You are on page 1of 50

สิ่งที่ส่งมาด้วย 2

(ร่าง)
ประมวลหลักการปฏิบัติงาน (Code of Practice: COP) ในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
ส่าหรับกิจการผลิตไฟฟ้าที่มีก่าลังการผลิตติดตั้งต่่ากว่า 10 เมกะวัตต์
(กรณีใช้วัตถุดิบชีวมวลเป็นเชื้อเพลิง)

ภายใต้โครงการจัดท่าหลักเกณฑ์การจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อประกอบการพิจารณาให้ใบอนุญาตผลิตไฟฟ้า
(งานจัดท่าแนวทางในการจัดการสิ่งแวดล้อมส่าหรับโรงไฟฟ้าที่มีก่าลังการผลิตติดตั้งต่่ากว่า 10 เมกะวัตต์)
โดย: สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จัดโดย: ส่านักงานคณะกรรมการก่ากับกิจการพลังงาน
สิ่งที่ส่งมาด้วย 2
(ร่าง)
ประมวลหลักการปฏิบัติงาน (Code of Practice: COP) ในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
ส่าหรับกิจการผลิตไฟฟ้าที่มีก่าลังการผลิตติดตั้งต่่ากว่า 10 เมกะวัตต์

กรณีใช้วัตถุดิบชีวมวลเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า

1. ขั้นตอนก่อนการก่อสร้าง
ประเด็นผลกระทบ กิจกรรมที่กอ่ ให้เกิดผลกระทบ แนวทางการป้องกันหรือมาตรการ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
ในการลดผลกระทบ

ด้านสังคม - 1.1 มีการให้ข้อมูล การสร้างความรู้ และ - รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย


ความเข้าใจในโรงไฟฟ้าแก่ประชาชนใน พ.ศ.2550
พื้นที่ที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบ - พระราชบัญญัตสิ ่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535
1.2 มีการรับฟังความคิดเห็น ซึ่งในการประชุม - รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ต้องมีการให้ข้อมูลรายละเอียดโครงการ พ.ศ.2550
ในรูปแบบที่เข้าใจง่าย และมีการรับฟัง - สิทธิตามพระราชบัญญัติสขุ ภาพแห่งชาติ
พ.ศ. 2550 ตามมาตรา 11
ความคิดเห็นจากผู้เข้าประชุมด้วยวิธีต่างๆ
- ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการ
เช่น การพูดคุย การสอบถาม การกรอก
รับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ.
แบบสอบถาม หรือการรับฟังความคิดเห็น
2548
ต่อโครงการในรูปแบบอืน่ ๆ ที่เหมาะสม

1
(ร่าง)
ประมวลหลักการปฏิบัติงาน (Code of Practice: COP) ในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
ส่าหรับกิจการผลิตไฟฟ้าที่มีก่าลังการผลิตติดตั้งต่่ากว่า 10 เมกะวัตต์

1. ขั้นตอนก่อนการก่อสร้าง
ประเด็นผลกระทบ กิจกรรมที่กอ่ ให้เกิดผลกระทบ แนวทางการป้องกันหรือมาตรการ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
ในการลดผลกระทบ

การวางแผนการใช้ทรัพยากร - 1.3 มีการวางแผนการจัดการใช้น้าให้มี


ประสิทธิภาพ
1.4 มีการวางแผนติดตามตรวจสอบคุณภาพ - พระราชบัญญัตสิ ่งเสริมและรักษาคุณภาพ
น้าผิวดิน สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535
- พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535
- พระราชบัญญัตกิ ารสาธารณสุข พ.ศ.2535
1.5 มีการวางแผนติดตามตรวจสอบคุณภาพ - เกณฑ์ มาตรฐาน และแนวทางการจัดการ
น้าใต้ดิน ขยะมูลฝอยชุมชน กรมควบคุมมลพิษ
- เกณฑ์ มาตรฐาน และแนวทางการจัดการ
ขยะมูลฝอยชุมชน กรมควบคุมมลพิษ
- พระราชบัญญัตกิ ารสาธารณสุข พ.ศ.2535

1.6 มีการวางแผนงานการควบคุมดูแลป้องกัน - พระราชบัญญัตสิ ่งเสริมและรักษาคุณภาพ


ปัญหาฝุ่นจากการก่อสร้าง สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535
- พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535
- พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535

2
(ร่าง)
ประมวลหลักการปฏิบัติงาน (Code of Practice: COP) ในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
ส่าหรับกิจการผลิตไฟฟ้าที่มีก่าลังการผลิตติดตั้งต่่ากว่า 10 เมกะวัตต์

1. ขั้นตอนก่อนการก่อสร้าง
ประเด็นผลกระทบ กิจกรรมที่กอ่ ให้เกิดผลกระทบ แนวทางการป้องกันหรือมาตรการ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
ในการลดผลกระทบ

การใช้ที่ดิน - 1.7 มีการวางผังโรงงาน โดยคานึงถึงสภาพ - พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535


ภูมิประเทศ ปริมาณแหล่งวัตถุดิบ - พระราชบัญญัตผิ ังเมือง พ.ศ. 2518
เส้นทางขนส่งวัตถุดิบ แหล่งน้าดิบ และ - พระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคาร พ.ศ.2522
- พระราชบัญญัตกิ ารประกอบกิจการ
แนวกันชน รวมถึงการออกแบบการใช้
พลังงาน พ.ศ. 2550
พื้นที่ภายในโรงงาน และการจัดแบ่งพื้นที่
สาหรับปลูกต้นไม้
1.8 มีการตรวจสอบผังบริเวณที่ตั้งโรงไฟฟ้า - พระราชบัญญัตกิ ารผังเมือง
โดยพิจารณาถึงความถูกต้องในการใช้ - กฎกระทรวงฉบับที่ 2 ออกตาม พรบ.
ที่ดินบริเวณที่ตั้งโรงงาน และพื้นที่กันชน โรงงาน พ.ศ.2535
นอกทีต่ ั้งโรงไฟฟ้า อย่างน้อยไม่ต่ากว่า
100 เมตร ตามที่กฎหมายกาหนด

3
(ร่าง)
ประมวลหลักการปฏิบัติงาน (Code of Practice: COP) ในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
ส่าหรับกิจการผลิตไฟฟ้าที่มีก่าลังการผลิตติดตั้งต่่ากว่า 10 เมกะวัตต์

2. ขั้นตอนการก่อสร้าง

ประเด็นผลกระทบ กิจกรรมที่กอ่ ให้เกิดผลกระทบ แนวทางการแก้ไขหรือมาตรการ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ


ในการลดผลกระทบ

ด้านสังคม - 2.1 มีการให้ข้อมูลแก่ประชาชนและการสร้าง - รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.


ทัศนคติทดี่ ีแก่ประชาชนในพืน้ ที่บริเวณ 2550
รอบโรงไฟฟ้า - พระราชบัญญัตสิ ่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535
2.2 มีการรับฟังความคิดเห็นและติดตาม - รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.
ตรวจสอบ โดยการรับเรื่องร้องเรียน 2550
ผลกระทบจากการก่อสร้างโครงการ - ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับ
ฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548
2.3 มีการให้ชุมชนในพื้นที่มสี ่วนร่วมในการ - รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.
ติดตามการดาเนินกิจการของโรงไฟฟ้า 2550
โดยการรายงานความก้าวหน้าของ - พระราชบัญญัตสิ ุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550
โครงการ และการดาเนินการในขัน้ ตอน - ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับ
ต่อไปให้แก่ประชาชนในพื้นที่ ฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548

คุณภาพน้า่ - น้าเสียที่เกิดจากกิจกรรมในพืน้ ที่ 2.4 มีการจัดการด้านน้าเสียที่เหมาะสม และมี - พระราชบัญญัตสิ ่งเสริมและรักษาคุณภาพ


ก่อสร้าง การใช้น้าในที่พักคนงาน และ มาตรการป้องกันน้ามัน ไม่ให้ปนเปื้อนกับ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535

4
(ร่าง)
ประมวลหลักการปฏิบัติงาน (Code of Practice: COP) ในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
ส่าหรับกิจการผลิตไฟฟ้าที่มีก่าลังการผลิตติดตั้งต่่ากว่า 10 เมกะวัตต์

2. ขั้นตอนการก่อสร้าง

ประเด็นผลกระทบ กิจกรรมที่กอ่ ให้เกิดผลกระทบ แนวทางการแก้ไขหรือมาตรการ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ


ในการลดผลกระทบ

สานักงาน รวมถึงกิจกรรมที่กอ่ ให้เกิด น้าฝนที่หลากมาตามผิวดิน - พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535


น้ามันหกปนเปื้อนพืน้ - พระราชบัญญัตกิ ารสาธารณสุข พ.ศ. 2535

คุณภาพอากาศ - การก่อสร้างอาคาร ถนนและระบบ 2.5 ผู้ประกอบการต้องกาหนดให้ผู้รบั เหมามี - พระราชบัญญัตสิ ่งเสริมและรักษาคุณภาพ


สาธารณูปโภค การขนส่งและบรรทุก การจัดทาแผนงานการควบคุมดูแลป้องกัน สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535
วัสดุกอ่ สร้างต่างๆ ปัญหาฝุ่นจากกิจกรรมต่างๆ - พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
- พระราชบัญญัตกิ ารสาธารณสุข พ.ศ. 2535
- กิจกรรมการปรับพื้นที่ (ถมและขุด) 2.6 มี ก ารด าเนิ น การติ ด ตามและตรวจสอบ
ปั ญ หาฝุ่ น ละออง ในกรณี ที่ มี ข้ อร้ องเรี ยน
ปัญหาฝุ่นละอองเกิดขึ้น

ของเสีย - ที่พักคนงาน 2.7 มีการจัดวางถังขยะให้เพียงพอ และมีการ - พระราชบัญญัตสิ ่งเสริมและรักษาคุณภาพ


คัดแยกขยะโดยมีแบ่งประเภทขยะอย่าง สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
- กิจกรรมก่อสร้าง
ชัดเจน รวมถึงมีระบบสุขาภิบาลที่ - พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535
เหมาะสม เพียงพอ เช่น - พระราชบัญญัติรกั ษาความสะอาดและ
ห้องสุขา หรือบ่อเกรอะ-บ่อซึม เป็นต้น ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง
พ.ศ. 2535

5
(ร่าง)
ประมวลหลักการปฏิบัติงาน (Code of Practice: COP) ในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
ส่าหรับกิจการผลิตไฟฟ้าที่มีก่าลังการผลิตติดตั้งต่่ากว่า 10 เมกะวัตต์

2. ขั้นตอนการก่อสร้าง

ประเด็นผลกระทบ กิจกรรมที่กอ่ ให้เกิดผลกระทบ แนวทางการแก้ไขหรือมาตรการ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ


ในการลดผลกระทบ

2.8 มีการเก็บรวบรวมขยะ/เศษวัสดุกอ่ สร้างที่


ไม่เข้าข่ายเป็นวัตถุอนั ตราย ให้อยู่ใน
บริเวณที่เป็นกองเศษวัสดุก่อสร้าง

2.9 กาหนดประเภทขยะอันตราย ให้อยู่ใน


พื้นที่จัดเตรียมโดยแยกออกจากกิจกรรม
อื่นๆ ต้องมีการบันทึกประเภทของขยะ
อันตรายและปริมาณขยะอันตรายที่เกิดขึน้
และจัดทาแผนการจัดเก็บขยะ โดยการ
กาหนดวันและเวลาที่หน่วยงานที่
รับผิดชอบมาเก็บขนออกจากพืน้ ที่โรงงาน

อาชีวอานามัยและความ - กิจกรรมก่อสร้าง 2.10 มีการอบรมคนงานและพนักงานให้มี - พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518


ปลอดภัย ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพอนามัยและ - พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535
ความปลอดภัยขณะทางาน

6
(ร่าง)
ประมวลหลักการปฏิบัติงาน (Code of Practice: COP) ในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
ส่าหรับกิจการผลิตไฟฟ้าที่มีก่าลังการผลิตติดตั้งต่่ากว่า 10 เมกะวัตต์

2. ขั้นตอนการก่อสร้าง

ประเด็นผลกระทบ กิจกรรมที่กอ่ ให้เกิดผลกระทบ แนวทางการแก้ไขหรือมาตรการ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ


ในการลดผลกระทบ

2.11 มีการเตรียมการด้านกายภาพอืน่ ๆ เพื่อ


ความปลอดภัยในการทางาน เช่น
จัดระบบการอนุญาตเข้า-ออกพื้นที่
ก่อสร้าง และเตรียมอุปกรณ์ดับเพลิง กล่อง
ปฐมพยาบาล เป็นต้น

เสียง - กิจกรรมก่อสร้าง 2.12 มีการควบคุมเสียงโดยจัดทาแผนการซ่อม - พระราชบัญญัตสิ ่งเสริมและรักษาคุณภาพ


บารุงอุปกรณ์ เครื่องจักร ให้อยู่ในสภาพที่ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535
ดี มีการติดตั้งกาแพงกั้นเสียงในจุดทางาน - พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
ที่มีเสียงดัง และกาหนดเวลาทางานที่ต้อง - พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
ใช้เครื่องจักรหรืออุปกรณ์ที่ให้เสียงดังให้
อยู่ในช่วงเวลากลางวัน รวมถึงมีการอบรม
คนงานและพนักงานให้มีความรู้เรื่องการ
ใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเอง เช่น ที่อุดหู เป็น
ต้น
2.13 มีการติดตามและตรวจสอบปัญหามลพิษ

7
(ร่าง)
ประมวลหลักการปฏิบัติงาน (Code of Practice: COP) ในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
ส่าหรับกิจการผลิตไฟฟ้าที่มีก่าลังการผลิตติดตั้งต่่ากว่า 10 เมกะวัตต์

2. ขั้นตอนการก่อสร้าง

ประเด็นผลกระทบ กิจกรรมที่กอ่ ให้เกิดผลกระทบ แนวทางการแก้ไขหรือมาตรการ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ


ในการลดผลกระทบ

ทางเสียง ในกรณีที่มีข้อร้องเรียนปัญหา
มลพิษทางเสียงจากการก่อสร้าง โดยการ
ตรวจวัดเพื่อเทียบกับค่ามาตรฐานเสียงใน
บรรยากาศทั่วไป

8
(ร่าง)
ประมวลหลักการปฏิบัติงาน (Code of Practice: COP) ในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
ส่าหรับกิจการผลิตไฟฟ้าที่มีก่าลังการผลิตติดตั้งต่่ากว่า 10 เมกะวัตต์

3. ขั้นตอนการด่าเนินการผลิตไฟฟ้า

ประเด็นผลกระทบ กิจกรรมที่กอ่ ให้เกิดผลกระทบ แนวทางการแก้ไขหรือมาตรการ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ


ในการลดผลกระทบ

ด้านสังคม 3.1 มีการจัดกิจกรรมมวลชนสัมพันธ์ระหว่าง - รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.


