You are on page 1of 17

สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและ

น้ำตาลทราย
ยุทธศาสตร์อ้อยโรงงานและ
น้ำตาลทราย
ปี ปี ปี
หน่วย
2558 2559 2569
10.5
พื้นที่ ล้านไร่ 3 11.03 16
เกษตรกร/
แรงงาน ล้านคน 1 1 1
105.
อ้อย ล้านตัน 96 94.05 180
ผลผลิตต่อ 10.0
ไร่ ตัน/ไร่ 6 8.52 11.40
การส่งเสริม และพัฒนาอุตสาหกรรมอ้อย
และน้ำตาลทราย
การปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมอ้อย
การจัดตัง้ มุ่งสู่
และน้ำตาลทราย
การกำหนด สถาบันวิจั - การจัการเติ
ดตัง้ บโต
ปรับปรุ มาตรฐาน การรักษา ยและ สถาบันวิอย่ จัยาและ
งมี
การผลิต เสถียรภาพ พั ฒ นาอ้ อ ยและ
5
ง พัฒนา เสถียรภาพ
น้ำตาล กองทุ น ฯ น้ำตาลทราย และ
กฎหมา
4
อุตสาหกรรมต่
และยั่งยืน อ
ย การเพิ่ม ทรายและ เนื่อง รวมถึงความ
• พรบ. ผลิตภาพ ต้ นทุ น อ้ อ ย - กำหนดแนวทาง ร่วมมือกับ
อ้อยและ น้ำตาล การรักษา มหาวิทยาลัยต่างๆ
3
อ้อย เสถียรภาพกองทุน -วิจัยและพัฒนา
น้ำตาล ทราย -ผลั ก ดั น การ
และ กำหนด ฯ อ้อยพันธุ์ดี
น้ำตาล ทราย มาตรฐานการ - แก้ไขสภาพคล่อง - ส่งเสริมการผลิต
ทราย ผลิตน้ำตาล ของโรงงานน้ำตาล อ้อยและน้ำตาล
• 2 ทราย
- กำหนดต้ น ทุ น
-เกษตรแปลงใหญ่สมัยใหม่ใช้ -สินเชื่อดอกเบีย
ที่ประสบปั ญหา
้ ต่ำ
ด้วยเทคโนโลยีสมัย
กฎหมา เครื่องจักรกล การผลิตน้ำตาล ใหม่
ย ทราย เป็ นศูนย์
-แก้ปัญหาอ้อยไฟไหม้ - พัฒนา
ระเบียบ ภายใน 5 ปี กระบวนการผลิต
ต่างๆ 1ที่ -สร้างผลิตภัณฑ์น้ำตาลมูลค่า มุง่ สู่อุตสาหกรรมสี
สูง เขียวและพัฒนา
-
เกี่ยวข้อ ประกาศกระทรวงเพื ่ อ การอนุ
- นำผลพลอยได้และของเสียไป ญ าตให้ ต ั ง
้ และขยายโรงงานน้ำตาล พื้นที่อุตอ สาหกรรม
ง - จั ด ทำร่ างการแก้ ไ ข
เป็ นผลิตภัณฑ์ พ.ร.บ. อ้ อ ยและน้ำตาลทราย เพื
่ อ ให้ สามารถนำอ้
เกษตรแปรรู ย ปเชิง
ไปผลิตเป็ นอุตสาหกรรมต่อเนื่องอื่นๆ
- แก้ไขกฎหมายผังเมืองให้สามารถตัง้ โรงงานน้ำตาลและเอทานอลในพื นิเวศ ้นที่
ปลูกอ้อยได้
1. ปรับแก้กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง ให้
ครอบคลุมและเอื้อต่อการพัฒนา
o พ.ร.บ.อ้อยและน้ำตาลทราย พ.ศ.2527
- ให้ครอบคลุมอุตสาหกรรมต่อเนื่องจากอ้อย เช่น
เอทานอล ไบโอพลาสติก
ไบโอเคมี
o พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ.2535
- ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ตาม มาตรา 32
เรื่องการกำหนดพื้นที่ให้ตงั ้ หรือไม่ให้ตงั ้ โรงงานน้ำตาล
โรงงานเอทานอลและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง
- การนำกากของเสียจากโรงงานน้ำตาลฯกลับมา
ใช้ประโยชน์ในไร่อ้อย
o พ.ร.บ.ผังเมือง พ.ศ.2518 ให้สอดคล้องกับพื้นที่ตงั ้
โรงงานน้ำตาลและกิจกรรมต่อเนื่อง เช่น การผลิตไฟฟ้ า
ไบโอแก๊ส เอทานอล โรงงานปุ๋ย ฯลฯ
2. การเพิ่มผลิตภาพอ้อยและน้ำตาลทราย
o การเพิ่มผลิตภาพอ้อย
- การวิจัยและพัฒนาพันธุ์อ้อย ที่เหมาะสมต่อ
สภาพดิน น้ำ แปลงปลูก ระยะเวลาปลูกและเก็บเกี่ยว
ความต้านทานโรคและแมลง ผลผลิตต่อไร่ ความหวาน
และการสะสมน้ำตาล ฯลฯ
- การรวมแปลงไร่อ้อยและส่งเสริมการปลูกอ้อย
แบบเกษตรสมัยใหม่
- การบริหารจัดการพื้นที่แปลงปลูกอ้อยแบบ
หน่วยผลิต อ้อยตัดส่งโรงงาน อ้อยทำพันธุ์ พืชผักสวนครัว
เกษตรผสมผสาน พื้นที่แหล่งน้ำและระบบชลประทาน
- การบริหารจัด การนำเครื่องจักรกลการเกษตร
มาใช้ในแปลงปลูกอ้อย
จัดแปลงปลูกอ้อยให้เหมาะสมในการใช้เครื่องจักรกลเพื่อ
ลดต้นทุน วิธีและระยะเวลา
2. การเพิ่มผลิตภาพอ้อยและน้ำตาลทราย (ต่อ)
o การเพิ่มผลิตภาพน้ำตาลทรายและผลิตภัณฑ์ต่อเนื่อง
- ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตน้ำตาลทราย
(กิโลกรัมน้ำตาล/ตันอ้อย)
- เพิ่มมูลค่าน้ำตาลทรายด้วยผลิตภัณฑ์น้ำตาล
มูลค่าสูง
- เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ไอน้ำและผลิตไฟฟ้ าจาก
กากอ้อย (หน่วย/ตันอ้อย)
- พัฒนาอุตสาหกรรมต่อเนื่องจากอ้อย เช่น เอทา
นอล ไบโอพลาสติก ไบโอเคมี
ไบโอแก๊ส ไม้ปาติเคิล ปุ๋ยอินทรีย์ กระดาษ สิ่งทอ ฯลฯ
- นำของเสียจากโรงาน(น้ำเสีย กากอ้อย เถ้าอ้อย)
กลับมาใช้ในไร่อ้อยเพื่อลดต้นทุนการบำบัดของเสีย
- บริหารจัดการ การรับและหีบอ้อยตามกำหนด
3. การกำหนดมาตรฐานการผลิตน้ำตาลทราย

