You are on page 1of 4

การจัดการสิ่งปฏิกูลและวัสดุที่ไมใชแลวในประเทศที่พัฒนาแลว

นางสาวศิรกาญจน เหลืองสกุล
สํานักโรงงานอุตสาหกรรมรายสาขา 6
การจัดการเศษซากและวัสดุเหลือใชในประเทศที่พัฒนาแลว ไดพัฒนาจากแนวคิดเดิมที่
เนนการกําจัดโดยวิธีฝงกลบ มาเปนการบริหารจัดการ โดยลดปริมาณเศษซาก และเพิม่ ปริมาณการนํา
วัสดุกลับมาใชใหม เนื่องจากเกิดปญหาผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากหลุมฝงกลบเกา ปริมาณขยะที่เพิ่ม
สูงขึ้น และการขาดแคลนพืน้ ที่หลุมฝงกลบที่เหมาะสม
จากแนวคิดดังกลาวประกอบกับปญหาที่เกิดขึ้นและความตระหนักในการรักษา
สิ่งแวดลอมและคุณภาพชีวิตของประชาชน กลุมประเทศสหภาพยุโรปไดออกกฎระเบียบ (EU directives) มา
เปนระยะ ๆ ตัง้ แต (1) การตัง้ ขอกําหนดลดปริมาณซากที่ยอยสลายไดลงหลุมฝงกลบ (Landfill
Directive) เพื่อลดการเกิดกาซมีเทนซึ่งเปนกาซเรือนกระจก รวมถึงขอหามฝงกลบซากขยะอันตรายรวม
กับขยะไมอันตราย และขอหามฝงยางลอรถยนต (2) ขอกําหนดการบําบัดซากขยะทีย่ อยสลายไดดว ยวิธี
ทางชีวภาพ (Directive on The Biological Waste) เพื่อสนับสนุนขอกําหนดการลดปริมาณขยะลงหลุมฝง
กลบ
(3) ขอกําหนดปริมาณสารเจือปนในอากาศจากเตาเผาขยะไมอันตราย (Incineration Directive)
(4) ขอกําหนดการลดปริมาณขยะบรรจุภณ ั ฑ (Packaging and Packaging Waste Directive)
(5) ขอกําหนดการจัดการซากยานพาหนะ (End-of-Life Vehicle Directive) (6) ขอกําหนดการเรียกเก็บ
ซากและการกําจัดซากอุปกรณไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส (Waste Electrical and Electronic Equipment
Directive, WEEE) (7) ขอกําหนดปริมาณสารเจือปนในผลิตภัณฑ (Directive on Restriction of Use of
Certain Hazardous Substances in Electrical and Equipment, RoHS) นอกจากนี้สหภาพยุโรปไดนํา
หลักการกําหนดความรับผิดชอบของผูผลิต (Producer Responsibility Obligations) มาใชกับการจัดการ
ซากบรรจุภัณฑ และตอมาไดใชกับการจัดการซากอุปกรณไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส โดยจํากัดปริมาณ
สารอันตรายที่ผสมอยูในผลิตภัณฑและใหผูผลิตจัดเก็บและจัดการกับซากที่เก็บได เพือ่ เปนการกระตุน
ให
ผูผลิตลดปริมาณการใชบรรจุภณ ั ฑ และมีการออกแบบใหงายตอการนํากลับมาไปใชใหม (Eco –
design) และการจัดการซากที่เกิดขึ้น
ประเทศที่พัฒนาแลวอื่น ๆ เชน ประเทศญีป่ ุน และรัฐแคลิฟอรเนีย แหงสหรัฐอเมริกา