ผู้ประกอบการและประชาชนในพืน้ ที่อย่าง 2550
น้อยปีละ 2 ครั้ง มีการก่อตั้งเงินทุนประกัน - พระราชบัญญัตสิ ุขภาพแห่งชาติ
สาหรับผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการ พ.ศ. 2550
ดาเนินการของโรงไฟฟ้า และมีการตั้งศูนย์ - ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับ
รับเรื่องร้องเรียน ฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548
3.2 ในกรณีมีการร้องเรียน ให้มีการ
ดาเนินการติดตามตรวจสอบผลกระทบ
ของประชาชนจากการดาเนินกิจการของ
โรงไฟฟ้า โดยมีการหารือร่วมกันเพื่อแก้ไข
ผลกระทบที่เกิดขึ้นผ่านทางคณะกรรมการ
ติดตามตรวจสอบ และมีการประกาศ
สรุปผลการหารือร่วมกันผ่านทางสื่อต่างๆ
ที่เหมาะสม

9
(ร่าง)
ประมวลหลักการปฏิบัติงาน (Code of Practice: COP) ในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
ส่าหรับกิจการผลิตไฟฟ้าที่มีก่าลังการผลิตติดตั้งต่่ากว่า 10 เมกะวัตต์

3. ขั้นตอนการด่าเนินการผลิตไฟฟ้า

ประเด็นผลกระทบ กิจกรรมที่กอ่ ให้เกิดผลกระทบ แนวทางการแก้ไขหรือมาตรการ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ


ในการลดผลกระทบ

การเตรียมวัสดุเชือ้ เพลิง (ให้ยกเว้นในกรณีใช้วตั ถุดิบแกลบเป็นเชื้อเพลิง)


คุณภาพอากาศ - การกองวัตถุดิบชีวมวล 3.3 มีการตรวจสอบความสะอาดของพื้นที่ที่
เตรียมวัตถุดิบเชื้อเพลิงชีวมวล และมีการ
- การตัดวัตถุดิบชีวมวลให้เป็นท่อนเล็ก
ดาเนินการป้องกันฝุ่นฟุ้งกระจายจากการ
ลง ก่อนการบดเป็นชิน้ เล็กๆ
พัดปลิวอื่นๆ แทนหรือเสริม เช่น การจัด
- การบดละเอียดวัตถุดิบ ชีวมวล วางอุปกรณ์ ชั้นวางของ หรือผนัง
โครงสร้างอาคารอื่นทีส่ ามารถกาบัง
ทิศทางลมที่จะพัดให้ฝุ่นจากวัตถุดิบชีว
มวลฟุ้งกระจายออกจากพื้นที่ที่เตรียม
วัตถุดิบเชื้อเพลิง
เสียง - การตัดวัตถุดิบชีวมวลให้เป็นท่อนเล็ก 3.4 พนักงานที่ตอ้ งทางานในพื้นที่เสียงดังต้อง
ลง ก่อนการบดเป็นชิน้ ใส่อุปกรณ์กันเสียง และในกรณีเกิดเสียง
ดังผิดปกติต้องรีบแก้ไขทีส่ าเหตุ เช่น ใช้
- การบดละเอียดวัตถุดิบ ชีวมวล
ยางหนุน หรือจัดวางเครื่องให้สมดุล

10
(ร่าง)
ประมวลหลักการปฏิบัติงาน (Code of Practice: COP) ในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
ส่าหรับกิจการผลิตไฟฟ้าที่มีก่าลังการผลิตติดตั้งต่่ากว่า 10 เมกะวัตต์

3. ขั้นตอนการด่าเนินการผลิตไฟฟ้า

ประเด็นผลกระทบ กิจกรรมที่กอ่ ให้เกิดผลกระทบ แนวทางการแก้ไขหรือมาตรการ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ


ในการลดผลกระทบ

ระบบการขนส่งและกักเก็บวัสดุเชื้อเพลิง
คุณภาพอากาศ - การลาเลียงวัตถุดิบ 3.5 เลือกเส้นทางการขนส่งวัตถุดิบชีวมวล ให้ - พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
หลีกเลีย่ งเส้นทางวิ่งที่ผ่านสถานที่ทมี่ ี สิง่ แวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535
ชีวมวลขึ้นรถบรรทุก
พนักงานโรงงานที่มีโอกาสสัมผัสฝุ่นจาก
- การบรรทุกวัตถุดิบ วัตถุดิบชีวมวลขณะรถบรรทุกวิ่งผ่าน หรือ
ชีวมวลแบบเปิดไปยังโรงไฟฟ้า หลีกเลีย่ งชุมชน และช่วงเวลาที่มปี ระชาชน
เป็นจานวนมากอยู่ในเส้นทางที่การขนส่ง
- กองวัตถุดิบชีวมวลเก็บในโรงเก็บ
ผ่าน รวมถึงมีวัสดุคลุมวัตถุดิบชีวมวลของ
รถบรรทุกก่อนออกเดินทาง และจัดหาวัสดุ
คลุมสาหรับคลุมวัตถุดิบชีวมวลกรณีเกิด
ลมพัดแรง เช่น พลาสติกหรือผ้าใบ หรือมี
การดาเนินป้องกันฝุ่นฟุ้งกระจายจากการ
พัดปลิวอื่นๆ แทนหรือเสริม เช่น การจัด

11
(ร่าง)
ประมวลหลักการปฏิบัติงาน (Code of Practice: COP) ในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
ส่าหรับกิจการผลิตไฟฟ้าที่มีก่าลังการผลิตติดตั้งต่่ากว่า 10 เมกะวัตต์

3. ขั้นตอนการด่าเนินการผลิตไฟฟ้า

ประเด็นผลกระทบ กิจกรรมที่กอ่ ให้เกิดผลกระทบ แนวทางการแก้ไขหรือมาตรการ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ


ในการลดผลกระทบ

วางอุปกรณ์ ชั้นวางของ หรือผนัง


โครงสร้างอาคารอื่นทีส่ ามารถกาบัง
ทิศทางลมที่จะพัดให้ฝุ่นจากวัตถุดิบชีว
มวลฟุ้งกระจายออกจากโรงเก็บ
นอกจากนี้ควรมีวิธีการตรวจสอบความ
สะอาดของพื้นทีจ่ อดรถบรรทุกวัตถุดิบชีว
มวลระหว่างรอขนถ่ายและโรงกักเก็บ

ระบบการขนส่งและกักเก็บวัสดุเชื้อเพลิง (ต่อ)
เสียง - การบรรทุกวัตถุดิบชีวมวลไปยัง 3.6 มีการจัดเตรียมการป้องกันเสียงดังจากโรง - พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
โรงไฟฟ้า กักเก็บวัตถุดิบ ชีวมวล เช่น มีกาแพงกั้น สิง่ แวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535
เสียง ตามความเหมาะสมของโรงไฟฟ้า
- กองวัตถุดิบชีวมวลเก็บในโรงเก็บแบบ
รวมถึงพนักงานที่ต้องทางานในพื้นที่เสียง
เปิด
ดังต้องใส่อุปกรณ์กนั เสียง และในกรณีเกิด
เสียงดังผิดปกติตอ้ งรีบแก้ไขที่สาเหตุ เช่น

12
(ร่าง)
ประมวลหลักการปฏิบัติงาน (Code of Practice: COP) ในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
ส่าหรับกิจการผลิตไฟฟ้าที่มีก่าลังการผลิตติดตั้งต่่ากว่า 10 เมกะวัตต์

3. ขั้นตอนการด่าเนินการผลิตไฟฟ้า

ประเด็นผลกระทบ กิจกรรมที่กอ่ ให้เกิดผลกระทบ แนวทางการแก้ไขหรือมาตรการ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ


ในการลดผลกระทบ

ใช้ยางหนุน หรือจัดวางเครื่องให้สมดุล

ระบบป้อนวัตถุดิบชีวมวลเข้าเตาเผา เตาเผาและระบบบ่าบัดอากาศเสีย
คุณภาพอากาศ - การลาเลียงวัตถุดิบชีวมวลด้วย 3.7 มีวิธีการตรวจสอบความสะอาดของพื้นใต้ - พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สายพาน ระบบลาเลียงที่เชื่อมไปยังเตาเผา หากใน สิง่ แวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535
กรณีพบว่าระบบลาเลียงแบบเปิดก่อปัญหา - พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535
- เตาเผาและหม้อไอน้า
ฝุ่นจากวัตถุดิบชีวมวลฟุ้งกระจายให้
- หอระบายความร้อน (ไอน้าร้อน) ผู้ประกอบการแก้ไขให้เป็นกึ่งระบบปิด
- ระบบบาบัดอากาศเสีย หรือเป็นระบบปิด หรือวิธีการอืน่ ๆที่
เหมาะสม
3.8 ต้องดาเนินการตรวจสอบประสิทธิภาพ
เตาเผาให้เป็นไปตามข้อกาหนดการ
ออกแบบ
3.9 มีการจัดทาแผนการอบรมผู้ดูแลระบบและ
ผู้เกี่ยวข้องในการทางานของระบบเตาเผา

13
(ร่าง)
ประมวลหลักการปฏิบัติงาน (Code of Practice: COP) ในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
ส่าหรับกิจการผลิตไฟฟ้าที่มีก่าลังการผลิตติดตั้งต่่ากว่า 10 เมกะวัตต์

3. ขั้นตอนการด่าเนินการผลิตไฟฟ้า

ประเด็นผลกระทบ กิจกรรมที่กอ่ ให้เกิดผลกระทบ แนวทางการแก้ไขหรือมาตรการ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ


ในการลดผลกระทบ

ในสภาพปกติ ในกรณีพบข้อผิดปกติ
พร้อมวิธีการซ่อมแซม และแผนการซ่อม
บารุงเพื่อรักษาประสิทธิภาพของเตาเผา
3.10 มีการดูแลและตรวจสอบระบบบาบัดให้
ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.11 มีการอบรมผู้ดูแลระบบบาบัดและ
ผู้เกี่ยวข้องในการรักษาประสิทธิภาพการ
ทางานของระบบบาบัดอากาศเสียใน
สภาพปกติ ในกรณีพบข้อผิดปกติ พร้อม
วิธีการซ่อมแซม และแผนการซ่อมบารุง
เพื่อเลี่ยงการหยุดระบบ

ระบบป้อนวัตถุดิบชีวมวลเข้าเตาเผา เตาเผาและระบบบ่าบัดอากาศเสีย (ต่อ)


เสียง - การลาเลียงวัตถุดิบชีวมวลด้วย 3.12 ในกรณีระบบลาเลียงและเตาเผาที่เป็น - พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สายพาน ระบบปิด พนักงานที่ตอ้ งทางานในพื้นที่ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535

14
(ร่าง)
ประมวลหลักการปฏิบัติงาน (Code of Practice: COP) ในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
ส่าหรับกิจการผลิตไฟฟ้าที่มีก่าลังการผลิตติดตั้งต่่ากว่า 10 เมกะวัตต์

3. ขั้นตอนการด่าเนินการผลิตไฟฟ้า

ประเด็นผลกระทบ กิจกรรมที่กอ่ ให้เกิดผลกระทบ แนวทางการแก้ไขหรือมาตรการ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ


ในการลดผลกระทบ

- กังหันไอน้าและเครือ่ งกาเนิดไฟฟ้า เสียงดังต้องใส่อุปกรณ์กันเสียง เช่น ที่อุดหู - พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535


ป้องกันเสียงดัง และหากเกิดเสียงดัง
- หอระบายความร้อน
ผิดปกติต้องรีบแก้ไขทีส่ าเหตุ เช่น ใช้ยาง
หนุน จัดวางเครื่องให้สมดุล เป็นต้น
3.13 ในกรณีระบบลาเลียงและเตาเผาที่เป็น
ระบบเปิด ควรมีการจัดเตรียมพื้นที่มี
กาแพงกั้นเสียง โดยทีก่ าแพงกั้นเสียง
สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสมของ
โรงไฟฟ้า และหากเกิดเสียงดังผิดปกติตอ้ ง
รีบแก้ไขที่สาเหตุ เช่น ใช้ยางหนุน จัดวาง
เครื่องให้สมดุล เป็นต้น
3.14 มีการดาเนินการตรวจเช็คการทางานของ
พัดลมในระบบเตาเผาเป็นประจา พร้อม
ทั้งมีแผนการทาความสะอาด และการซ่อม
บารุงซึ่งจะเป็นประโยชน์ตอ่ การรักษา

15
(ร่าง)
ประมวลหลักการปฏิบัติงาน (Code of Practice: COP) ในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
ส่าหรับกิจการผลิตไฟฟ้าที่มีก่าลังการผลิตติดตั้งต่่ากว่า 10 เมกะวัตต์

3. ขั้นตอนการด่าเนินการผลิตไฟฟ้า

ประเด็นผลกระทบ กิจกรรมที่กอ่ ให้เกิดผลกระทบ แนวทางการแก้ไขหรือมาตรการ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ


ในการลดผลกระทบ

ประสิทธิภาพการเผาด้วย
3.15 มีการจัดเตรียมอุปกรณ์กนั้ เสียงทีเ่ กิดจาก
เครื่องกาเนิดกระแสไฟฟ้า และมีการ
ตรวจสอบสภาพการป้องกันเสียงให้มี
ประสิทธิภาพการป้องกันตามการออกแบบ
คุณภาพน้า่ - การเปลี่ยนถ่ายน้ามันหล่อลืน่ ใน 3.16 มีการตรวจสอบน้ามันที่หกและทาความ
บริเวณเครื่องกาเนิดไฟฟ้าและบริเวณ สะอาดบริเวณที่ทาการขณะเปลีย่ นถ่าย
พื้นที่โรงงาน น้ามันหล่อลืน่ ทุกครั้ง
คุณภาพผิวดิน - การเปลี่ยนถ่ายน้ามันหล่อลืน่ ใน 3.16 มีการตรวจสอบน้ามันที่หกหล่นและทา
บริเวณเครื่องกาเนิดไฟฟ้าและบริเวณ ความสะอาดขณะเปลี่ยนถ่าย
พื้นที่โรงงาน น้ามันหล่อลืน่ ทุกครั้ง

ระบบหล่อเย็น
เสียง - ระบบหล่อเย็น 3.17 มีการตรวจสอบความสะอาดของพัดลม
และบริเวณใกล้เคียง และมีการตรวจเช็ค

16
(ร่าง)
ประมวลหลักการปฏิบัติงาน (Code of Practice: COP) ในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
ส่าหรับกิจการผลิตไฟฟ้าที่มีก่าลังการผลิตติดตั้งต่่ากว่า 10 เมกะวัตต์

3. ขั้นตอนการด่าเนินการผลิตไฟฟ้า

ประเด็นผลกระทบ กิจกรรมที่กอ่ ให้เกิดผลกระทบ แนวทางการแก้ไขหรือมาตรการ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ


ในการลดผลกระทบ

การทางานของระบบพัดลมว่ามีเสียงปกติ
หากกรณีที่พบว่าพัดลมมีเสียงดังผิดปกติ
ให้หาสาเหตุและดาเนินการซ่อมแซม

ระบบการเก็บขี้เถ้า (ในกรณีใช้วถั ตุดิบแกลบเป็นเชือ้ เพลิงอาจมีงานการบรรจุขี้เถ้าร่วมด้วย)


