ 2
และมีรายละเอียดเพิม ่ เติมในภาคผนวก คือ
ภาคผนวกที่ 1 บัญชีลักษณะและคุณสมบัติของสิ่งปฏิกูลหรือ
วัสดุที่ไม่ใช้แล้ว
ภาคผนวกที่ 2 หลักเกณฑ์และวิธีการกำาจัด

1.3 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกำาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้


แล้ว (เพิ่มเติม) พ.ศ. 2547
เป็นกฎหมายที่ว่าด้วยการกำาจัดวัสดุที่ไม่ใช้แล้วทีไ่ ม่ถือว่าเป็นของ
เสียอันตราย (Non-hazardous waste) โดยให้ถือลักษณะและคุณสมบัติของวัสดุที่
ไม่ใช้แล้ว และหลักเกณฑ์วิธีการนำาไปกำาจัดตามที่กำาหนดไว้ในประกาศ
กระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2541) โดยมีสาระสำาคัญอยู่ที่การเพิ่ม
เติมพื้นที่การบังคับใช้ของประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 1 (พ.ศ.
2541) ให้ครอบคลุมทั่วประเทศ (เพิ่มเติม 62 จังหวัด)
-4-

1.4 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กำาหนดลักษณะของนำ้ามันใช้แล้วที่


ผ่านกระบวนการปรับคุณภาพและเชื้อเพลิงสังเคราะห์ ที่จะนำามาใช้เป็นเชื้อ
เพลิงในเตาอุตสาหกรรมเพื่อทดแทนนำ้ามันเตา พ.ศ. 2547
เป็นกฎหมายที่กำาหนดลักษณะของนำำามันใช้แล้วที่สามารถนำากลับไปใช้ประโยชน์ใหม่ในรูปของ
พลังงานเชืำอเพลิงเพื่อทดแทนนำำามันเตา โดยมีสาระสำาคัญ ดังนีำ
กำาหนดนิยามของนำ้ามันใช้แล้วก่อนการปรับปรุงคุณภาพ (เทียบเท่า
เป็นวัตถุดิบ) และหลังผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพจนได้
ลักษณะตามที่กำาหนดในประกาศกระทรวงฉบับนี้ (เทียบเท่าเป็น
ผลิตภัณฑ์)
กำาหนดให้ผู้ผลิตนำ้ามันใช้แล้วที่ผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพ
หรือเชื้อเพลิงสังเคราะห์ที่จะนำาไปใช้เป็นพลังงานทดแทนต้องเป็น
ผู้ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการโรงงานลำาดับที่ 106 เท่านั้น
กำา หนดแหล่งที่สามารถนำา นำ้า มันใช้แล้วที่มีลักษณะตามที่ กำา หนด
ในประกาศกระทรวงฉบับนี้ไปใช้งานได้

1.5 ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง กำาหนดชนิดและประเภทของเตา


อุตสาหกรรมที่นำานำ้ามันใช้แล้วที่ผ่านกระบวนการปรับคุณภาพหรือเชื้อเพลิง
สังเคราะห์ไปใช้งาน พ.ศ. 2547
เป็นกฎหมายที่กำาหนดชนิดและประเภทของเตาอุตสาหกรรมที่สามารถนำานำำามันใช้แล้วที่ผ่าน
กระบวนการปรับปรุงคุณภาพหรือเชืำอเพลิงสังเคราะห์ไปใช้งานได้ ซึ่งมีอยู่ 5 ประเภท ดังนีำ
1. เตาอุตสาหกรรมที่ใช้ในกระบวนการผลิตของโรงงาน ประเภท
โรงงานลำาดับที่ 59
2. เตาอุตสาหกรรมที่ใช้ในกระบวนการผลิตของโรงงาน ประเภท
โรงงานลำาดับที่ 60
3. เตาอุตสาหกรรมที่ใช้ในกระบวนการผลิตของโรงงาน ประเภท
โรงงานลำาดับที่ 88
4. อุ ป กรณ์ ใ ห้ ค วามร้ อ นที่ ใ ช้ ใ นกระบวนการผลิ ต ของโรงงาน
ประเภทโรงงานลำาดับที่ 57(1)
5. หม้อไอนำ้า (boiler) ในกระบวนการผลิตทั่วไป
-5-