ก็ประสบปญหาในลักษณะเดียวกันกับสหภาพยุโรป ประกอบกับเหตุการณรุนแรงที่เกิดจากการขาดการ
จัดการกากของเสียอันตรายที่เหมาะสม ทําใหประชาชนเดือดรอน ทําใหประชาชนเรียกรองการกระตุน
จิตสํานึกของผูประกอบการในการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม การยกระดับมาตรฐานเพื่อสุขภาพอนามัย
ประชาชน และการแกปญหาการจัดการซากที่มีปริมาณสูงขึ้น จึงไดมกี ารออกกฎระเบียบที่คลายคลึงกัน
นอกจากจะเพือ่ เปนการยกระดับมาตรฐานเพื่อสุขอนามัยประชาชนแลว ยังเปนการจัดการปญหาซาก
ตั้งแตนําเขาผลิตภัณฑ และลดความเปนอันตรายของผลิตภัณฑนั้นรวมถึงยกระดับตลาด และกันไมให
สินคาที่กอใหเกิดภาระการจัดการสูงเขาประเทศดวย นอกจากนีป้ ระเทศจีนไดออกกฎระเบียบ WEEE
และ RoHS ตามกลุมกับสหภาพยุโรป เพื่อปรับตลาดและรองรับอุตสาหกรรมรีไซเคิลที่จะขยายตัวใน
อนาคต

การจัดการสิ่งปฏิกูลและวัสดุที่ไมใชแลวในประเทศญี่ปุน
ประเทศญี่ปุนมีลักษณะเปนเกาะพืน้ ที่สวนใหญเปนเขา มีพื้นที่เหมาะสมสําหรับอยู
อาศัยเพียง 10% เทานั้น สําหรับประชากรที่มีอยูหนาแนนถึง 127 ลานคน การขาดแคลนพื้นที่ที่
เหมาะสมสําหรับหลุมฝงกลบจึงเปนปจจัยหลักในการผลักดันนโยบายการจัดการขยะของประเทศญี่ปุน
โดยสงเสริมการลดปริมาณขยะ (Reduction) การนํากลับมาใชใหม (Recycling) เพือ่ ลดปริมาณขยะที่
ตองถูกกําจัดโดยการฝง การกําจัดขยะที่ผาทําลายไดจะถูกกําจัดในเตาเผาทั้งเพื่อทําลายอยางเดียวและ
เพื่อเอาพลังงานกลับมาใช กฎหมายทีใ่ ชอยูภายใตกฎหมายวาดวยการกําจัดป 1970 (Disposal Law
1970) ซึ่งแยกขยะออกเปน 2 ประเภท คือ ขยะอุตสาหกรรมและขยะทัว่ ไป ผูกอกําเนิดขยะอุตสาหกรรม
ทั้งภาคธุรกิจและภาคอุตสาหกรรมเปนผูรับผิดชอบในการนําขยะไปกําจัดใหถูกตองโดยองคการบริหาร
สวนทองถิ่นระดับเขต (Prefecture government) เปนผูควบคุมการอนุญาตกอสรางหรือแกไขปรับปรุง
สถานกําจัดและบําบัดขยะอุตสาหกรรม ปริมาณขยะอุตสาหกรรมประเมินวามี 400 ลานตันตอป
ประกอบดวยขยะจากอุตสาหกรรมเหล็กและโลหะ ของเสียจากสัตว เศษกากตะกอน กากเหมืองแรและ
การกอสรางเปนสวนใหญ ประมาณ 50% ของขยะอุตสาหกรรมถูกผานการบําบัดขัน้ กลาง นอกจากนี้
สวนใหญถูกนํากลับมาใชใหม และสวนทีเ่ หลือถูกนําไปฝงกลบ
การจัดการสิ่งปฏิกูลและวัสดุที่ไมใชแลวในประเทศสหรัฐอเมริกา
รัฐบาลกลางโดยองคกรพิทกั ษสิ่งแวดลอม (Environmental Protection Agency, EPA)
ไดออก พ.ร.บ. วาดวยทรัพยากร การอนุรักษและการพื้นฟูในป 1976 (Resource, Conservation and