คุณภาพอากาศ - สถานที่จดั เก็บขี้เถ้า 3.18 ในกรณีที่พื้นที่เก็บขี้เถ้าเป็นระบบเปิด และ - พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
ลมมีโอกาสพัดฝุ่นขี้เถ้าให้ฟุ้งกระจายได้ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
ให้มีการจัดหาสิ่งปิดคลุมขี้เถ้า โดยใช้ - พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
ผ้าใบหรือพลาสติกปิดคลุม หรือทาแนวกั้น - พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
ลม

ระบบบ่าบัดน้่าเสีย
คุณภาพอากาศ - ระบบบาบัดน้าเสีย 3.19 ในกรณีที่มีลานผึ่งตะกอนที่ขดุ ลอกจากบ่อ - พระราชบัญญัตสิ ่งเสริมและรักษาคุณภาพ
บาบัด ให้มีการดาเนินการควบคุมฝุ่น สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535
ได้แก่ มีการจัดเตรียมพื้นที่รอบข้างโดย - พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535
ปลูกต้นไม้เป็นแนวรอบบ่อผึ่งตะกอน และ - พระราชบัญญัตกิ ารสาธารณสุข

17
(ร่าง)
ประมวลหลักการปฏิบัติงาน (Code of Practice: COP) ในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
ส่าหรับกิจการผลิตไฟฟ้าที่มีก่าลังการผลิตติดตั้งต่่ากว่า 10 เมกะวัตต์

3. ขั้นตอนการด่าเนินการผลิตไฟฟ้า

ประเด็นผลกระทบ กิจกรรมที่กอ่ ให้เกิดผลกระทบ แนวทางการแก้ไขหรือมาตรการ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ


ในการลดผลกระทบ

ในการขนย้ายตะกอนแห้งต้องมีการ พ.ศ.2535
ป้องกันฝุ่นตะกอนฟุ้งกระจาย

งานปฏิบัติการทั่วไป
คุณภาพน้า่ - กิจกรรมจากการผลิตกระแสไฟฟ้า 3.20 ในกรณีที่มีการปล่อยน้าเสียออกสู่ - พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
- ระบบบาบัดน้าเสีย สิ่งแวดล้อม ผู้ประกอบกาต้องมีการติดตาม สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535
ตรวจสอบคุณภาพน้าผิวดินและน้าใต้ดิน - พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535
ตามแผนปฏิบัติการที่ได้เตรียมไว้ - พระราชบัญญัติการสาธารณสุข
พ.ศ.2535
- ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม
แห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537)
คุณภาพอากาศ - กิจกรรมจากการผลิตกระแสไฟฟ้า 3.21 ผู้ประกอบการต้องดาเนินการตรวจสอบ - พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
คุณภาพอากาศหากโรงไฟฟ้าตั้งอยู่ใกล้ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535
ชุมชน โดยมีการการติดตามคุณภาพ - พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535
อากาศที่ปล่องและในบรรยากาศ

18
(ร่าง)
ประมวลหลักการปฏิบัติงาน (Code of Practice: COP) ในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
ส่าหรับกิจการผลิตไฟฟ้าที่มีก่าลังการผลิตติดตั้งต่่ากว่า 10 เมกะวัตต์

4. ขั้นตอนการซ่อมบ่ารุง

ประเด็นผลกระทบ กิจกรรมที่กอ่ ให้เกิด แนวทางการแก้ไขหรือมาตรการ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ


ผลกระทบ ในการลดผลกระทบ

คุณภาพน้า่ - การซ่อมบารุงอุปกรณ์ 4.1 มีการดาเนินการป้องกันไม่ให้น้าทิ้งที่ไม่ผ่านการบาบัด


ชิ้นส่วนระบบบาบัด รั่วไหลออกนอกพื้นที่โรงงาน เช่น เตรียมบ่อกักน้าเสีย
ครอบคลุมช่วงเวลาซ่อมแซมระบบบาบัดน้าเสีย หรือเพิ่ม
เวลาหน่วงน้าเสีย (retention time) ในระบบให้นานขึน้
คุณภาพอากาศ - การทาความสะอาด 4.2 มีการดาเนินการป้องกันผลกระทบจากฝุน่ ทีจ่ ะเกิดขึ้น
ปล่อง มากกว่าค่าปกติ ได้แก่ การแจ้งกาหนดการทาความสะอาด
หม้อน้าแก่ชุมชนใต้ลม ออกสารวจพื้นที่ใต้ลมขณะทาความ
สะอาดปล่อง หรือมาตรการอืน่ ๆ ที่เหมาะสม
4.3 ผู้ประกอบการควรพิจารณาประเด็นผลกระทบจากฝุน่ ขณะ
ทาความสะอาดปล่องโดยที่ฝนุ่ ทีอ่ อกมาต้องไม่เป็นข้ออ้าง
สาหรับการก่อปัญหาขัดแย้ง ในกรณีที่เกิดข้อขัดแย้ง
ผู้ประกอบการต้องดาเนินการติดตามคุณภาพอากาศที่
ปล่อยทั้งจากปล่องและบรรยากาศที่พิสูจน์ที่มาของปัญหา
ฝุ่นไม่ได้เกิดจากโรงงานทาความสะอาดปล่อง

19
(ร่าง)
ประมวลหลักการปฏิบัติงาน (Code of Practice: COP) ในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
ส่าหรับกิจการผลิตไฟฟ้าที่มีก่าลังการผลิตติดตั้งต่่ากว่า 10 เมกะวัตต์

5. ขั้นตอนสภาวะฉุกเฉิน

ประเด็นผลกระทบ กิจกรรมที่กอ่ ให้เกิด แนวทางการแก้ไขหรือมาตรการ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ


ผลกระทบ ในการลดผลกระทบ

คุณภาพอากาศ - เกิดเหตุภาวะฉุกเฉิน เช่น 5.1 ในกรณีเกิดเหตุภาวะฉุกเฉิน ให้แจ้งชุมชนที่อยู่ใต้ลมให้ - พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535


อุบัติเหตุไฟไหม้ สารพิษ ทราบเพื่อให้เฝ้าระวังและเตรียมแผนการอพยพ และ มาตรา 8
รั่วไหลที่ก่อให้เกิดก๊าซ แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นทีใ่ ห้ทราบ - กฎกระทรวงฉบับที่ 2 พ.ศ.2535 ออก
พิษ ตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน
พ.ศ.2535 ข้อ 13 (3)
- ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การ
กาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ.
2548 ข้อ 23

20
(ร่าง)
ประมวลหลักการปฏิบัติงาน (Code of Practice: COP) ในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
ส่าหรับกิจการผลิตไฟฟ้าที่มีก่าลังการผลิตติดตั้งต่่ากว่า 10 เมกะวัตต์

6. ขั้นตอนการปิดกิจการผลิตไฟฟ้า

ประเด็นผลกระทบ กิจกรรมที่กอ่ ให้เกิด แนวทางการแก้ไขหรือมาตรการ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ


ผลกระทบ ในการลดผลกระทบ

ด้านสังคม - 6.1 มีการชี้แจงทาความเข้าใจแก่ประชาชนในการ


ดาเนินการปิดกิจการของโรงไฟฟ้า

คุณภาพน้า่ - กิจกรรมจากการผลิต 6.2 มีการรวบรวมข้อมูลผลวิเคราะห์ตะกอนและน้าทิ้ง และ


กระแสไฟฟ้า คุณภาพน้าบาดาล เพื่อจัดทารายงานสรุปและแนว
- ระบบบาบัดน้าเสีย ทางการปิดกิจการ
ของเสีย - การกาจัดวัสดุไม่ 6.3 มีการเก็บรวบรวมขยะทั่วไปรวมถึงวัสดุเหลือทิ้งต่างๆ ที่ - พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
อันตราย ไม่อยู่ในข่ายของขยะอันตรายต้องเก็บรวบรวม และ - พระราชบัญญัตกิ ารสาธารณสุข พ.ศ.
ติดต่อหน่วยงานท้องถิ่นให้นาไปกาจัด โดยจัดเก็บหรือ 2535
- การกาจัดวัตถุอันตราย
กาจัดวัสดุเหลือใช้ วัสดุอนั ตราย อย่างถูกวิธี เพื่อไม่
ก่อให้เกิดอันตรายต่อชุมชนและสิง่ แวดล้อม สาหรับขยะ
อันตรายต้องส่งออกไปกาจัดโดยบริษัทที่ได้รับการ
รับรองอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ห้ามปล่อยทิ้งตกค้าง
อยู่ในพืน้ ที่

21
(ร่าง)
ประมวลหลักการปฏิบัติงาน (Code of Practice: COP) ในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
ส่าหรับกิจการผลิตไฟฟ้าที่มีก่าลังการผลิตติดตั้งต่่ากว่า 10 เมกะวัตต์

6. ขั้นตอนการปิดกิจการผลิตไฟฟ้า

ประเด็นผลกระทบ กิจกรรมที่กอ่ ให้เกิด แนวทางการแก้ไขหรือมาตรการ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ


ผลกระทบ ในการลดผลกระทบ

การใช้ที่ดิน - 6.4 ถ้าจะมีการเปลีย่ นแปลงการใช้อาคาร ต้องมีการขอ - พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 พ.ศ.


อนุญาตการเปลีย่ นแปลงการใช้อาคารต่อหน่วยงาน 2535 และ พ.ศ. 2543
ท้องถิ่นที่รับผิดชอบ - ข้อบัญญัติ ระเบียบ ข้อบังคับท้องถิน่ ต่างๆ
ที่บังคับใช้

22
เกณฑ์ปฏิบัติการด้านสิ่งแวดล้อมในวัฏจักรชีวิตของโรงงานไฟฟ้า
เกณฑ์ปฏิบัติการด้านสิ่งแวดล้อมของขั้นตอนต่างๆ ในวัฏจักรชีวิตของโรงไฟฟูา มีรายละเอียดที่
ผู้ประกอบการต้องปฏิบัติ ดังนี้

1. ขั้นตอนก่อนการก่อสร้าง
งานการมีส่วนร่วมของประชาชนก่อนการก่อสร้าง
1.1 ปฏิบัติการให้ข้อมูล การสร้างความรู้ และความเข้าใจในโรงไฟฟ้า
1) จัดทาแผนกิจกรรมการให้ข้อมูล รายละเอียดของโรงไฟฟูา การสร้างความรู้ และ
ความเข้าใจในโรงไฟฟูา
2) การให้ข้อมูลเกี่ยวกับการดาเนินการของโครงการโรงไฟฟูาแก่ประชาชนในพื้นที่ให้มี
การรับรู้ว่าจะมีโครงการเกิดขึ้น ข้อมูลรายละเอียดของโรงไฟฟูาที่จะทาการก่อสร้าง
ต้องประกอบไปด้วยข้อมูลอย่างน้อย ได้แก่ ชื่อโครงการโรงไฟฟูา ชื่อผู้ประกอบการ
กาลังการผลิตไฟฟูา เลขที่ตั้ง กาหนดเวลาการก่อสร้าง จนกระทั่งแล้วเสร็จ และชื่อ
ผู้รับเหมาก่อสร้าง โดยทาปูายติดประกาศตลอดระยะเวลาการดาเนินการก่อสร้าง
ในบริเวณพื้นที่ดาเนินการที่ประชาชนสามารถมองเห็นได้ชัดเจน
3) การสร้างความรู้และความเข้าใจในหมู่ ประชาชน โดยใช้สื่อประเภทต่างๆ ที่เข้าใจ
ง่ายและเหมาะสมกับชุมชนโดยรอบโรงไฟฟูา เช่น การประกาศแจ้งข้อมูลโครงการ
ด้ว ยการกระจายเสี ย ง การแจกใบปลิ ว หรื อ แผ่ นพั บ การลงข่า วในหนัง สื อพิ ม พ์
ท้องถิ่น การจัดกิจกรรมชุมชุน หรือด้วยการใช้สื่ออื่นๆ
1.2 ปฏิบัติการรับฟังความคิดเห็น
1) การเตรียมประชุม ได้แก่ (1) การเตรียมข้อมูลรายละเอียดโครงการในรูปแบบที่เข้าใจ
ง่าย โดยมีรายละเอียดที่ครอบคลุมถึง เหตุผลความจาเป็น และวัตถุประสงค์ของ
โครงการ สาระสาคัญของโครงการ วัตถุดบิ และแหล่งที่มาของวัตถุดิบ ลักษณะระบบ
การผลิตและโครงสร้างโครงการ ผู้ดาเนินการ สถานที่ตั้ง ขั้นตอนและระยะเวลา
ดาเนินการ ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ ผลกระทบด้านบวกและลบที่อาจเกิดขึ้น
และผลประโยชน์ต่อประชาชนที่อยู่อาศัยหรือประกอบอาชีพอยู่ใกล้โครงการและต่อ
ประชาชนทั่วไป รวมทั้งมาตรการปูองกัน แก้ไขหรือเยียวยาความเดือดร้อนหรือ
ความเสี ย หายที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น จากผลกระทบดั ง กล่ า ว โดยจั ด ท าข้ อ มู ล ในรู ป แบบ
เอกสารประเภทแผ่นพับ วีดิทัศน์ หรืออื่นๆ ที่เหมาะสม (2) การนัดประชุม กลุ่มผู้นา
ชุมชน ได้แก่ ผู้นาชุมชนที่เป็นทางการ ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้ ที่ได้รับการยอมรับนับถือ

1
จากประชาชนในพื้นที่ (3) การนัดประชุมกลุ่มประชาชนในพื้นที่ที่คาดว่าจะได้รับ
ผลกระทบ ผู้ประกอบการ และหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง
2) ประกาศก าหนดวันการรับฟังความคิดเห็น แต่ละกลุ่ ม ล่ วงหน้า ควรแจ้ง กลุ่ มผู้เข้า
ประชุมล่วงหน้าอย่างน้อย 30 วัน ผ่านทางสื่อต่างๆ เช่น หนังสือพิมพ์ หรือ วิทยุ
หรือระบบการกระจายเสียงท้องถิ่น หรือ ไปรษณีย์ หรือ สื่ออื่นๆ ที่เหมาะสม
3) การกาหนดการรับฟังความเห็น เบื้องต้น 1 ครั้ง และรับฟังความคิดเห็นหลังการให้
ข้อมูลรายละเอีย ดอย่างน้อย 1 ครั้ง ในกลุ่มเปูาหมาย 4 กลุ่ม ได้แ ก่ (1) กลุ่มผู้นา
ชุมชน ได้แก่ ผู้นาชุมชนที่เป็นทางการ ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้ที่ได้รับการยอมรับนับถือ
จากประชาชนในพื้นที่ (2) กลุ่มประชาชนในพื้นที่ที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบ (3)
ผู้ประกอบการ และ (4) หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง
4) การจัดกิจกรรมในวันดาเนินการประชุม (1) การให้ข้อมูลรายละเอียดโครงการด้วย
การบรรยาย สื่อ สิ่งพิมพ์ หรือการให้ข้อมูลอื่นๆ ที่เหมาะสม (2) การรับฟังความ
คิดเห็นจากผู้เข้าประชุม ด้วยวิธีต่างๆ เช่น การพูดคุย การกรอกแบบสอบถาม หรือ
ความคิดเห็นต่อโครงการในรูปแบบอื่นๆ ที่เหมาะสม
5) ให้ มี เ อกสารแสดงการยอมรั บ การด าเนิ น การก่ อ สร้ า งเป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรซึ่ ง
ประกอบไปด้วย ชื่อ-สกุล ที่อยู่ และลายเซ็นต์กากับ พร้อมลงวันที่ที่เข้าร่วมกิจกรรม
การรับฟังความคิดเห็นและวันที่แสดงการยอมรับ /เห็นด้วยในข้อตกลงการก่อสร้าง
โครงการ
6) ให้มีการบันทึกความคิดเห็นจากการดาเนินการประชุมครั้งต่างๆ และหากมีข้อวิตก
กังวลของประชาชน ให้ผู้ประกอบการชี้แ จงและแจ้งถึงมาตรการที่จะดาเนินการเพื่อ
ลดข้อวิตกกังวลนั้นๆ
7) ประกาศสรุปผลการรับฟังความคิดเห็นของแต่ละกลุ่มเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 30 วัน
ซึ่งสรุปผลการรับฟังความเห็นเหล่านี้ ต้องประกอบไปด้วย ผลสรุปในการดาเนินการ
รับฟัง ความคิดเห็น ข้อวิตกกังวลของประชาชนในพื้นที่ มาตรการในการปูองกัน
ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น และมาตรการในการติดตามตรวจสอบ
8) รูปแบบการประกาศสรุปผลการรับฟังความคิดเห็นของแต่ละกลุ่ม โดยดาเนินการด้วน
วิธีต่างๆ เช่น การติดประกาศบริเวณสถานที่ก่อสร้างโรงไฟฟูา การติดประกาศ
บริเวณศาลาประชาคมหรือที่ชุมนุมชน การประกาศเสี ยงตามสาย หรือการ
ดาเนินการประกาศในรูปแบบอื่น ที่เหมาะสม