2.1 คำา จำา กั ด ค ว า ม ข อ ง “ สิ่ ง ป ฏิ กู ล ห รื อ วั ส ดุ ที่ ไ ม่ ใ ช้ แ ล้ ว จ า ก ภ า ค


อุตสาหกรรม”
“สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วจากภาคอุตสาหกรรม (Industrial wastes)”
หมายถึง วัสดุ หรือ สิ่งใดๆ ทีเ่ กิดจากการประกอบกิจการโรงงาน
อย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้
1. กาก หรือส่วนที่เหลือจากการผลิต หรือการใช้งานที่ไม่ได้กำาหนด
ไว้ในข้ออื่น
2. ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้คณ ุ ภาพ หรือไม่เป็นไปตามข้อกำาหนด
3. ผลิตภัณฑ์ที่หมดอายุการใช้งาน
4. วัสดุ หรือสิ่งใดๆ ที่ปนเปื้อน หกหล่น หรือเสียหาย เนื่องจาก
อุบัติเหตุ หรือการใช้งานผิดวัตถุประสงค์
5. วัสดุ หรือสิ่งใดๆ ที่ปนเปื้อน หรือสกปรก เนื่องจากการใช้งานใน
ภาวะปกติ เช่น ผ้าที่ปนเปื้อนนำ้ามันหรือสารเคมีเนื่องจากการเช็ด
ทำาความสะอาด ภาชนะบรรจุหรือบรรจุภณ ั ฑ์ที่ปนเปื้อนสารเคมี
6. วัสดุ ชิ้นส่วน หรือผลิตภัณฑ์ที่ไม่สามารถใช้งานได้ เช่น
แบตเตอรี่เสีย สารเร่งปฏิกิริยาที่เสื่อมสภาพ
7. สารใดๆ ซึ่งขาดคุณสมบัติเดิม เนื่องจากผ่านการใช้งาน เช่น กรด
หรือตัวทำาละลายที่ถูกปนเปื้อน เกลือเคมีที่ใช้ในการชุบผิวเหล็ก
ซึ่งเสื่อมสภาพแล้ว
8. กาก หรือส่วนทีเ่ หลือจากกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรม เช่น
ตะกรัน ตะกอนจากเครือ ่ งกลั่น
9. กาก หรือส่วนที่เหลือจากกระบวนการบำาบัด หรือกำาจัดมลพิษ
เช่น ฝุ่นหรือตะกอนจากระบบบำาบัดมลพิษทางอากาศ ตัวกรองที่
ใช้งานแล้ว
10. กาก หรือส่วนที่เหลือจากกระบวนการขึ้นรูป ขัดเกลา หรือ
ตกแต่ง เช่น เศษจากการกลึง ไส เจาะ หรือ รีดโลหะ
11. กาก หรือส่วนที่เหลือจากกระบวนการกลั่น สกัด วัตถุดิบใดๆ
หรือกระบวนการแยกแต่งสินแร่ เช่น กากแร่ หางแร่ กากนำ้ามัน
จากแหล่งขุดเจาะ
12. วัสดุทถ ี่ ก
ู ทำาให้คณ
ุ ภาพเสือ ่ มลง เช่น นำ้ามันทีถ ่ ก
ู ปนเปือ ้ นด้วย
สารประกอบโพลีคลอริเนทเตดไบฟีนิล
13. วัสดุ สาร หรือผลิตภัณฑ์ใดๆ ซึ่งกฎหมายประกาศห้ามใช้
-6-

14. ผลิตภัณฑ์ใดๆ ซึ่งไม่ตอ


้ งการใช้งานอีกต่อไป
15. วัสดุ สาร หรือผลิตภัณฑ์ใดๆ ทีถ่ ูกปนเปื้อนจากการจัดการแก้ไข
ปัญหามลพิษจากโรงงาน เช่น การฟื้นฟูสภาพดิน
16. วัสดุ สาร หรือผลิตภัณฑ์ใดๆ ทีก
่ รมโรงงานอุตสาหกรรมกำาหนด