Recovery Act, RCRA 1976) ซึ่งมีบทวาดวยการฝงกลบขยะ โดยใหหนวยงานของแตละรัฐเปนผูบังคับ
ใชกฏหมายและมีอํานาจออกกฏหมายที่มีความเขมงวดกวาได นอกจากนี้หนวยงานของแตละรัฐเปนผู
ออกกฎระเบียบเพื่อกํากับดูแลสถานประกอบการนําวัสดุกลับคืน (material recovery facilities) ระบบ
การเรียกเก็บและการนํากลับมาใชหมุนเวียน โรงทําปุย หรือสถานีขนถายที่ไมมีกฎหมายกลางกําหนดไว
ปริมาณขยะอุตสาหกรรม 400 ลานตันที่เกิดขึ้นในแตละปเกิดจากจากอุตสาหกรรมเคมี
เกษตรเคมี เหล็กและโลหะ สถานีไฟฟา พลาสติกและเรซิ่นเปนสวนใหญ และมีสว นนอยมาจาก
อุตสาหกรรมกระดาษ อาหาร และการทอ การจัดการขยะอุตสาหกรรมภายในสถานประกอบการยังเปน
ที่นิยม ถาหากมีการนําออกนอกโรงงานก็จะถูกกําจัดโดยการฝงกลบเปนสวนใหญ นอกจากนีย้ ังมีเศษ
ซากจากการกอสรางและการทําลายอาคารอีกมากกวา 135 ลานตันตอปซึ่งโดยสวนใหญถูกนําไปฝงกลบ
รวมกับขยะชุมชนและไปยังหลุมฝงกลบสําหรับเศษซากจากการทําลายอาคารโดยเฉพาะ
การพึ่งพาการกําจัดโดยวิธีฝง กลบที่มากเกินไปทําใหเกิดปญหาขาดแคลนพื้นที่ฝงกลบ
ในบางพื้นที่ องคกรพิทักษสงิ่ แวดลอมจึงออกนโยบายการจัดการขยะโดยใหเปนไปตามลําดับดังนี้
(1) ลดปริมาณที่แหลงกําเนิด (2) นํากลับมาใชซ้ํา (3) หมุนเวียนวัสดุนํากลับมาใชใหม (4) การเผาเพื่อเอา
พลังงาน และทางสุดทายคือ (5) การฝงกลบ หนวยงานของแตละรัฐไดตอบสนองนโยบายนี้โดยสงเสริม
ใหชุมชนแยกขยะเพื่อการรีไซเคิล และจัดตั้งสถานประกอบการนําวัสดุกลับคืน โดยมีตลาดวัสดุ
หมุนเวียนที่สําคัญคือ อลูมิเนียม โลหะ และกระดาษ
การจัดการสิ่งปฏิกูลและวัสดุที่ไมใชแลวในประเทศอังกฤษ
รัฐบาลอังกฤษไดออก พ.ร.บ.คุมครองสิ่งแวดลอมในป 1990 (Environmental
Protection Act 1990) ซึ่งมีขอระบุเกี่ยวกับ กระบวนการทางอุตสาหกรรมซึ่งรวมถึงการเผาขยะ และขอ
ระบุการกําจัดขยะบนบกซึ่งรวมถึงการฝงกลบ ใน พ.ร.บ.นี้ควบคุมขยะจากบานเรือน อุตสาหกรรม และ
การคา ในป 1995 ไดกอตั้งองคกรพิทักษสงิ่ แวดลอมขึ้นโดยมีหนาที่ออกใบอนุญาตสําหรับโรงงาน
กําจัด กักเก็บ ขนถาย และบําบัดขยะรวมถึงหลุมฝงกลบ และกําหนดหนาที่ความรับผิดชอบของ
ผูประกอบการเตาเผาขยะ เกีย่ วกับการประกอบกิจการ การปลอยสาร ระดับการปลอยสารมลพิษ เปนตน
เตาเผาขยะขนาดเล็ก เชน เตาเผาขยะติดเชือ้ เตาเผาภายในโรงงาน และเตาเผากากตะกอนจากระบบน้ํา
เสีย ถูกควบคุมดูแลโดยองคการปกครองสวนทองถิ่นในการปลอยมลพิษทางอากาศ สวนหลุมฝงกลบ