2
วัตถุประสงค์: การให้ความรู้ ข้อมูล และข่าวสารแก่ประชาชนเพื่อให้ประชาชนมีความเข้าใจต่อโครงการโรงไฟฟูาที่จะ
เกิดขึ้นอย่างถูกต้อง และโครงการสามารถดาเนินการอยู่ร่วมกับประชาชนภายในพื้นที่ได้
ที่มา: - การดาเนินการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนใช้สิทธิตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
ในมาตรา 46 และมาตรา 47 และสิทธิตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 ตามมาตรา 11
- ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548
- พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535

งานวางแผนการใช้ทรัพยากร
1.3 ปฏิบัติการวางแผนการจัดการใช้น้่าให้มีประสิทธิภาพ
1) มีการออกแบบระบบกักเก็บน้า ให้สามารถกักเก็บน้าใช้ภายในโรงงานได้ไม่ต่ากว่า
30 วัน เพื่อไม่ให้กระทบต่อการใช้น้าของชุมชนหรือพื้นที่เกษตรกรรมใกล้เคียง
2) หากโรงไฟฟูาตั้งอยู่ในพื้นที่ที่มีน้าท่วมประจา หรือพื้นที่เสี่ยงภัยน้าท่วม ให้มีการ
สร้างบ่อ หน่ วงน้ าผิวดินโดยผ่านการออกแบบและคานวนขนาดบ่อหน่วงน้าโดย
วิศวกร
3) มีการหมุนเวียนน้าเสียที่ผ่านการบาบัดแล้วกลับมาใช้ใหม่ และเลี่ยงการปล่อยทิ้งน้า
เสี ย ที่ ผ่ า นการบ าบั ด แล้ ว สู่ สิ่ ง แวดล้ อ ม กรณี ป ล่ อ ยน้ าเสี ย ที่ ผ่ า นการบ าบั ด สู่
สิ่งแวดล้อม ต้องกาหนดจุดปล่อยน้าเสียเพื่อเลี่ยงแหล่งน้าสาคัญ หรือเป็นจุดปล่อยที่
ไม่สร้างความเดือดร้อนของประชาชนในเรื่อ งการใช้น้า เช่น ไม่เป็นแหล่งน้าใช้ของ
ชุมชน อยู่ห่างไกลจากชุมชน
4) วางผังโรงงานเพื่อปูองกันคุณภาพน้าผิวดินจากน้าเสียจากกระบวนการผลิต
1.4 ปฏิบัติการวางแผนติดตามตรวจสอบคุณภาพน้่าผิวดิน
กรณีทแี่ ผนการก่อสร้างมีการปล่อยทิ้งน้าผิวดิน หรือแผนการผลิตต้องทิ้งน้า
เสียออกจากพื้นที่โรงงาน ผู้ประกอบการต้องรับผิดชอบในการตรวจเก็บคุณภาพน้า
ในแหล่งน้าที่รับน้าทิ้งจากโรงงาน
1) ก าหนดจุ ด เก็ บ ตั ว อย่ า งน้ าเพื่ อ การวิ เ คราะห์ คุ ณ ภาพอย่ า งน้ อ ยที่ ต้ น น้ า 1 จุ ด
ที่จุดทิ้ง 1 จุด และท้ายน้าอีก 2 จุด (ตามระยะทางที่คุณภาพน้าจะฟื้นตัวให้กลับมา
ใกล้เคียงเดิม)
2) กาหนดดัชนีชี้วัดคุณภาพน้าจากลักษณะมลสารในน้าผิวดิน ตามมาตรฐานน้าใน
แหล่ ง น้ าผิ ว ดิ น ตามประกาศของพ.ร.บ.โรงงาน และหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง
ประกอบด้วย สารแขวนลอย (SS) ค่าความต้องการออกซิเจนที่จุลชีพใช้ในการย่อย
สลายสารอิทรีย์ในน้า (BOD5) ค่าความต้องการออกซิเจนเพื่ อใช้ในการออกซิไดส์
สารอินทรีย์ (COD) ไนโตรเจนรวม (Total N) ไนเตรต (NO-3) แอมโมเนีย (NH+4)

3
ฟอสเฟต (PO4-3) ความเป็นกรดด่าง (pH) อุณหภูมิ และออกซิเจนละลายในน้า (DO)
หรืออื่นๆ ตามลักษณะน้าที่ทิ้งออกจากพื้นทีโ่ ครงการ
3) ดัชนีชี้วัดคุณภาพน้าจากลักษณะมลสารในน้าทิ้งต้องเป็นไปตามมาตรฐานน้าทิ้ง
จากโรงงานอุตสาหกรรม
4) กาหนดความถี่ในการเก็บตัวอย่างน้า ตามลักษณะการทิ้งน้า เช่น หากมีการปล่อย
น้าทิ้งปล่อยน้าทิ้งออกจากโรงงานต่อเนื่อง ให้ติดตามคุณภาพน้าอย่างน้อยปีละ 2
ครั้ง หากปล่อยน้าทิ้งออกจากโรงงานไม่ต่อเนื่อง ให้ติดตามคุ ณภาพน้าอย่างน้อยปี
ละ 1 ครั้ง ในช่วงที่โรงงานปล่อยน้าทิ้ง

ที่มา: - พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535


- พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535
- พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535
- ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537)

1.5 ปฏิบัติการวางแผนติดตามตรวจสอบคุณภาพน้่าบาดาล/น้่าใต้ดิน
1) หากพบว่าพื้นที่โครงการโดยเฉพาะบ่อน้าทิ้งอยู่บนพื้นที่ที่มีการใช้น้าบาดาลเพื่อการ
อุปโภคบริโภค จะต้องวางแนวปูองกันอย่ างเหมาะสม ทั้งการใช้วัสดุธรรมชาติ เช่น
ดินเหนียว (clay) บดอัด และอาจใช้วัสดุสังเคราะห์ที่น้าไม่สามารถซึมผ่านลงไปได้ปู
ทับอีกชั้นหนึ่ง เพื่อปูองกันการปนเปื้อนสู่แหล่งน้าใต้ดิน
2) ก าหนดบ่อ สั ง เกตการณ์ เพื่ อ เก็บตั วอย่า งน้ าบาดาลบริเ วณบ่อ น้าทิ้ ง ในชั้น น้าที่
เกี่ยวข้องกับระดับน้าในบ่อตะกอนน้าทิ้งกาหนดในรัศมีที่สามารถตรวจสอบคุณภาพ
น้าใต้ดินได้
3) ดัชนีคุณภาพน้าบาดาลที่ติดตามบริเวณบ่อน้าทิ้ง ให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพ
น้าบาดาลที่ใช้บริโภค ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2542
4) หากโรงงานมีหลุมฝังกลบมูลฝอยทั่วไปในพื้นที่โรงงาน การออกแบบต้องเป็นไปตาม
เกณฑ์กาหนดการออกแบบหลุมฝังกลบมูลฝอยอย่างถูกหลักสุขาภิบาล (Sanitary
Landfill) และต้องมีการติดตามดัชนีคุณภาพน้าบาดาล บริเวณหลุมฝังกลบมูลฝอย
ทั่วไป ประกอบด้วย pH, SS, BOD, เหล็ก, อุณหภูมิ และค่าการนาไฟฟูา
5) ความถี่ในการติดตามคุณภาพน้าบาดาลอย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี

ที่มา: - เกณฑ์ มาตรฐาน และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน กรมควบคุมมลพิษ


- พื้นที่อ่อนไหวต่อคุณภาพน้าบาดาล เป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐาน และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน
กรมควบคุมมลพิษ
- ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2542)

4
1.6 ปฏิบัติการวางแผนงานการควบคุมดูแลป้องกันปัญหาฝุ่นจากการก่อสร้าง
ผู้ประกอบการต้องนาผลการพิจารณาแผนงานการควบคุมดูแลปูองกันปัญหา
ฝุุนจากการก่อสร้างจากกรมควบคุมมลพิษ ว่าด้วยเรื่องระเบียบและข้อปฏิบัติใ นการ
ควบคุมฝุุนละอองจากการก่อสร้างประเภทต่างๆ พร้อมทั้ง ต้องปฏิบัติตามระเบียบ
ดังกล่าวอย่างเคร่งครัด

งานการพิจารณาความเหมาะสมของสถานที่ตั้งโรงงาน
1.7 ปฏิบัติการวางผังโรงงาน
ผู้ประกอบการต้องนาหลักการวางผังโรงงาน ดังต่อไปนี้ไปดาเนินการ
1) ผังโรงงานประกอบไปด้วยระบบการผลิต ระบบการจัดเก็บ สาธารณูปโภค เส้นทาง
การขนถ่ายวัตถุดิบ ระบบบาบัดและกาจัดมลพิษ ส่วนอาคารสานักงาน และอื่นๆ ที่
อยู่ในโรงงาน
2) สภาพภูมิประเทศไม่เป็นพื้นที่เสี่ยงต่อความเสียหาย เช่น น้าท่วมสูงประจา เสี่ยงต่อ
ดินถล่ม ภัยแล้ง หรือสร้างปัญหา เช่น กลิ่น เสียง ให้กับชุมชนที่อยู่ใต้ลม
3) มีแหล่งวัตถุดิบที่สามารถส่งให้แก่โรงไฟฟูาได้ในปริมาณพอเพียง (กรณีใช้เปลือกไม้
และไม้สับเป็นเชื้อเพลิง ผู้ประกอบการควรพิจารณาถึงแหล่งที่มาของวัตถุดิบ โดย
วัตถุดิบไม้ที่นามาเป็นเชื้อเพลิงต้องไม่เป็นไม้ที่ผิดกฎหมาย เช่น ไม้ที่ลักลอบตัดจาก
ปุาสงวน เป็นต้น)
4) แนวกันชนควรมีระยะห่างระหว่างโรงงานและผู้รับผลกระทบตามความเหมาะสม ใน
กรณี ที่ โ รงงานอยู่ ใ กล้ เ คี ย งกั บ สาธารณสถาน สถาบั น การศึ ก ษา โรงพยาบาล
โบราณสถาน ต้องมีระยะห่างไม่น้อยกว่า 100 เมตร ตามประกาศของกรมโรงงาน
อุตสาหกรรม
5) เส้นทางขนส่งวัตถุดิบไม่ก่อความเดือดร้อนแก่ชุมชนที่การขนส่งผ่าน
6) แหล่งน้าดิบมีปริมาณเพียงพอแม้ในสภาวะแห้งแล้ง โดยการออกแบบบ่อกักน้าทั่วไป
เพื่อสารองปริมาณน้า 30 วัน (ปริมาณน้าที่ต้องคงไว้ที่ก้นบ่อประมาณ 20% ของ
ปริมาณน้าที่กักเก็บ ) และน้าที่สารองไว้ในระบบ เผื่ออีกประมาณ 3-7 วัน หาก
โรงงานตั้งอยู่ในพื้นที่มักประสบปัญหาภัยแล้ง ต้องออกแบบบ่อน้าให้สามารถกักน้า
ไว้ใช้นานกว่า 30 วัน
7) การออกแบบการใช้พื้นที่ภายในโรงงาน ต้องออกแบบและจัดเตรียมจุดรวมคน เพื่อ
รองรับคนในสภาวะฉุกเฉิน
8) การกาหนดพื้นที่สาหรับกิจกรรมที่ก่อให้เกิดกลิ่นรบกวน หรือก่อให้เกิดฝุุนไว้บริเ วณ
ใต้ลม

5
9) การจัดแบ่งพื้นที่สาหรับปลูกต้นไม้ท้องถิ่น เพื่อประโยชน์ในการควบคุมการชะล้าง
หน้ า ดิน การให้ ร่ ม เงาและประหยั ด พลั ง งาน การใช้ แ นวต้ น ไม้ ปิ ดบั ง โครงสร้ า ง
โรงงาน และความเขียวของต้นไม้ช่วยในด้านพักผ่อนจิตใจ

ที่มา: - พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535


- พระราชบัญญัติผังเมือง พ.ศ. 2518
- พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522
- พระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550

งานการพิจารณาความเหมาะสมของบริเวณที่ตั้งโรงงาน
1.8 ปฏิบัติการตรวจสอบผังบริเวณที่ตั้งโรงไฟฟ้า
ปฏิบัติการตรวจสอบการใช้ที่ดินบริเวณที่ตั้งโรงไฟฟูา ผู้ประกอบการต้อง
ดาเนินการ ดังนี้
1) ตรวจสอบความถูกต้องการใช้ที่ดินบริเวณที่ตั้งโรงงาน ดังนี้
- ในกรณีที่ตั้งอยู่ในเขตผังเมืองรวม ให้ตรวจสอบที่ตั้งของโรงไฟฟูาในเขตผังเมือง
รวมว่าอยู่ในเขตพื้นที่การใช้ประโยชน์ที่กาหนด และกรณีที่ตั้งโรงไฟฟูามีความ
สอดคล้ อ งกั บ ผั ง เมื อ ง ให้ ข อหลั ก ฐานการใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น จากหน่ ว ยงาน
รับผิดชอบส่วนท้องถิ่น ว่ามีความถูกต้องและสอดคล้ องกับข้อกาหนดทางผัง
เมือง
- ตรวจสอบบริเวณโดยรอบที่ จะทาการก่อสร้างบริเวณโรงงานเพื่อให้เป็นไปตาม
กฎกระทรวงฉบับที่ 2 ออกตาม พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ.2535 ที่ห้ามสร้างโรงงาน
ภายใน 100 เมตร จากเขตติดต่อสาธารณสถาน เช่น วัดหรือสาธารณสถาน
โรงเรียนหรือสถาบันการศึกษา รวมทั้งแหล่งอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทาง
สิ่ ง แวดล้ อ ม หรื อ พื้ นที่ คุ้ ม ครองสิ่ ง แวดล้ อ ม ตามประกาศกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่องกาหนดเขตพื้นที่และมาตรการคุ้มครอง
สิ่งแวดล้อมในบริเวณพื้นที่ต่างๆ
- ตรวจสอบใบอนุญาตก่อสร้างอาคาร จากหน่วยงานผู้ให้ใบอนุญ าตก่อสร้าง
อาคาร
2) ตรวจสอบเกี่ยวกับพื้นที่กันชนนอกที่ตั้งโรงไฟฟูาให้มีพื้นที่กันชน อย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 100 เมตร ตามที่กฎหมายกาหนด และรวมถึงสภาพแวดล้อมโดยรอบพื้นที่
โรงงานควรกาหนดให้มีแนวต้นไม้และรักษาแนวทางน้าเดิมเพื่อการระบายน้าผิวดิน

