You are on page 1of 1

คา

ร์บ า ไ ม้
อนเ า ค ป่
ครดิ ต ภ
พื้นที่ดำเนินการ
พ.ร.บ.ป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ.2507 >>>> ระเบียบกรมป่าไม้ว่าด้วยการแบ่งปันคาร์บอนเครดิตจาก
พ.ร.บ.ป่าไม้ พ.ศ.2484 >>>>>>>>>>>>> การปลูก บำรุง อนุรักษ์และฟื้ นฟูในพื้นที่ป่า พ.ศ.2564

พ.ร.บ.ป่าชุมชน พ.ศ.2562 >>>>>>>>>> ระเบียบคณะกรรมการนโยบายป่าชุมชนว่าด้วยการ


ปกครอง ดูแลบำรุงรักษา ใช้ประโยชน์จากไม้ และใช้
ประโยชน์ในพื้นที่ป่าชุมชน พ.ศ.2566 (ส่วนที่3)

สร้างความร่วมมือแบบ WIN-WIN
ชุมชน ภาคธุรกิจ ภาครัฐ ประเทศชาติ เวทีโลก ได้ผลประโยชน์ร่วมกัน

การขึ้นทะเบียน T-VER
ป่าชุมชน ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและเพิ่มพูน
การกักเก็บคาร์บอน
ป่าชุมชน ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและเพิ่มพูนการกัก
เก็บคาร์บอน
เจ้าหน้าที่ ในพื้นที่เป็นพี่เลี้ยงช่วยจัดทำโครงการ
กรมป่าไม้ มีสิทธิการแบ่งปันคาร์บอนเครดิตและประโยชน์ทางภาษี
เอกชน สนใจเข้ามาสนับสนุน โดยได้รับอนุญาตจากกรมป่าไม้

ข้อควรรู้ในการทำโครงการคาร์บอนเครดิต
ชนิดของก๊าซเรือนกระจกที่รองรับ : CO2 CH4 N2O
ระยะเวลาการคิดเครดิต : ภาคป่าไม้ 10 ปี ต่ออายุได้ครั้งละ 10 ปี ม่จำกัดจำนวน
ครั้ง
หน่วยที่รองรับ : ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า
สิทธิการใช้ประโยชน์ที่ดิน : ต้องแสดงเอกสารสิทธิที่ถูกต้องตามกฎหมาย
พื้นที่ดำเนินโครงการ : พื้นที่ไม่น้อยกว่า 10 ไร่
การคำนวณปริมาณคาร์บอน : ตามระเบียบของ T-VER
รูปแบบการขึ้นทะเบียนโครงการ : โครงการเดี่ยว
/ควบรวม/ผสมผสาน

ขั้นตอนการดำเนินโครงการ
STANDARD T-VER
ขั้นตอนที่ 1 ขึ้นทะเบียนโครงการ : กำหนดขอบเขตและ
สำรวจพื้นที่หาค่ากรณีฐาน, จัดทำเอกสาร(PDD), ตรวจสอบ
ความใช้ได้โดย(VVB), ขึ้นทะเบียนโครงการ T-VER

ขั้นตอนที่ 2 ขอรับรองคาร์บอนเครดิต : สำรวจพื้นที่หาการกักเก็บ


คาร์บอน, จัดทำรายงานติดตามผล(MR), ทวนสอบปริมาณก๊าซเรือน
กระจกโดย(VVB), รับรองคาร์บอนเครดิต

บทบาทของชุมชน & คาร์บอนเครดิต


carbon stock : ป่าชุมชนดูดกลับ GHG กักเก็บคาร์บอนได้ 41 ล้านตัน
คาร์บอน
carbon credit : ป่าชุมชนขึ้นทะเบียนโครงการ T-VER เป็นการชดเชย
การปล่อยก๊าซเรือนกระจก เพื่อสนับสนุนเป้าหมายความเป็นกลางทาง
คาร์บอนของประเทศ

ปริมาณคาร์บอนที่กักเก็บได้ขึ้นอยู่กับ : ชนิดป่า, อายุต้นไม้,


ระยะการปลูก, สภาพแวดล้อม, การจัดการ, การถูกรบกวน

นางสาวปาริชาติ แซ่เสี้ยว 6410303173 เลขที่139

You might also like