ถูกควบคุมโดยองคกรพิทักษสิ่งแวดลอมภายใตการออกใบอนุญาตการจัดการขยะ ซึ่งการตรวจสอบ
ติดตามการประกอบกิจการและผลกระทบตอสิ่งแวดลอม อายุหลุมฝงกลบ และการดูแลหลังปดคลุม
หลุมถาวรซึ่งเปนสวนหนึ่งของเงื่อนไขในใบอนุญาต
ในอังกฤษมีการใชหลักการหนาที่ความรับผิดชอบ (duty of care) ในการดําเนินการ
เพื่อใหเกิดความมั่นใจวามีการเก็บรักษา ขนยายและจัดการขยะอยางปลอดภัยโดยบุคคลที่ไดรับอนุญาต
ไปยังสถานทีส่ ําหรับขยะที่เกิดจากอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจ ปริมาณขยะอุตสาหกรรมที่เกิดขึ้นใน
อังกฤษและเวลสมีประมาณ 50 ลานตันตอปและจากภาคธุรกิจ 25 ลานตันตอป มากกวา 85% ของขยะ
อุตสาหกรรมทั่วไปถูกนําไปฝงกลบ นอกนั้นถูกนําไปเผา บําบัดหรือนํากลับมาใชใหม
การจัดการสิ่งปฏิกูลและวัสดุที่ไมใชแลวในประเทศเยรมนี
ประเทศเยรมนีแยกการดูแลมลพิษดินออกเปนสองสวนภายใต พ.ร.บ.คุมครองดิน และ
พ.ร.บ.การจัดการขยะ โดยองคกรพิทักษสงิ่ แวดลอม (Umwelt Bundes Amt) เปนผูออกกฎระเบียบ วาง
นโยบาย และสนับสนุนการวิจัยเพื่อหาแนวทางการบําบัดใหม ๆ ที่มีประสิทธิภาพและมีคาการ
ดําเนินการต่ําเพื่อเผยแผกับประชาชน ซึ่งหนวยงานทองถิ่นประจํารัฐเปนผูปฏิบัติและบังคับใชกฎหมาย
นอกจากนี้ประเทศเยรมนียังไดนําหลักการการประกันภัยสิ่งแวดลอมมาใช และผูประกอบการไดมที ํา
ประกันภัยสิ่งแวดลอมโดยสมัครใจ
ปริมาณขยะชุมชนในเยรมนีมีประมาณ 44 ลานตันตอป ขยะจากการผลิต 48 ลานตันตอ
ป กากจากการทําเหมืองแร 57 ลานตันตอป เศษซากจากการกอสรางและการทําลายอาคารรวมถึงการขุด
ดินที่ตองกําจัดอีกมากกวา 230 ลานตันตอป ขยะอันตราย 19 ลานตันตอป ซึ่งขยะอันตรายประมาณ 60%
ถูกสงออกไปกําจัดภายนอก นอกนั้นประมาณ 40% ถูกกําจัดภายในสถานประกอบการ ขยะไมอนั ตราย
สวนใหญประมาณ 50% ถูกกําจัดโดยการฝงกลบและมีแนวโนมที่จะกําจัดดวยวิธีนลี้ ดลงเรื่อยๆ แตการ
บําบัดและการนํากลับมาใชใหมมีแนวโนมสูงขึ้นเรื่อยๆ โดยกําจัดในเตาเผา 10% ยอยทําปุย 7% และ
กําจัดดวยวิธีอนื่ ๆ เชน บําบัดดวยวิธีเคมี/กายภาพ บดยอย เขาโรงบําบัดดิน บําบัดทางกลและชีวภาพ
17% นอกจากนี้ประเทศเยรมนียังมีการนําเขาและสงออกของเสียขามแดนเพื่อการกําจัดและนํากลับมา
ใชใหม

อางอิง: Williams, Paul T., “Waste Treatment and Disposal”, 2nd edition, John Wiley & Sons, Ltd.,
Great Britain, 2005.
Federal Environmental Agency, “Environmental Data Germany 2002”, Umwelt Bundes
Amt, 2002.

You might also like