6
ที่มา: - ในการพิจารณาอนุญาตเกี่ยวกับที่ตั้งโครงการ จะต้องพิจารณาที่ตั้งโครงการเกี่ยวกับการใช้ที่ดินซึ่งมี
กฎหมายผังเมือง ตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับข้อกาหนดบังคับการ
ใช้ที่ดินในแต่ละบริเวณ และบังคับใช้ในท้องที่ใดๆ ให้กระทาโดยกฎกระทรวง ซึ่งมีอายุของการบังคับใช้ไม่
เกิน 5 ปี จะต้องมีการปรับปรุงแก้ไข
- พื้นที่กันชน (Buffer zone) หมายถึง พื้นที่ปุาไม้ พื้นที่ทุ่งนา พื้นที่สวน หรือพื้นที่ว่างเปล่า แล้วแต่ลักษณะ
ของพื้นที่และภูมิประเทศ เพื่อปูองกันชุมชนขยายตัวเข้ามาใกล้กับโรงไฟฟูาในอนาคต
- กฎกระทรวงฉบับที่ 2 ออกตาม พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ. 2535

7
2. ขั้นตอนการก่อสร้าง
งานการมีส่วนร่วมของประชาชนขณะก่อสร้าง
2.1 ปฏิบัติการให้ข้อมูลแก่ประชาชนและการสร้างทัศนคติที่ดีแก่ประชาชนในพื้นที่
มี ก ารแจ้ ง ข้ อ มู ล ความคื บ หน้ า ในการด าเนิ น การก่ อ สร้ า งโรงไฟฟู า
แก่ ป ระชาชนในพื้ น ที่ โ ดยรอบโรงไฟฟู า ในขณะการก่ อ สร้ า งโครงการ โดย
กระบวนการต่างๆ เช่น การนัดประชุมกลุ่มย่อย การอภิปรายสาธารณะ และการ
แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร เป็นต้น
2.2 ปฏิบัติการรับฟังความคิดเห็นและติดตามตรวจสอบ
1) การรับเรื่องร้องเรียนผลกระทบจากการก่อสร้างโครงการ โดยการดาเนินการอย่าง
น้อย 1 วิธี ดังนี้คือ การออกแบบสอบถาม การตั้งศูนย์รับเรื่องร้องเรียน การตั้งกล่อง
รับเรื่องร้องเรียนในบริเวณที่ทาการก่อสร้างและบริเวณศาลาประชาคมของชุมชน
การรับเรื่องร้องเรียนผ่านทางเว็บไซต์ หรือวิธีการอื่นๆ ที่มีความเหมาะสม เพื่อให้
ผู้ประกอบการดาเนินการแก้ไขต่อไป
2) หากมีเรื่องร้องเรียนของประชาชนให้ผู้ประกอบการเตรียมการเพื่อหามาตรการใน
การแก้ไข และภายหลัง การดาเนินการแล้วเสร็จให้ดาเนินการส่งเรื่องร้องเรียนต่างๆ
ให้แก่หน่วยงานที่รับผิดชอบ
2.3 ปฏิบัติการการมีส่วนร่วมในการติดตามการด่าเนินกิจการ
1) การพบปะผู้นาชุมชนเดือนละ 1 ครั้ง เพื่อดาเนินการติดตามแผนการดาเนินกิจการ
ของโรงไฟฟูา
2) การก่อตั้งกลุ่มองค์กรเฉพาะกิจเพื่อพิจารณาประเด็นต่างๆ รวมทั้งข้อถกเถียง ข้อ
หารื อ ต่ า งๆ โดยกลุ่ ม องค์ ก รเฉพาะกิ จ ประกอบไปด้ ว ย ประชาชนในพื้ น ที่
นักวิชาการ ผู้ประกอบการ และตัวแทนจากสานักงานคณะกรรมการกากับกิจการ
พลังงานในพื้นทีอ่ ย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
3) มีการรายงานความก้าวหน้าของโครงการและการดาเนินการในขั้นตอนต่อไปให้แก่
ประชาชนในพื้นที่ได้รับข้อมูลข่าวสารการดาเนินการของโครงการผ่านสื่อต่างๆที่
เหมาะสม
4) มีการปฏิบัติการมวลชนสัมพันธ์ด้วยวิธีการอื่นๆ

8
วัตถุประสงค์: มาตรการด้านมวลชนสัมพันธ์ เป็นมาตรการเชิงปูองกันโดยการสร้างความเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นภายใน
ระบบจิตของมนุษย์ ซึ่งจะเป็นกระบวนการที่มีผลต่อความเชื่อ (belief) ความคิด (thinking) และศรัทธา (faith)
เพื่อให้การประกอบกิจการโรงไฟฟูาสามารถอยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่างยั่งยืน
ที่มา: - การดาเนินการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนใช้สิทธิตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
ในมาตรา 46 และมาตรา 47 และสิทธิตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 ตามมาตรา 11
- ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548
- พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535

งานปฏิบัติการด้านการป้องกันน้่าเสีย
2.4 ปฏิบัติการด้านการจัดการน้่าเสีย
ผู้ประกอบการต้องกาหนดให้ผู้รับเหมามีการจัดการน้าเสียในพื้นที่ก่อสร้าง
โดยให้มีการดาเนินการ ดังนี้
1) กาหนดที่ตั้งของจุดรวบรวมน้าทิ้ง ในพื้นที่ก่อสร้าง ห่างจากแหล่งน้าธรรมชาติ และ
แหล่ งน้ าใช้ส าธารณะอย่างน้อย 50 เมตร หรือมี บ่อพักน้าเสียที่บาบัดแล้ ว (เป็น
ทางเลือก)
2) จัดสร้างระบบบาบัดน้าเสียจากกิจกรรมการใช้น้าในที่พักคนงานและสานักงาน แล้ว
ดาเนินการบาบัดน้าเสียก่อนปล่อยทิ้ง โดยคุณภาพน้าเสียที่ปล่อยต้องเป็นไปตาม
มาตรฐานคุณภาพน้าทิ้งของกระทรวงอุตสาหกรรม
3) กิจกรรมที่ก่อให้เกิดน้ามันหกปนเปื้อนพื้น ต้องมีการดาเนินการปูองกันน้ามัน ไม่ให้
ปนเปื้อนกับน้าฝนที่หลากมาตามผิวดิน เช่น ทาคันกั้น ร่อง หรือมีการเตรียมพื้นที่
เฉพาะสาหรับซ่อมบารุงเครื่องยนต์
4) มาตรการจัดการน้าเสียที่เหมาะสมอื่นๆ

วัตถุประสงค์: เพื่อควบคุมและตรวจสอบการจัดการน้าเสียในพื้นที่ก่อสร้างภายในโรงงาน
ที่มา: - พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535
- พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
- พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535

9
งานปฏิบัติการด้านการป้องกันฝุ่น
2.5 ปฏิบัติการควบคุมฝุ่น
1) ผู้ประกอบการต้องกาหนดให้ผู้รับเหมามีการจัดการควบคุมฝุุน โดยให้ผู้รับเหมาต้อง
จัดทาแผนงานการควบคุมดูแลปูองกันปัญหาฝุุนจากการก่อสร้างอาคาร ถนนและ
ระบบสาธารณูปโภค การขนส่งและบรรทุกวัสดุก่อสร้างต่างๆ
2) ให้ผู้ประกอบการกาหนดให้ผู้รับเหมาก่อสร้างสามารถแสดงผลการดาเนินการตาม
แผนงานการควบคุม ดูแลปูองกันปัญหาฝุุนจากการก่อสร้างอาคาร ถนนและระบบ
สาธารณูปโภค การขนส่งและบรรทุกวัสดุก่อสร้างต่างๆ ดังที่ได้เสนอต่อกรมควบคุม
มลพิษ ในขั้นตอนก่อนการก่อสร้าง
3) ผู้รับเหมาก่อสร้างต้องส่งรายงานบันทึกการปฏิบัติงานตามแผนงานการควบคุมดูแล
ปูองกันปัญหาฝุุนจากการก่อสร้างอาคาร ถนนและระบบสาธารณูปโภค การขนส่ง
และบรรทุกวัสดุก่อสร้างต่างๆ ให้ผู้ประกอบการโรงไฟฟูา เพื่อเก็บ ข้อมูลไว้เป็น
หลักฐานหากมีการเรียกตรวจโดยเจ้าหน้าที่
2.6 ปฏิบัติการติดตามและตรวจสอบปัญหาฝุ่นละออง
ผู้ประกอบการต้องรับผิดชอบในการดาเนินการติดตามและตรวจสอบปัญหา
ฝุุนละออง ในกรณีที่มีข้อ ร้องเรียนปัญหาฝุุนละอองเกิดขึ้น จากการก่อสร้างของ
โรงงานไฟฟูา

วัตถุประสงค์: เพื่อควบคุมและตรวจสอบการจัดการฝุุนในพื้นที่ก่อสร้างภายในโรงงาน
ที่มา: - ตาม “ระเบียบและข้อปฏิบัติในการควบคุมฝุุนละอองจากการก่อสร้างประเภทต่างๆ” จัดทาโดยสานัก
จัดการคุณภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535
- พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
- พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535

งานปฏิบัติการด้านของเสีย
2.7 ปฏิบัติการก่าจัดของเสียจากที่พักคนงาน
1) ผู้รับเหมาก่อสร้างต้องจัดวางถังขยะให้เพียงพอกับจานวนคนที่อยู่ในที่พักคนงาน
และส่ ว นส านั ก งาน และมี ก ารคั ด แยกขยะโดยแบ่ ง ภาชนะรองรั บ ที่ มี ปู า ยแสดง
ประเภทขยะอย่างชัดเจน
2) จัดทาแผนการจัดเก็บขยะโดยกาหนดวันและเวลาที่หน่วยงานท้องถิ่นมารับขยะไป

10
3) มีการวางระบบสุขาภิบาลเพื่อมารองรับการจัดการของเสียที่มาจากบ้านพักคนงาน
เช่นห้องสุขา หรือบ่อเกรอะ-บ่อซึม เป็นต้น
4) การกาจัดของเสียจากที่พักคนงานด้วยวิธีการอื่นๆ เพิ่มเติม
2.8 ปฏิบัติการก่าจัดขยะก่อสร้างจากกิจกรรมก่อสร้าง
1) มีการเก็บรวบรวมขยะ/เศษวัสดุก่อสร้างที่ไม่เข้าข่ายเป็นวัตถุอันตราย เช่น กองเศษ
ไม้ กองเศษพลาสติก กองเศษผ้า โลหะ ปูนและอื่นๆ ต้องมีการเก็บขยะและรวบรวม
อยู่ในบริเวณที่กาหนดให้เป็นที่กองเศษวัสดุก่อสร้าง
2) มีการจัดการเรื่องการปูองกันไฟไหม้บริเวณที่กาหนดให้เป็นที่จัดเก็บกองขยะวัสดุ
ก่อสร้าง
3) จัดทาแผนการเก็ บขนขยะวัสดุก่อสร้าง โดยการกาหนดวันและเวลาที่หน่วยงาน
ท้องถิ่นมาเก็บขนออกจากพื้นที่โรงงาน
4) การกาจัดขยะก่อสร้างจากกิจกรรมก่อสร้างที่เหมาะสมอื่นๆ (ถ้ามี)
2.9 ปฏิบัติการก่าจัดขยะอันตรายจากกิจกรรมก่อสร้าง
1) ผู้รับเหมาต้องกาหนดประเภทขยะอันตราย เช่น วัสดุไวไฟ วัสดุระเบิดง่าย วัสดุมีพิษ
วัสดุกัดกร่อน ให้อยู่ในพื้นที่จัดเตรียม
2) ผู้ รั บ เหมาต้ อ งจั ด เตรี ย มพื้ น ที่ ส าหรั บ ของอั น ตรายที่ แ ยกออกจากกิ จ กรรมอื่ น ๆ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งต้องไกลจากร้านอาหาร ที่พักคนงานและอาคารสานักงาน ที่เก็บ
ขยะอันตรายจะต้องมีหลังคาปกปิดมิดชิด และมีปูายแจ้งว่าเป็นสถานที่เก็บรวบรวม
ขยะอันตรายที่สามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจน
3) ผู้รับเหมาต้องกาหนดวิธีปฏิบัติงานเรื่องการแยกทิ้งของอันตรายและอบรมให้คนงาน
ที่เกี่ยวข้องมีความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะอันตราย
4) ผู้รับเหมาต้องบันทึกประเภทของขยะอันตรายและปริมาณขยะอันตรายที่เกิดขึ้น
5) ผู้รับเหมาต้องกาหนดวันและเวลาในการเก็บขนโดยบริษัทที่ได้รับอนุญาตในการเก็บ
ขนและกาจัดขยะอันตราย
6) การดาเนินการอื่นๆ (ถ้ามี)

วัตถุประสงค์: เพื่อควบคุมและตรวจสอบการจัดการด้านของเสียในพื้นที่ก่อสร้างภายในโรงงาน
ที่มา: - พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535
- พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535
- พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535