ทัง้ นี้ สิง่ ปฏิกล


ู หรือวัสดุทไี่ ม ใช แล วข้างต้น ต้องเป็นวัสดุซงึ่ ผูป
้ ระกอบกิจการ
โรงงานมีความประสงค์จะดำาเนินการกำาจัด ได้แก่ การทิ้ง บำาบัด ทำาลาย
ฤทธิ์และกำาจัด จำาหน่ายจ่ายแจก แลกเปลี่ยน หรือนำากลับไปใช้ประโยชน์
ใหม่ในรูปแบบต่างๆ ตลอดจนการใช้บริการการดำาเนินการต่างๆ ดังกล่าว
ของบุคคลอื่นแทน หรือเป็นวัสดุซึ่งผู้ประกอบกิจการโรงงานจัดเก็บหรือ
สะสมไว้เพื่อการดำาเนินการใดๆ ดังกล่าวข้างต้น
2.2 ข้อยกเว้น
สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องขออนุญาต
นำาออกนอกบริเวณโรงงานมีดังนี้
ขยะทัว ่ ไป (พรบ. สาธารณสุข พ.ศ. 2535) เช่น ขยะจากอาคารสำานักงาน
โรงอาหาร บ้านพักคนงาน
ขยะติดเชือ ้ (พรบ. สาธารณสุข พ.ศ. 2535) เช่น ขยะติดเชือ้ จากห้องปฏิบัติ
การ ห้องพยาบาล
ของเสียทีม ่ ีกัมมันตภาพรังสี (พรบ. ปรมาณูเพื่อสันติ พ.ศ. 2504)
ทั้งนี้ กรณีที่โรงงานตั้งอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบของการนิคม
อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จะต้องขออนุญาตนำาขยะทั่วไป (ในข้อ 1)
ออกนอกบริเวณโรงงานทีส ่ ำานักงานการนิคมอุตสาหกรรมนั้นๆ อย่างไร
ก็ตาม แม้จะได้รับการยกเว้นไม่ต้องขออนุญาตนำาออกนอกโรงงานไป
กำาจัดตามกฎหมายโรงงาน โรงงานจะต้องดำาเนินการกำาจัดวัสดุที่ไม่ใช้
แล้วดังกล่าวให้เป็นไปตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง และไม่ก่อให้เกิดผลก
ระทบต่อสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อม

3.1 ตรวจสอบการกระบวนการผลิตของโรงงาน โดยจะต้องบันทึกข้อมูลประเภทของสิ่งปฏิกูลหรือ


วัสดุที่ไม่ใช้แล้ว แหล่งที่มาหรือกระบวนการผลิตที่ก่อให้เกิดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พร้อมทัำงบันทึก
ปริมาณที่เกิดขึำน
3.2 ตรวจสอบส่วนสนับสนุนการผลิต ได้แก่ ระบบบำาบัดนำ้าเสีย
ระบบบำาบัดมลพิษอากาศ งานซ่อมบำารุง อาคารจัดเก็บสารเคมี ส่วนการ
-7-

ผลิตไอนำ้า และบำาบัดนำ้าใช้ เป็นต้น โดยจะต้องบันทึกข้อมูลประเภทของ


สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว แหล่งที่มาหรือกิจกรรมที่ก่อให้เกิดสิ่งปฏิกูล
หรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พร้อมทั้งบันทึกปริมาณที่เกิดขึ้น
3.3 ตรวจสอบการจัดเก็บและรวบรวมสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว
โดยต้องพิจารณาในประเด็นต่างๆ ดังนี้
- มีการคัดแยกสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วหรือไม่ มีการ
แยกจัดเก็บอย่างเหมาะสมหรือไม่อย่างไร (อันตรายกับไม่
อันตราย)
- มีภาชนะบรรจุที่เพียงพอหรือไม่ วัสดุของภาชนะบรรจุ
เหมาะสมกับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วหรือไม่ เช่น
กรณีเป็นสารเคมีที่ใช้งานแล้ว
- ภาชนะบรรจุมีการปิดอย่างมิดชิด มีการรั่วไหล หกหล่น
หรือไม่ อย่างไร