o คณะกรรมการ กำหนดมาตรฐานการผลิตน้ำตาลทราย
o เก็บข้อมูล วิเคราะห์ วิจัย กระบวนการผลิตน้ำตาลทราย
ของตัวแทนโรงงานโดยละเอียด เพื่อกำหนด
มาตรฐานการผลิตน้ำตาลทราย
o นำเข้าคณะกรรมการฯต่างๆให้ความเห็นชอบและประกาศ
ใช้
o เป้ าหมาย ดำเนินการให้แล้วเสร็จและประกาศใช้ในฤดูหีบ
59/60
o ผลกระทบ
- ลดข้อโต้แย้งระหว่างชาวไร่อ้อยและโรงงาน ในเรื่อง
การแบ่งแยกเขตการคำนวณราคาอ้อย (กรณีโรงงาน
ประสิทธิภาพการผลิตไม่เท่าเทียมกัน)
4. การรักษาเสถียรภาพกองทุนอ้อยและน้ำตาลทราย

o เร่งรัดการบริหารจัดการเพื่อให้มีการเรียกเก็บเงิน
เข้ากองทุนฯตามมาตร 57 เพื่อให้กองทุนมีเงิน
เหลือในการดำเนินงาน
o ดำเนินการให้สินเชื่อดอกเบีย้ ต่ำตามนโยบาย
รัฐบาลในเรื่องต่างๆ เช่น โครงการเงินกู้สร้าง
แหล่งน้ำช่วยภัยแล้ง โครงการเงินกู้เพื่อจัดซื้อ
เครื่องจักรกลเกษตร
o ดำเนินการแก้ไขปั ญหาโรงงานน้ำตาลขาดสภาพ
คล่องในฤดูหีบอ้อย
o ให้ทุนในการวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมจาก
อ้อย
5. การจัดตัง้ สถาบันวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมอ้อย
และน้ำตาลทราย
o ผสมพันธุ์ คัดเลือก พัฒนา พันธุ์อ้อย ให้เหมาะสม
แต่ละชนิดตามปั จจัย การผลิตที่ต้องการ เช่น
พื้นที่ปลูก ลักษณะดิน ระยะเวลาปลูก ระยะเวลา
เก็บเกี่ยว ทนทานต่อความแห้งแล้ง ทนทานต่อน้ำ
ท่วม ทนทานต่อโรคและแมลง ผลผลิตต่อไร่ ค่า
ความหวานและปริมาณน้ำตาล ฯลฯ
o วิจัยและพัฒนาการผลิตน้ำตาลทราย อุตสาหกรรม
ต่อเนื่องจากอ้อย
o สร้างองค์ความรู้และถ่ายทอด การบริหารจัดการ
แปลงปลูกอ้อยสมัยใหม่
o ให้ทุนส่งเสริมการปรับเปลี่ยนการเพาะปลูกอ้อย สู่
5. การจัดตัง้ สถาบันวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมอ้อย
และน้ำตาลทราย (ต่อ)