11
งานปฏิบัติการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
2.10 ปฏิบัติการจัดอบรมให้ความรู้แก่คนงานและพนักงาน
1) ผู้รับเหมาต้องมีการอบรมคนงานและพนักงานให้มีความรู้เรื่องการดูแลสุขอนามัย
และความปลอดภัยขณะทางาน เช่น การอบรมการใช้อุปกรณ์ปูองกันตนเอง เช่ น ที่
อุดหู ถุงมือ แว่นตาและรองเท้า เป็นต้น
2) ผู้รับเหมาต้องให้ข้อมูลเรื่องการจัดระเบียบภายในสถานที่พักให้ถูกสุขลักษณะ เช่น
ที่ซักล้างและส้วม
3) ผู้รับเหมาต้องให้ข้อมูลเรื่องการปฏิบัติตนเบื้องต้นเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เช่น อุบัติเหตุ
ไฟไหม้ พร้อมแจ้งเบอร์ผู้รับผิดชอบหรือหน่วยงานกู้ภัย
4) ผู้รับเหมาต้องให้ข้อมูลเรื่องบทลงโทษในกรณีที่คนงานและพนักงานฝุาฝืนระเบียบ
2.11 ปฏิบัติการเตรียมการทางด้านกายภาพอื่นๆ เพื่อความปลอดภัยในการท่างาน
1) ผู้รับเหมาต้องจัดทาผังเส้นทางจราจรภายในพื้นที่โรงงาน ตาแหน่งที่พัก สานักงาน
อาคารเก็ บ วั ส ดุ พื้ น ที่ ก องขยะ ต าแหน่ ง เก็ บ ชิ้ น ขยะไปก าจั ด พื้ น ที่ ส าหรั บ
บุคคลภายนอกติดต่อโรงงาน
2) ผู้รับเหมาต้องจัดเตรียมระบบการอนุญาตเข้า -ออกพื้นที่ก่อสร้าง เช่น การล้อมรั้ว
การให้บัตรผ่าน เป็นต้น พร้อมทั้งจัดเวรยามรักษาความปลอดภัยและคอยตรวจตรา
ในบริเวณทั่วๆ ไป ภายในพื้นที่โครงการ
3) ผู้รับเหมาต้องก าหนดบริเวณพื้นที่ก่อสร้างที่ชัดเจน เช่น เขตก่อสร้าง เขตจัดเก็บ
อุปกรณ์/เครื่องมือก่อสร้าง เขตกองเก็บวัสดุอุปกรณ์ไม่ใช้แล้ว รวมทั้ง จัดให้มีปูาย
เตือนภัยในบริเวณพื้นที่ก่อสร้างและพื้นที่ที่มีความเข้มงวดในด้านความปลอดภัย
4) ผู้รับเหมาต้องจัดเตรียมแสงสว่างและการระบายอากาศ
5) ผู้รับเหมาต้อ งจั ดเตรียมอุปกรณ์ดับเพลิ ง กล่ องปฐมพยาบาลเบื้องต้น ให้มีความ
พร้อมใช้ตลอดเวลา
6) ผู้รับเหมาต้องจัดเตรียมเอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมีสาหรับสารเคมีที่ใช้ใน
พื้นที่โรงงาน และกาหนดผู้รับผิดชอบในการปฏิบัติการกาจัดสารเคมี
7) การดาเนินการอื่นๆ (ถ้ามี)

วัตถุประสงค์: เพื่อควบคุมและตรวจสอบการจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยภายในโรงงาน
ที่มา: - พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
- พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535

12
งานปฏิบัติการด้านการป้องกันเสียง
2.12 ปฏิบัติการควบคุมมลพิษทางเสียง
1) ผู้ประกอบการต้อ งกาหนดให้ผู้รับเหมาก่อสร้างจั ดทาแผนการซ่อมบารุง อุปกรณ์
เครื่องจักร ให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้อย่างปลอดภัย ต้องซ่อมบารุงอุปกรณ์ค รอบ
ส่วนกาเนิดเสียง (muffler) ของเครื่องจักรให้อยู่ในสภาพที่ดี
2) แผนงานการควบคุมมลพิษทางเสียงจะต้องระบุให้มีการติดตั้งกาแพงกั้นเสียงในจุด
ทางานที่มีเสียงดัง เช่น เครื่องปั่นไฟ วัสดุที่สามารถเป็นกาแพงกั้นเสียงได้ เช่น รั้ว
ทึบสูง 2 เมตร หรือคันดิน หรือแนวต้นไม้ที่ ขึ้นทึบ หรือวิธีการลดเสี ยงอื่นๆ ที่
เหมาะสม
3) กาหนดเวลาทางานที่ต้องใช้เครื่องจักรหรืออุปกรณ์ที่ให้เสียงดังให้อยู่ในช่วงเวลา
กลางวัน
4) พนักงานที่ต้องทางานในพื้นที่เสียงดังต้องใส่อุปกรณ์กันเสียง
2.13 ปฏิบัติการติดตามและตรวจสอบมลพิษทางเสียง
ผู้ประกอบการต้องรับผิดชอบในการดาเนินการติดตามและตรวจสอบปัญหา
มลพิษทางเสียง ในกรณีที่มีข้อร้องเรียนปัญหามลพิษทางเสียงจากการก่อสร้าง โดย
การตรวจวัดเพื่อเทียบกับค่ามาตรฐานเสียงในบรรยากาศทั่วไป ตามประกาศ
คณะกรรมการสิ่ งแวดล้ อมแห่งชาติ ฉบับที่ 15 พ.ศ. 2540 หรือมาตรฐานใดๆ ที่
เข้มงวดกว่า
1) ค่าระดับเสียงสูงสุดไม่เกิน 115 เดซิเบล
2) ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ไม่เกิน 70 เดซิเบล

วัตถุประสงค์: เพื่อควบคุมและตรวจสอบการจัดการด้านการควบคุมมลพิษทางเสียงภายในโรงงาน
ที่มา - พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
- พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535

13
3. ขั้นตอนการด่าเนินการผลิตไฟฟ้า
งานการมีส่วนร่วมของประชาชน
3.1 ปฏิบัติการมวลชนสัมพันธ์
1) มีจัดกิจกรรมมวลชนสัมพันธ์ระหว่างผู้ประกอบการและประชาชนในพื้นที่อย่างน้อยปี
ละ 2 ครั้ง
2) มี ก ารก่ อ ตั้ ง เงิ น ทุ น ประกั น ส าหรั บ ผู้ ที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบจากการด าเนิ น การของ
โรงไฟฟูา โดยดาเนินการในลักษณะขององค์กรพิเศษ ซึ่งประกอบไปด้วย ตัวแทน
ประชาชนในพื้ น ที่ ผู้ ป ระกอบการ ตั ว แทนจากองค์ ก ารอิ ส ระ และตั ว แทนจาก
ส านั ก งานคณะกรรมการก ากั บ กิ จ การพลั ง งาน องค์ ก รพิ เ ศษจะเป็ น องค์ ก รที่
พิ จ ารณาถึ ง ผลกระทบที่ ป ระชาชนได้ รั บ จากการด าเนิ น การของโรงไฟฟู า ตาม
ข้ อ ตกลงที่ ท างผู้ ป ระกอบการให้ ไ ว้ ในขั้ น ตอนก่ อ นการก่ อ สร้ า ง และหาก
ผู้ประกอบการไม่ดาเนินการตาม ให้ส่งเรื่องแก่สานักงานคณะกรรมการกากับกิจการ
พลังงานต่อไป
3) การตั้งศูนย์รับเรื่องร้องเรียน เพื่อรับฟังข้อร้องเรียนของประชาชนในพื้นที่ และหากมี
ข้อร้องเรียนให้ดาเนินการส่งเรื่องต่อ แก่หน่วยงานที่รับผิดชอบ
4) กิจกรรมมวลชนสัมพันธ์ระหว่างผู้ประกอบการและประชาชนอื่นๆ เพิ่มเติม(ถ้ามี)
3.2 ปฏิบัติการรับฟังความคิดเห็นและติดตามตรวจสอบ
ในกรณีทมี่ ีการร้องเรียนของประชาชนในพื้นที่ ผู้ประกอบการต้องมีการ
ดาเนินการ ดังนี้
1) มี ก ารจั ด ตั้ ง คณะกรรมการติ ด ตามและตรวจสอบการด าเนิ น การของโรงไฟฟู า
คณะกรรมการประกอบไปด้วยผู้ประกอบการ เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบในท้องถิ่น และ
ตัวแทนประชาชนที่ได้รับผลกระทบ
2) มี ก ารหารื อ ร่ วมกั น เพื่ อ แก้ ไ ขผลกระทบที่ เกิ ด ขึ้ น ผ่า นทางคณะกรรมการติ ด ตาม
ตรวจสอบ และผู้ประกอบการดาเนินการแก้ไขตามมาตรการต่างๆ ที่เหมาะสม
3) ประกาศสรุปผลการหารือร่วมกันผ่านช่องทางต่างๆ ที่เหมาะสม เป็นระยะเวลาอย่าง
น้อย 30 วัน โดยผลสรุปการหารือ ประกอบไปด้วย ประเด็นผลกระทบ หรือการ
ร้องเรียนของประชาชน มาตรการในการแก้ไข และลดผลกระทบที่เกิดขึ้น
4) จัดส่งข้อมูลให้หน่วยงานที่รับผิดชอบเพื่อดาเนินการต่อไป

14
วัตถุประสงค์: การให้ความรู้ ข้อมูล และข่าวสารแก่ประชาชนเพื่อให้ประชาชนมีความเข้าใจต่อโครงการโรงไฟฟูาที่จะ
เกิดขึ้นอย่างถูกต้อง และโครงการสามารถดาเนินการอยู่ร่วมกับประชาชนภายในพื้นที่ได้
ที่มา: - การดาเนินการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนใช้สิทธิตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
ในมาตรา 46 และมาตรา 47 และสิทธิตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 ตามมาตรา 11
- ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548

งานด่าเนินการผลิตปกติ
เป็น ลั ก ษณะงานต้องด าเนินการทุกวัน ซึ่ง จะต้องมี กาหนดรายการที่จ ะต้อ ง
ตรวจสอบและบันทึกเป็นประจา (Routine Inspection) (ไม่รวมการปิดซ่อมบารุง)
งานที่ระบบการเตรียมวัสดุเชื้อเพลิง
(ให้ยกเว้นในกรณีใช้วัตถุดิบแกลบเป็นเชื้อเพลิง)
3.3 ปฏิบัติการควบคุมฝุ่นจากการเตรียมวัสดุเชื้อเพลิง
ผู้ประกอบการต้องดาเนินการดังต่อไปนี้
1) กาหนดวิธีการตรวจสอบความสะอาดของพื้นที่ที่เตรียมวัตถุดิบเชื้อเพลิงชีวมวลให้
สามารถตรวจสอบ ดังนี้
- ความสะอาดของพื้นที่เตรียมวัตถุดิบเชื้อเพลิง ต้องไม่มีเศษฝุุนจากวัตถุดิบชีวมวล
คั่งค้าง
2) มีการดาเนินการปูองกันฝุุนฟุูงกระจายจากการพัดปลิวอื่นๆ แทนหรือเสริม เช่น การ
จัดวางอุปกรณ์ ชั้นวางสิ่งของต่างๆ หรือผนังโครงสร้างอาคารอื่นที่สามารถกาบัง
ทิศทางลมที่จะพัดให้ฝุนจากวัตถุดิบชีวมวลฟุูงกระจายออกจากพื้นที่ที่เตรียมวัตถุดิบ
เชื้อเพลิง
3) การควบคุมฝุุนด้วยวิธีการอื่นๆ (ถ้ามี)
4) บันทึกผลการตรวจสอบประจาวัน
3.4 ปฏิบัติการควบคุมมลพิษทางเสียงจากการเตรียมวัสดุเชื้อเพลิง
ผู้ประกอบการต้องดาเนินการดังต่อไปนี้
1) พนักงานที่ต้องทางานในพื้นที่เสียงดังต้องใส่อุปกรณ์กันเสียง และทางานในพื้นที่ไม่
เกินระยะเวลาที่กฎหมายกาหนด
2) กรณีสาเหตุเสียงดังผิดปกติต้องรีบแก้ไขที่สาเหตุ เช่น ใช้ยางหนุน จัดวางเครื่องให้
สมดุล ใช้อุปกรณ์คลุม ใช้แผ่นตรวจประเมินมลพิษทางเสียง ฯลฯ
3) การควบคุมมลพิษทางเสียงด้วยวิธีการอื่นๆ (ถ้ามี)

15
4) บันทึก ผลการตรวจสอบการใช้อุปกรณ์ปูองกันเสียง และการแก้ไขปัญหาเสี ยงดัง
(ถ้ามี)
งานที่ระบบการขนส่งและกักเก็บวัสดุเชื้อเพลิง
3.5 ปฏิบัติการควบคุมฝุ่นที่ระบบการขนส่งและกักเก็บวัสดุเชื้อเพลิง
ผู้ประกอบการต้องดาเนินการดังต่อไปนี้
1) กรณี แหล่ งวัตถุดิบชีวมวลอยู่นอกพื้นที่โรงไฟฟูาระบบการขนส่ งที่เป็นระบบปิดต้อง
เป็นไปตามที่กฎหมายกาหนด
2) ตรวจสอบวัสดุคลุมวัตถุดิบชีวมวลของรถบรรทุกก่อนออกเดินทางและบันทึกผลการ
ตรวจสอบทุกครั้ง
3) ในกรณีที่เส้นทางการขนส่งวัตถุดิบชีวมวลจากแหล่งกาเนิดและโรงไฟฟูาอยู่ในพื้น
เดียวกัน ให้หลีกเลี่ยงเส้นทางวิ่งที่ผ่านสถานที่มีพนักงานโรงงานที่มีโอกาสสัมผัสฝุุน
จากวัตถุดิบชีวมวลขณะรถบรรทุกวิ่งผ่าน หากกรณีที่แหล่งกาเนิดวัตถุดิบชีวมวลอยู่
นอกพื้นที่โรงงาน รถบรรทุกวัตถุดิบชีวมวลต้องมีวัสดุคลุมที่มิดชิด ตามกฎหมายระบุ
โดยหลีกเลี่ยงชุมชน และช่วงเวลาที่มีประชาชนเป็นจานวนมากอยู่ในเส้นทางที่การ
ขนส่งผ่าน เช่น ช่วงเวลาเช้า-เย็น หรือเวลาโรงเรียนเลิก
4) กาหนดวิธีการตรวจสอบความสะอาดของพื้นที่จอดรถบรรทุกวัตถุดิบชีวมวลระหว่าง
รอขนถ่ายและโรงกักเก็บ ให้สามารถดาเนินตรวจสอบ ดังนี้
- พื้นมีความสะอาดไม่มีเศษฝุุนจากวัตถุดิบชีวมวลหล่นจนก่อให้เกิดฝุุนฟุูงกระจาย
- พื้นที่ไม่มีการลาดยางหรือเทปูน ต้องมีการฉีดพรมน้าให้พื้นชื้นเพื่อควบคุมฝุุน
ไม่ให้ฟุูงกระจาย
5) จัดหาวัสดุคลุ มส าหรับคลุ ม วัตถุดิบชีวมวลกรณีเกิดลมพัดแรง เช่น พลาสติกหรือ
ผ้าใบ หรือมีการดาเนินปูองกันฝุุนฟุูงกระจายจากการพัดปลิวอื่นๆ แทนหรือเสริม
เช่น การจัดวางอุปกรณ์ ชั้นวางสิ่งของต่างๆ หรือผนังโครงสร้างอาคารอื่นที่สามารถ
กาบังทิศทางลมที่จะพัดให้ฝุนจากวัตถุดิบชีวมวลฟุูงกระจายออกจากโรงเก็บ
6) กาหนดวิธีการตรวจสอบความสะอาดของพื้นที่จอดรถบรรทุก วัตถุดิบชีวมวลระหว่าง
รอขนถ่าย ให้สามารถดาเนินตรวจสอบ ดังนี้
- พื้นมีความสะอาดไม่มีเศษฝุุนจากวัตถุดิบชีวมวลหล่นจนก่อให้เกิดฝุุนฟุูงกระจาย
- พื้นที่ไม่มีการลาดยางหรือเทปูน ต้องมีการฉีดพรมน้าให้พื้นชื้นเพื่อควบคุมฝุุน
ไม่ให้ฟุูงกระจาย
7) บันทึกผลการตรวจสอบทุกวัน