- อาคารหรือสถานทีจ ่ ัดเก็บเหมาะสมหรือไม่ อย่างไร (ทำาเล


ความมั่นคงแข็งแรง มีหลังคา ปกคลุม เพื่อป้องกันไม่ใช้สิ่ง
ปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วสัมผัสกับนำ้าฝนหรือไม่)
- สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วประเภทสารเคมี มีข้อมูล
ความปลอดภัย (MSDS) หรือไม่
- มีการเตรียมความพร้อมกรณีทเี่ กิดเหตุการณ์ฉุกเฉินหรือ
ไม่ อย่างไร
ฯลฯ
3.3 ตรวจสอบการกำาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว โดยให้
พิจารณาประเด็นต่างๆ เช่น
- มีการขออนุญาตนำาออกไปกำาจัดนอกโรงงานอย่างถูกต้อง
หรือไม่ อย่างไร (ตรวจสอบใบอนุญาตนำาสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุ
ที่ไม่ใช้แล้วออกนอกโรงงาน)
- มีการส่งสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วตามที่ได้รับอนุญาต
ไปกำาจัดจริงหรือไม่ อย่างไร (ตรวจสอบใบกำากับการขนส่ง
(Manifest) ว่ารายการสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่นำาออก
ผู้รับบำาบัดหรือกำาจัด ถูกต้องตามใบอนุญาตหรือไม่
ปริมาณสอดคล้องที่นำาออกสอดคล้องกับใบอนุญาตหรือไม่)
- หากมีการฝังกลบสิง่ ปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วตาม
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2541) ภายใน
-8-

บริเวณโรงงาน ให้ตรวจสอบว่าได้รับความเห็นชอบจากรม
โรงงานอุตสาหกรรมหรือไม่ อย่างไร หากได้รับความเห็น
ชอบแล้ว มีการปฏิบัตต ิ ามเงื่อนไขหรือไม่ อย่างไร
- หากมีการเผาสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วตามประกาศ
กระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2541) ภายใน
บริเวณโรงงาน มีการตรวจสอบค่ามาตรฐานของมลสาร
ที่ระบายออกจากปล่อง (Stack emission standards) ให้เป็นไปตาม
ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
เรือ
่ ง กำาหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียจาก
เตาเผามูลฝอย ลงวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2540 หรือไม่
- การกำาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วตามประกาศ
กระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2541) ด้วยวิธีการอื่นๆ
ต้องได้รับความเห็นชอบจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม
- การกำาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วตามประกาศ
กระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 6(พ.ศ. 2540) ทุกวิธต ี ้องได้รับ
ความเห็นชอบจากอธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรมหรือ
ผู้ซึ่งอธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรมมอบหมาย

4.1 สิง่ ปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ไม่อันตรายจะต้องไม่มีการ


ปนเปื้อน หรือผสม หรือปะปนอยู่กับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็น
อันตราย
4.2 สิง่ ปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่มล
ี ักษณะหรือคุณสมบัตต ิ าม
หมวด 2 ข้อ 3.1 ถึง 3.15 ของประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 1 (พ.ศ.
2541) เรือ
่ ง การกำาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ต้องพิจารณารายงาน
ผลวิเคราะห์ด้วยวิธีสกัดสาร (Leachate extraction procedure) ซึ่งสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่
ไม่ใช้แล้วดังกล่าวจะต้องมีปริมาณโลหะหนักหรือวัตถุมีพิษในนำ้าสกัด
-9-