16
8) วิธีการควบคุมฝุุนอื่นๆ ตามความเหมาะสม
3.6 ปฏิบัติการควบคุมมลพิษทางเสียงจากการขนส่งและที่กักเก็บวัสดุเชื้อเพลิง
มลพิษทางเสียงจากการขนส่งนั้น เกิดจากเสียงดังจากเครื่องยนต์ การเสียดสี
หรือแรงกระแทกของเหล็ก ขณะขนส่ง มลพิษทางเสียงจากการขนส่งจึงไม่ขึ้นกับ
ระบบการขนส่งแบบปิดหรือแบบปิด ในขณะที่กักเก็บวัสดุเชื้อเพลิงที่เป็นแบบเปิด ที่
มีโอกาสให้เสียงดัง
ผู้ประกอบการต้องดาเนินการดังต่อไปนี้
1) จัดเตรียมการปูองกันเสียงดังจากโรงกักเก็บ วัตถุดิบชีวมวล เช่น มีกาแพงกันเสียง
โดยที่ ก าแพงกั้ น เสี ย งสามารถเลื อ กใช้ ไ ด้ ห ลายวิ ธี ก ารตามความเหมาะสมของ
โรงไฟฟูา เช่น
- ปลูกแผงต้นไม้กั้นแหล่งกาเนิดเสียงและผู้รับเสียง
- ทาผนังกั้นแหล่งกาเนิดเสียงและผู้รับเสียง
- การวางแผงชั้นวางของกั้นแหล่งกาเนิดเสียงและผู้รับเสียง
- วิธีการอื่นๆ ที่สามารถควบคุมมลพิษทางเสียงลงได้
2) พนักงานที่ต้องทางานในพื้นที่เสียงดังต้องใส่อุปกรณ์กันเสียง และทางานในพื้นที่
ไม่เกินระยะเวลาที่กฎหมายกาหนด
3) กรณีสาเหตุเสียงดังผิดปกติต้องรีบแก้ไขที่สาเหตุ เช่น ใช้ยางหนุน จัดวางเครื่องให้
สมดุล ใช้อุปกรณ์คลุม ใช้แผ่นตรวจประเมินมลพิษทางเสียง ฯลฯ
4) การควบคุมเสียงด้วยวิธีการอื่นๆ (ถ้ามี)
5) บันทึกผลการตรวจสอบการใช้อุปกรณ์ปูองกันเสียง บันทึกการแก้ไขปัญหาเสียงดัง

วัตถุประสงค์: เพื่อควบคุมการจัดการฝุุนและเสียงจากการขนส่งและที่กักเก็บวัสดุเชื้อเพลิง
ที่มา: - พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535

งานที่ระบบป้อนวัตถุดิบชีวมวลเข้าเตาเผา เตาเผาและระบบบ่าบัดอากาศเสีย
3.7 ปฏิบัติการควบคุมฝุ่นที่ระบบป้อนวัตถุดิบชีวมวลเข้าเตาเผาที่เป็นระบบเปิด
ผู้ประกอบการต้องดาเนินการดังต่อไปนี้
1) กาหนดวิธีการตรวจสอบความสะอาดของพื้นใต้ระบบลาเลียงที่เชื่อมไปยังเตาเผา
โดยให้สามารถตรวจสอบ ดังนี้
- ความสะอาดของระบบลาเลียงที่ไม่มีเศษฝุุนจากวัตถุดิบชีวมวลคั่งค้าง

17
- ความสะอาดของพื้นใต้ระบบลาเลียงที่ไม่มีเศษฝุุนจากวัตถุดิบชีวมวลคั่งค้าง
2) กรณี พ บว่าระบบล าเลี ยงแบบเปิดก่อปัญ หาฝุุน จากวัตถุดิบชีวมวลฟุูงกระจายให้
ผู้ประกอบการแก้ไขให้เป็นกึ่งระบบปิด หรือเป็นระบบปิด หรือวิธีการใดๆ ที่ทาให้การ
ลาเลียงที่ไม่มีเศษฝุุนคั่งค้าง
3) การควบคุมฝุุนด้วยวิธีการอื่นๆ (ถ้ามี)
4) บันทึกผลการตรวจสอบประจาวัน
ที่มา: - พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535

3.8 ปฏิบัติการควบคุมฝุ่นที่ระบบเตาเผา
ผู้ประกอบการต้องดาเนินการตรวจสอบประสิทธิภาพเตาเผาให้เป็นไปตาม
ข้อกาหนดการออกแบบ โดยการตรวจสอบ
1) การทางานของลมเข้าในระบบเผาปกติ
2) การทางานของตะกรับปกติ
3) ความชื้นของวัตถุดิบชีวมวลอยู่ในช่วงค่าที่ยอมรับได้ก่อนส่งเข้าเตาเผา
4) ปริมาณสารองวัตถุดิบชีวมวลให้เพียงพอต่อการเผาต่อเนื่องเพื่อเลี่ยงช่วง start-up
ระบบ
5) ตรวจสอบอุณหภูมิในห้องเผาว่าอยู่ในสภาพปกติ
6) ตรวจสอบองค์ประกอบอื่นๆ ที่ช่วยในการควบคุมประสิทธิภาพการเผาให้อยู่ในช่วง
ประสิทธิภาพที่ออกแบบไว้
7) กรณีเตาเผาเกิดการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ บันทึกสาเหตุ วิธีการแก้ไข
3.9 ปฏิบัติการให้ความรู้การควบคุมฝุ่นที่ระบบเตาเผา
ผู้ประกอบการจัดทาแผนการอบรมผู้ดูแลระบบและผู้เกี่ยวข้องในการทางาน
ของระบบในสภาพปกติ แ ละในกรณีพ บข้อ ผิด ปกติ พร้ อ มวิ ธี การซ่อ มแซม และ
แผนการซ่อมบารุงเพื่อรักษาประสิทธิภาพของเตาเผา

ที่มา: - พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535

3.10 ปฏิบัติการควบคุมฝุ่นที่ระบบบ่าบัดอากาศเสีย
หากกรณีที่เตาเผามีประสิทธิภาพการเผาไหม้เปลี่ยนแปลงไป ปริมาณขี้เถ้า
ลอยที่ต้องกาจัดที่ระบบบาบัดจะสูงมากขึ้น ดังนั้น การดูแลระบบบาบัดให้ทางานได้

18
อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพจะเป็ น หนทางที่ ช่ ว ยควบคุ ม ฝุุ น ที่ จ ะปล่ อ ยออกจากปล่ อ ง
ผู้ประกอบการจึงควรดาเนินการดังนี้
1) ตรวจสอบระบบการทางานของระบบบาบัดอากาศเสีย
2) กรณีพบข้อผิดปกติให้ผู้รับผิดชอบ (วิศวกร) ดาเนินการแก้ไขเร่งด่วน
3) บันทึกการตรวจ ผลการตรวจสอบระบบและข้อผิดปกติที่พบ
4) แจ้งหน่วยงานที่รับผิดชอบกรณีที่ระบบบาบัดไม่สามารถทางานได้ตามวัตถุประสงค์
ภายใน 3 วัน และดาเนินการแก้ไขเพื่อให้ระบบสามารถทางานได้ปกติ
5) การควบคุมฝุุนด้วยวิธีการอื่นๆ (ถ้ามี)
3.11 ปฏิบัติการให้ความรู้การควบคุมฝุ่นที่ระบบบ่าบัดอากาศเสีย
ผู้ประกอบการจัดทาแผนการอบรมผู้ดูแลระบบบาบัดและผู้เกี่ยวข้องในการ
รักษาประสิทธิภาพการทางานของระบบบาบัดอากาศเสียในสภาพปกติ ในกรณีพบ
ข้อผิดปกติ พร้อมวิธีการซ่อมแซม และแผนการซ่อมบารุงเพื่อเลี่ยงการหยุดระบบ

ที่มา: - พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535


- พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535

3.12 ปฏิบัติการควบคุมมลพิษทางเสียงที่ระบบป้อนวัตถุดิบชีวมวลเข้าเตาเผาที่เป็น
ระบบปิด
ผู้ประกอบการต้องดาเนินการดังต่อไปนี้
1) พนักงานที่ต้องทางานในพื้นที่เสียงดังต้องใส่อุปกรณ์กันเสียง เช่น ที่อุดหู หรือครอบ
หูปูองกันเสียงดัง เป็นต้น
2) หากเกิดเสียงดังผิดปกติต้องรีบแก้ไขที่สาเหตุ เช่น ใช้ยางหนุน จัดวางเครื่องให้สมดุล
ใช้อุปกรณ์คลุม ใช้แผ่นตรวจประเมินมลพิษทางเสียง ฯลฯ
3) การควบคุมมลพิษทางเสียงด้วยวิธีการอื่นๆ (ถ้ามี)
4) บันทึกผลการตรวจสอบการใช้อุปกรณ์ปูองกันเสียง บันทึกการแก้ไขปัญหาเสียงดัง
3.13 ปฏิบัติการควบคุมมลพิษทางเสียงที่ระบบป้อนวัตถุดิบชีวมวลเข้าเตาเผา
ที่เป็นระบบเปิด
ผู้ประกอบการต้องดาเนินการดังต่อไปนี้

19
1) จั ดเตรี ย มพื้ น ที่มี ก าแพงกั น เสี ยง โดยที่กาแพงกั น เสี ยงสามารถเลื อ กใช้ไ ด้หลาย
วิธีการ
- ปลูกแผงต้นไม้กั้นแหล่งกาเนิดเสียงและผู้รับเสียง
- ทาผนังกั้นแหล่งกาเนิดเสียงและผู้รับเสียง
- การวางแผงหรือชั้นวางสิ่งของต่างๆ กั้นแหล่งกาเนิดเสียงและผู้รับเสียง
- วิธีการอื่นใดที่สามารถควบคุมมลพิษทางเสียงลงได้
2) ตรวจสอบพนักงานที่ต้องทางานในพื้นที่เสียงดังต้องใส่อุปกรณ์กั นเสียง และบันทึก
การใช้อุปกรณ์ปูองกันเสียง
3) กรณีสาเหตุเสียงดังผิดปกติต้องรีบแก้ไขที่สาเหตุ เช่น ใช้ยางหนุน จัดวางเครื่องให้
สมดุล ใช้อุปกรณ์คลุม ใช้แผ่นตรวจประเมินมลพิษทางเสียง ฯลฯ
4) หากสามารถลดเสียงจากการลาเลียงด้วยการเปลี่ยนเป็นระบบปิด ให้ผู้ประกอบการ
ประเมินความเป็นไปได้ในการลดผลกระทบอื่นๆ โดยใช้แผ่นตรวจสอบมลพิษทาง
เสียง (Noise Inspection Sheet) ในการปูองกันที่ผู้รับผลกระทบ (Receiver) หรือ
จั ด การที่ ตั ว กลาง (Path) ที่ มี ค วามเหมาะสมมากกว่ า ลดเสี ย งที่ ต้ น ก าเนิ ด
(Noise Source)
5) การควบคุมมลพิษทางเสียงด้วยวิธีการอื่นๆ (ถ้ามี)
3.14 ปฏิบัติการควบคุมเสียงที่ระบบเตาเผา
แหล่ง กาเนิ ดเสียงที่เตาเผาจากพัดลมที่อัดอากาศเข้าไปในระบบเผา และ
กระแสลมที่หมุนเวียนไปตามปล่อง แต่ เนื่องจากระบบเตาเผาเป็นระบบปิดเสียงจึง
แพร่กระจายมาจากการทางานของพัดลม ดังนั้นผู้ประกอบการต้องดาเนินการ
ตรวจเช็คการทางานของพัดลมเป็นประจา พร้อมทั้งมีแผนการทาความสะอาด และ
การซ่อมบารุงซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการรักษาประสิทธิภาพการเผาด้วยประการหนึ่ง
1) การตรวจเช็คความสะอาดพัดลมและบริเวณใกล้เคียง
2) การตรวจเช็คการทางานของระบบพัดลมว่ามีเสียงปกติ
3) จดบันทึกผลการตรวจเช็ค
4) การควบคุมเสียงด้วยวิธีการอื่นๆ (ถ้ามี)
5) กรณีที่พบว่าพัดลมมีเสียงดังผิดปกติ หาสาเหตุและดาเนินการซ่อมแซม

ที่มา: - พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535


- พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535

20
3.15 ปฏิบัติการควบคุมมลพิษทางเสียงที่หน่วยผลิตกระแสไฟฟ้า
ผู้ประกอบการต้องดาเนินการดังนี้
1) จัดเตรียมอุปกรณ์กันเสียงที่เกิดจากเครื่องกาเนิดกระแสไฟฟูาโดยสามารถเลือกใช้ได้
หลายวิธีการ
- สร้างกาแพงกันเสียงครอบเครื่องกาเนิดไฟฟูา โดยที่มีการออกแบบกาแพงกัน
เสียงที่เอื้อต่อการเข้าไปดูแลเครื่องกาเนิดไฟฟูา
- สร้างผนังห้องและหลังคาของอาคารที่ตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟูาให้สามารถกั้น
เสียงได้
- วางเครื่ อ งก าเนิ ด ไฟฟู าบางส่ ว นฝั ง อยู่ ต่ าลงไปใต้ พื้ น ดิ น เพื่ อ ปู อ งกั น เสี ย ง
แพร่กระจาย
2) ตรวจสอบสภาพการปูองกันเสียงให้มีประสิทธิภาพการปูองกันตามการออกแบบทุก
เดือน
- ตรวจสอบสภาพฝาหรือประตูปิดกาแพงครอบเครื่องกาเนิดไฟฟูาให้ปิดสนิท
ภายหลังเข้าดาเนินการดูแลเครื่องกาเนิดไฟฟูา
- ตรวจสอบสภาพประตู หลังคา ผนังห้อง ของอาคารที่ตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟูาให้มี
สภาพปิดสนิท ภายหลังเข้าไปในห้องที่ตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟูา
3) ตรวจสอบพนักงานที่ต้องทางานในพื้นที่ภายในฝาครอบ เครื่องกาเนิดไฟฟูาและ
บันทึกการใช้อุปกรณ์ปูองกันเสียงส่วนบุคคล
4) กรณีพบสาเหตุเสียงดังผิดปกติต้องรีบแก้ไขที่สาเหตุ เช่น การใช้ยางหนุน การใช้
อุปกรณ์คลุม การติดตั้งใหม่ การใช้แผ่นตรวจประเมินมลพิษทางเสียง และอื่นๆ
5) บันทึกผลการตรวจสอบการใช้อุปกรณ์ปูองกันเสียง และการแก้ไขปัญหาเสียงดัง

3.16 ปฏิบัติการควบคุมน้่ามันหล่อลื่นหกหล่นบริเวณเครื่องก่าเนิดไฟฟ้า
ตรวจสอบน้ามันที่หกหล่นขณะเปลี่ยนถ่ายน้ามันหล่อลื่นทุกครั้ง ทั้งบริเวณ
เครื่องกาเนิดไฟฟูาและบริเวณพื้นที่โรงงาน
งานที่ระบบหล่อเย็น
3.17 ปฏิบัติการควบคุมเสียงที่ระบบหล่อเย็น
ผู้ประกอบการควรตรวจสอบ ดังนี้

21
1) ตรวจสอบความสะอาดของพัดลมและบริเวณใกล้เคียง
2) การตรวจเช็คการทางานของระบบพัดลมว่ามีเสียงปกติ
3) จดบันทึกผลการตรวจเช็ค
4) กรณีที่พบว่าพัดลมมีเสียงดังผิดปกติ หาสาเหตุและดาเนินการซ่อมแซม
5) การควบคุมเสียงด้วยวิธีการอื่นๆ (ถ้ามี)
งานที่ระบบการเก็บขี้เถ้า
(ในกรณีใช้วัตถุดิบแกลบเป็นเชื้อเพลิงอาจมีงานการบรรจุขี้เถ้าร่วมด้วย)
3.18 ปฏิบัติการควบคุมฝุ่นที่ระบบเก็บขี้เถ้า
กรณีที่พื้นที่เก็บขี้เถ้าเป็นระบบเปิด และลมมีโอกาสพัดฝุุนขี้เถ้าให้ฟุูงกระจาย
ได้ให้ดาเนินการปูองกันฝุุนขี้เถ้าฟุูงกระจาย ดังนี้
1) สิ่งปิดคลุมขี้เถ้าใช้ผ้าใบหรือพลาสติกปิดคลุม
2) ทาแนวกั้นลม เช่น ปลูกต้นไม้เป็นแนวกันลม ทาผนังกั้น หรือทาแนวชะลอแรงลม
ด้วยวิธีการอื่นๆ
3) จัดเตรียมวิธีการปูองกันอื่นๆ ที่เหมาะสม
4) ควรทาความสะอาดบริเวณเก็บขี้เถ้า เพื่อไม่ให้มีฝุนตกค้าง

ที่มา: - พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535


- พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
- พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535

งานที่ระบบบ่าบัดน้่าเสีย
3.19 ปฏิบัติการควบคุมฝุ่นที่ระบบบ่าบัดน้่าเสีย
สาหรับผู้ประกอบการที่กาหนดให้มีลานผึ่งตะกอนที่ขุดลอกจากบ่อบาบัด ให้
มีการดาเนินการควบคุมฝุุนที่ระบบบาบัดน้าเสีย ดังนี้
1) การจัดเตรียมพื้นที่รอบข้างโดยปลูกต้นไม้เป็นแนวรอบบ่อผึ่งตะกอน
2) การขนย้ายตะกอนแห้งต้องมีการปูองกันฝุุนตะกอนฟุูงกระจาย
ที่มา: - พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535
- พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535
- พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535

22
งานปฏิบัติการทั่วไป
3.20 ปฏิบัติการติดตามและตรวจสอบคุณภาพน้่า
ผู้ประกอบการต้องดาเนินการตรวจสอบคุณภาพน้าหากมีน้าเสียรั่วไหลออกสู่
สิ่งแวดล้อม โดยดาเนินการตาม ปฏิบัติการวางแผนติดตามตรวจสอบคุณภาพน้า
ผิวดิน และปฏิบัติการวางแผนติดตามตรวจสอบคุณภาพน้าใต้ดินดังนี้
1) ติดตามดัชนีคุณ ภาพน้าในแหล่ งน้าที่อยู่ติดกับจุ ดทิ้งน้าเสี ยที่ผ่านการบาบัดแล้ ว
ประกอบด้วย SS BODs COD total N NO-3 NH+4 PO4-3 pH อุณหภูมิ และDO
หรืออื่นๆ ตามลักษณะน้าที่ทิ้งออกจากพื้นที่โรงไฟฟูา
2) เก็บตัวอย่างและวิเคราะห์น้าทิ้ง เพื่อตรวจสอบสิ่งปนเปื้อนตามมาตรฐานของผิวดิน
และน้าทิ้งอุตสาหกรรม เป็นประจาทุกปี อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
เก็บตัวอย่างน้าบาดาลตามบ่อสังเกตการณ์ เพื่อวิเคราะห์คุณภาพน้าบาดาล อย่าง
น้อยปีละ 1 ครั้ง เป็นประจาทุกปี

ที่มา: - พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535


- พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535
- พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535
- ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537)

3.21 ปฏิบัติการติดตามและตรวจสอบคุณภาพอากาศ
ผู้ประกอบการต้องดาเนินการตรวจสอบคุณภาพอากาศ
1) การติดตามคุณภาพอากาศที่ปล่อง ให้ดาเนินการขั้นต่า คือ ตรวจติดตาม TSP NOx
SO2
2) การติดตามคุณภาพอากาศในบรรยากาศ ให้ดาเนินการติดตาม TSP NOx SO2
5 วั น ทาการ ต่อ เนื่อ งปี ล ะ 2 ครั้ง 1 จุ ด เหนือลม และ 2 จุ ด ใต้ ล มและเป็น จุ ด ที่
อ่อนไหวต่อคุณภาพอากาศ
วัตถุประสงค์: เพื่อควบคุมและตรวจสอบการจัดการด้านการติดตามและตรวจสอบคุณภาพอากาศ
ที่มา: - พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535
- พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535
- พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
*หมายเหตุ ในกรณีที่ระหว่างการดาเนินการผลิตไฟฟูาผู้ประกอบการมีความต้องการเปลี่ยนแปลงการใช้
วั ต ถุ ดิ บ ชี ว มวลจากเดิ ม ที่ ผู้ ป ระกอบการได้ รั บ ใบอนุ ญ าตแล้ ว นั้ น ให้ ผู้ ป ระกอบการรายงานต่ อ ส านั ก งาน
คณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน (สกพ.) ก่อน เพื่อพิจารณาขออนุญาตการเปลี่ยนแปลงการใช้วัตถุดิบ

23
4. ขั้นตอนการซ่อมบ่ารุง
4.1 ปฏิบัติการควบคุมคุณภาพน้่าทิ้งเมื่อซ่อมบ่ารุงอุปกรณ์ชิ้นส่วนระบบบ่าบัด
ผู้ประกอบการต้อ งดาเนินการปูองกันไม่ให้น้าทิ้งที่ไม่ผ่านการบาบัดรั่วไหล
ออกนอกพื้นที่โรงงาน โดยดาเนินการดังนี้
1) จั ด เตรี ย มแผนปฏิ บั ติ ก ารปู อ งกั น น้ าทิ้ ง ในช่ ว งซ่ อ มแซมระบบบ าบั ด มี ค่ า เกิ น
มาตรฐานน้าทิ้ง
2) จัดเตรียมบ่อกักน้าเสียครอบคลุมช่วงเวลาซ่อมแซมระบบบาบัดน้าเสีย
3) อาจใช้ทางเลือกการเพิ่มเวลาหน่วงน้าเสีย (retention time) ในระบบให้นานขึ้น เช่น
การวนน้าเสียที่ปลายกระบวนการบาบัดเข้าบ่อแรก
4.2 ปฏิบัติการควบคุมฝุ่นขณะท่าความสะอาดหม้อน้่า (Soot Blow)
ผู้ประกอบการต้องดาเนินการปูองกันผลกระทบจากฝุุนที่จะเกิดขึ้นมากกว่า
ค่าปกติที่เกิดขึ้นในช่วงเดินระบบปกติ โดยพิจารณาดาเนินการใดๆ ที่ช่วยบรรเทา
ปัญหาคุณภาพอากาศลดลงจากฝุุนจากหม้อน้า ดังนี้
1) แจ้งกาหนดการทาความสะอาดหม้อน้าแก่ชุมชนใต้ลม
2) ออกสารวจพื้นที่ใต้ลมขณะทาความสะอาดหม้อน้า (เช่นเดียวกับปฏิบัติการติดตาม
และตรวจสอบคุณภาพอากาศ ในงานปฏิบัติการทั่วไป)
3) จัดเตรียมวิธีการดาเนินการควบคุมฝุุนขณะทาความสะอาดหม้อน้าอื่นๆ ที่เหมาะสม
4.3 ปฏิบัติการป้องกันฝุ่นละอองจากปล่อง
ส าหรั บ การปู อ งกั น ฝุุ น จากปล่ อ งในช่ ว งนี้ ผู้ ป ระกอบการควรพิ จ ารณา
ประเด็นผลกระทบจากฝุุนขณะทาความสะอาดปล่องโดยที่ฝุนที่หลุดออกมาต้องไม่
เป็นข้ออ้างสาหรับการก่อปั ญหาขัดแย้ง ในกรณีที่เกิดข้อขัดแย้งผู้ประกอบการต้อง
ดาเนินการติดตามคุณภาพอากาศที่ปล่อยทั้งจากปล่องและบรรยากาศที่พิสูจน์ที่มา
ของปัญหาฝุุนไม่ได้เกิดจากโรงงานทาความสะอาดปล่อง

24
5. ขั้นตอนสภาวะฉุกเฉิน
5.1 ปฏิบัติการควบคุมผลกระทบคุณภาพอากาศในสภาวะฉุกเฉิน
ในกรณีเกิดเหตุภาวะฉุกเฉิน เช่น อุบัติเหตุไฟไหม้ สารพิษรั่วไหลที่ก่อให้เกิด
ก๊าซพิษ หรือในกรณีการผลิตผิดปกติ ผู้ประกอบการต้องดาเนินการ ดังนี้
1) แจ้งชุมชนที่อยู่ใต้ลมให้ทราบเพื่อให้เฝูาระวัง
2) เตรียมอุปกรณ์สารองและมาตรการในการปูองกันแก้ไขในกรณีการเกิดอัตราการ
ระบายมลสารเกิ น ค่ ามาตรฐาน และในกรณีที่ไม่ ส ามารถแก้ไขได้ในระยะเวลาที่
กาหนด และต้องหยุดกระบวนการผลิตทันที
3) จัดให้มีกิจกรรมทาความสะอาดหน่วยผลิตเป็นประจาทุกเดือน เพื่อปูองกันการสะสม
ของฝุุน
4) บันทึกการทางานและประสิทธิภาพควบคุมมลสาร
5) ให้พิจารณาจัดการแก้ไขโดยรีบด่วนในพื้นที่ที่มีการร้องเรียนปัญหาฝุุนละออง
6) จัดให้มีการปลูกต้นไม้ทรงสูง เช่น อโศกอินเดีย ทรงบาดาล บริเวณรอบรั้วโรงงาน
7) มีแผนฉุกเฉินและการซ้อมประจาปีอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
- แผนที่ผังทางออกทุกทาง
- พื้นที่ปลอดภัย
- ผังที่ตั้งอุปกรณ์ฉุกเฉินในแต่ละอาคาร
- ขั้นตอนการปฏิบัติกรณีเกิดเพลิงไหม้ ไฟฟูารั่ว อุทกภัย วาตภัย ฯลฯ
- ขั้นตอนการฝึกอบรมการใช้เครื่องมือ
- ขั้นตอนการอพยพ
- ทีมงานพร้อ มโครงสร้างลาดับการบังคับบัญชาที่ชัดเจน ในการปฏิบัติตาม
แผนสภาวะฉุกเฉิน
2) เตรียมแผนการอพยพ หากพบควันหนาแน่นจนอาจก่อให้เกิดการเจ็บปุวย ซึ่งต้องมี
การเตรียมพื้นที่รองรับ การประสานงานกับหน่วยกู้ภัย สถานพยาบาล เพื่อรองรับ
ผู้ปุวย
3) แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ให้ทราบ

25
6. ขั้นตอนการปิดกิจการผลิตไฟฟ้า
ในกระบวนการนี้ ผู้ประกอบการต้องถือปฏิบัติตามขั้นตอนของหน่วยงานผู้ให้ใบอนุญาต
6.1 ปฏิบัติการให้ข้อมูลแก่ประชาชน
มีการชี้แจงทาความเข้าใจแก่ประชาชนในการดาเนินการปิดกิจการของโรงไฟฟูา
6.2 ปฏิบัติการรวบรวมข้อมูลผลวิเคราะห์คุณภาพตะกอน น้่าทิ้ง และน้่าบาดาล เพื่อ
จัดท่ารายงานสรุปและแนวทางการปิดกิจการ
ผู้ประกอบการต้องรวบรวมข้อมูลผลวิเคราะห์ตะกอนและน้าทิ้ง และคุณภาพ
น้าบาดาล เพื่อจัดทารายงานสรุปและแนวทางการปิดกิจการ ดังนี้
1) ต้องมีการปิดคลุมบ่อตะกอนน้าทิ้งก่อนปลูกพืชคลุมหรือหากพบการปนเปื้อนต้องมี
ขั้นตอนบาบัดที่เหมาะสมก่อนทาการปิดบ่อตะกอน
2) ต้องมีการตรวจสอบการปนเปื้อนและผลกระทบน้าบาดาล หากพบการปนเปื้อนต้อง
มีขั้นตอนบาบัดที่เหมาะสม โดยวางแผนระยะสั้นและระยะยาว
3) จัดเตรียมวิธีการดาเนินการอื่นๆ ที่เหมาะสม
6.3 ปฏิบัติการก่าจัดของเหลือในระบบการผลิต
ผู้ประกอบการต้องดาเนินการกาจัดของเหลือในระบบการผลิต
1) จัดเก็บหรือกาจัดวัสดุเหลือใช้ วัสดุอันตราย อย่างถูกวิธี เพื่อไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อ
ชุมชนและสิ่งแวดล้อม
2) ขยะทั่วไปรวมถึงวัสดุเหลือทิ้งต่างๆ ที่ไม่อยู่ในข่ายของขยะอันตรายต้องเก็บรวบรวม
และติดต่อหน่วยงานท้องถิ่นให้นาไปกาจัด
3) ขยะอั น ตรายต้อ งส่ ง ออกไปก าจั ดโดยบริษัทที่ ได้รับ การรั บรองอย่างถูกต้อ งตาม
กฎหมาย ห้ามปล่อยทิ้งตกค้างอยู่ในพื้นที่
4) จัดเตรียมวิธีการดาเนินการอื่นๆ ที่เหมาะสม
5) รายงานผลการปฏิบัติการเพื่อประกอบการขอปิดกิจการ
6.4 ปฏิบัติการขออนุญาตการเปลี่ยนแปลงการใช้อาคาร
หลังจากแจ้งหน่วยงานหลักแล้ว หากมีการเปลี่ยนแปลงการใช้อาคาร เช่น
จากโรงงานอุตสาหกรรมมีการเปลี่ยนแปลงเป็นที่อยู่อาศัยหรืออย่างอื่น ต้องขอ
อนุญาตการเปลี่ยนแปลงการใช้อาคารจากหน่วยงานส่วนท้องถิ่น เพื่อขออนุญาต
ก่อสร้างดัดแปลงอาคาร ตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522

26
ที่มา: - พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
- พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535
- พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522, พ.ศ. 2535 และ พ.ศ. 2543
- ข้อบัญญัติ, ระเบียบ, ข้อบังคับท้องถิ่นต่างๆ ที่บังคับใช้

27

You might also like