น้อยกว่าทีก ่ ำาหนดไว้ในข้อ 5 ของภาคผนวกที่ 1 ของประกาศ อก. ฉบับที่ 6 (


พ.ศ. 2540) เรือ
่ ง การกำาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว
4.3 วิธีการกำาจัด
01 ฝังกลบตามหลักสุขาภิบาล ได้แก่ การนำาไปฝังกลบในหลุม
ฝังกลบแบบ Sanitary Landfill (สิง่ ปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ไม่เป็นของเสีย
อันตรายเท่านั้น) โดยเป็นการส่งกำาจัดที่โรงงาน 105 ฝังกลบของเสียไม่
อันตราย หรือเป็นการฝังกลบภายในบริเวณโรงงานเอง ซึ่งหลุมฝังกลบ
ดังกล่าวต้องได้รับความเห็นชอบจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมแล้ว
02 คัดแยก ใช้เฉพาะสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ไม่เป็นของ
เสียอันตรายเท่านั้น เศษชิ้นส่วนพืชหรือสัตว์ เศษไขมันสัตว์
นำ้ามันสัตว์ นำ้ามันพืช โดยเป็นการส่งกำาจัดที่โรงงาน 105 คัดแยก
03 นำากลับไปใช้ประโยชน์ใหม่ ได้แก่ การนำากลับไปใช้
ประโยชน์ใหม่ ไม่ว่าจะเป็นในรูปของการ recycle recovery หรือ reuse โดย
เป็นการส่งไปบำาบัดในโรงงาน 106 หรือโรงงานลำาดับอื่นๆ เช่นโรงงานบด
ย่อยพลาสติก โรงงานอัดเศษโลหะ
04 เป็นเชื้อเพลิงทดแทน ได้แก่ การนำาไปใช้เป็นเชื้อเพลิง
ทดแทนในเตาเผาปูนซิเมนต์ ซึ่งเป็นโรงงาน 101 หรือเตาเผาอุตสาหกรรม
ต่างๆ
05 เป็นวัตถุดิบทดแทน ได้แก่ การนำาไปเผาในเตาเผาปูนซิ
เมนต์ ซึ่งเป็นโรงงาน 101 เพื่อเป็นวัตถุดิบทดแทน หรือโรงงานลำาดับอื่นๆ
ที่สามารถนำาของเสียดังกล่าวไปใช้เป็นวัตถุดิบทดแทนในกระบวนการ
ผลิตได้จริง
06 เผาทำาลาย เป็นการส่งไปกำาจัดในโรงงาน 101 ซึ่งเป็นเตา
เผาขยะอุตสาหกรรมเฉพาะประเภท หรือหากเป็นการเผาทำาลายสิง่
ปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ไม่เป็นของเสียอันตรายภายในบริเวณ
โรงงานจะต้องดำาเนินการควบคุมค่ามาตรฐานของมลสารทีร ่ ะบายออก
จากปล่องให้เป็นไปตามประกาศของกระทรวงวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำาหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้ง
อากาศเสียจากเตาเผามูลฝอย ลงวันที่ 17 มิถุนายน 2540 ทั้งนี้ หากเป็นการ
เผาทำาลายสิง่ ปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นของเสียอันตรายภายใน
บริเวณโรงงานต้องได้รับความเห็นชอบจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม
07 ถมทะเลหรือที่ลุ่ม ได้แก่ การนำาไปถมที่ หรือเป็นสาร
ปรับปรุงคุณภาพดิน (สำาหรับ สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ไม่
เป็นของเสียอันตราย เท่านั้น)
- 10 -

08 การหมักทำาปุ๋ย ได้แก่ การนำาไปทำาปุ๋ย หรือเป็นส่วนผสม


ของปุ๋ย (สำาหรับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ไม่เป็นของเสียอันตราย
เท่านั้น)
09 ทำาอาหารสัตว์ ได้แก่ การนำาไปเป็นอาหารสัตว์ หรือไปใช้
เป็นวัตถุดิบในการทำาอาหารสัตว์ (สำาหรับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่
ไม่เป็นของเสียอันตรายเท่านั้น)
10 ฝังกลบอย่างปลอดภัย ได้แก่ การนำาเอาวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่
เป็นของเสียอันตรายทีอ ่ ยู่ในรูปที่คงตัว (เสถียร) ไปฝังกลบในหลุมฝังกลบ
แบบ Secure Landfill โดยไม่ตอ ้ งนำาไปปรับเสถียรก่อน โดยอาจส่งกำาจัดโดย
โรงงาน 105 ฝังกลบของเสียอันตราย หรือเป็นการฝังกลบภายในบริเวณ
โรงงานเอง ซึ่ง หลุมฝังกลบดังกล่าวต้องได้รับความเห็นชอบจากกรม
โรงงานอุตสาหกรรมแล้ว
11 ปรับเสถียรและฝังกลบอย่างปลอดภัย ได้แก่ การนำาเอาสิ่ง
ปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ที่เป็นของเสียอันตรายที่ตอ ้ งนำาไปปรับเสถียร
เพื่อทำาลายฤทธิ์และให้อยู่ในรูปที่คงตัว (เสถียร) ก่อนนำาไป ฝังกลบ
ในหลุมฝังกลบแบบ Secure Landfill ก่อน โดยอาจส่งกำาจัดโดยโรงงาน 105 ฝัง
กลบของเสียอันตราย หรือเป็นการฝังกลบภายในบริเวณโรงงานเอง ซึ่ง
หลุมฝังกลบดังกล่าวต้องได้รับความเห็นชอบจากกรม โรงงาน
อุตสาหกรรมแล้ว
12 ทำาเชื้อเพลิงผสม ได้แก่ การนำาเอาสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้
แล้วมาผ่านกระบวนการปรับคุณภาพ หรือผสมกันเพื่อให้เป็นเชื้อเพลิง
สังเคราะห์ ซึ่งเป็นการส่งกำาจัดโรงงาน 106 หรือโรงงานที่เพิ่มประเภทเป็น
โรงงาน 106 ทำาเชื้อเพลิงผสม
13 บำาบัดนำ้าเสียทางเคมี ฟิสิกส์ ได้แก่ การนำาเอาสิ่งปฏิกูลหรือ
วัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็น ของเหลว (Liquid waste or aqueous waste) หรือนำ้า
เสีย (Wastewater) ไปบำาบัดทางเคมีหรือฟิสิกส์ เพื่อทำาลายฤทธิ์
14 บำาบัดและส่งเผาเตาปูนซิเมนต์ ได้แก่ การนำาสิ่งปฏิกูลหรือ
วัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ต้องผ่านกระบวนการปรับสภาพก่อนเพื่อให้อยู่ในรูปที่
สามารถนำาไปเผาทำาลายในเตาเผาปูนซิเมนต์ได้ โดยเตาเผาปูนซิเมนต์ดัง
กล่าวต้องเป็นโรงงาน 101
15 รวบรวมส่งออกนอกประเทศ ได้แก่ การรวบรวมสิ่งปฏิกูล
หรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วเพื่อการส่งออกไปจัดการนอกประเทศเท่านัน ้ หากเป็น
วัตถุอนั ตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอน ั ตราย จะต้องดำาเนินการขอ
- 11 -

อนุญาตส่งออกวัตถุอันตราย หากเป็นของเสียอันตรายตามอนุสัญญาบา
เซล จะต้องปฏิบัตต ิ าม ขัน
้ ตอนของอนุสัญญาบาเซล
16 ส่งกลับผู้ขาย ได้แก่ กรณีของวัสดุที่ไม่ใช้แล้วจำาพวก สาร
เคมีต่างๆ ทีม
่ ีการส่งกลับคืนภาชนะบรรจุให้กลับผู้ขาย
17 นำากลับไปบรรจุใหม่ หรือใช้ซำ้า ได้แก่ วัสดุที่ไม่ใช้แล้ว
จำาพวกภาชนะบรรจุในกรณีที่มีการนำากลับไป refill หรือ นำาไปใช้ซำ้าโดยไม่
ต้องผ่านกระบวนการล้างใดๆ
18 อื่นๆ(ระบุ)………………..

4.4 การกำาจัดหรือบำาบัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วต้องขอ
อนุญาตนำาออกไปกำาจัด/บำาบัดนอกโรงงานจากอธิบดีกรมโรงงาน
อุตสาหกรรมหรือผู้ซึ่งอธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรมอบหมาย หรือหาก
กำาจัด/บำาบัดเองในโรงงานต้องได้รับความเห็นชอบจากกรมโรงงาน
ยกเว้นการเผาสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วตามประกาศกระทรวง
อุตสาหกรรม ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2541) (ของเสียไม่อันตราย) ภายในบริเวณ
โรงงาน แต่จะต้องมีการตรวจสอบค่ามาตรฐานของมลสารที่ระบายออก
จากปล่อง (Stack emission standards) ให้เป็นไปตามประกาศกระทรวง
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำาหนดมาตรฐานควบคุม
การปล่อยทิ้งอากาศเสียจากเตาเผามูลฝอย ลงวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2540

You might also like