o จัดฝึ กอบรม เปิ ด-พัฒนาหลักสูตรการเรียนการ


สอน ด้านอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทราย
o ห้องปฏิบัติการ วิเคราะห์ ทดลอง การตรวจสอบ
วัด กำหนด ค่ามาตรฐานต่างๆที่ใช้ในอุตสาหกรรม
อ้อยและน้ำตาลทราย
o ประสานความร่วมมือ กับ สถาบันการศึกษา
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อการวิจัยและพัฒนา
อุตสาหกรรมอ้อย น้ำตาลทรายและผลิตภัณฑ์ต่อ
เนื่อง
o เก็บสะสม ถ่ายทอด องค์ความรู้ ภายใต้นโยบาย
การดำเนินการอนุญาตให้ตัง้ และขยาย
โรงงานน้ำตาล
• มีผู้ขออนุญาตตัง้ โรงงานน้ำตาลใหม่
จำนวน 37 ราย
• ได้รบ ั อนุญาตให้ตงั้ โรงงานใหม่
จำนวน 14 โรงงาน และจะมีพ้น ื ที่
ปลูกอ้อยเพิม ่ ขึน
้ ประมาณ 2.80 ล้าน
ไร่
•• มีวงเงินลงทุนไม่ต่ำกว่า 65,000
มีผู้ประกอบการเดิมขอขยาย
ล้านบาท
กำลังการผลิต
จำนวน 18 ราย
• ได้รับอนุญาตจำนวน 16 โรงงาน
และจะมีพ้น ื ที่
คาดว่าจะมีวงเงินลงทุนโดยตรงรวมทัปลู ง้ สิกน
้ อ้ไม่
อตยเพิ
่ำกว่่มาขึ100,000

้ ประมาณ 2.38
ล้านบาท
มีพ้ืนที่ปลูกอ้อยเพิ่มขึน ล้านไร่
้ ประมาณ 5.18 ล้านไร่ ผลผลิตอ้อยเพิ่มขึน ้ 58 ล้าน
ตัน และมีการจ้างงานโดยตรงเพิ่มขึ•น ้ กว่มีาว10,000
งเงินลงทุ ราย
นไม่และการจ้
ต่ำกว่า า40,000
งงานทาง
หลักเกณฑ์การให้ตัง้ และขยายโรงงาน
น้ำตาลในทุกท้องที่
การตั้งโรงงานน้ำตาล
• มีเขตโรงงานน้ำตาลที่มีระยะห่างจากเขตโรงงานที่ได้รับ
อนุญาตไว้แล้วไม่น้อยกว่า 50 กิโลเมตร โดยการวัดเป็ น
เชิงเส้นตรง
• มีแผนการเตรียมปริมาณอ้อยจากการส่งเสริมและพัฒนา
อ้อยเข้าสู่โรงงานน้ำตาลไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของ
กำลังการผลิตของฤดูการผลิตนัน ้ ๆ โดยกำหนดจำนวน
วันหีบอ้อยของโรงงานน้ำตาลทั่วประเทศเฉลี่ย 120 วัน
ต่อปี และต้องไม่ใช่อ้อยของเกษตรกรที่เป็ นคู่สัญญากับ
โรงงานน้ำตาลอื่น
หลักเกณฑ์การให้ตัง้ และขยายโรงงาน
น้ำตาลในทุกท้องที่ (ต่อ)
การขยาย
โรงงานน้ำตาล
• กระทำได้ เมื่อโรงงานน้ำตาลทรายจะขยายนัน
้ มี
ปริมาณอ้อยจากการส่งเสริม และพัฒนาอ้อยของ
โรงงานน้ำตาลเพิ่มขึน ้ อย่างต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 3 ปี
อีกทัง้ โรงงานนัน
้ ไม่อาจหีบอ้อยได้ทันตามเวลาที่
คณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย กำหนด
• มีแผนการเตรียมปริมาณอ้อยจากการส่งเสริมและ
พัฒนาอ้อยเข้าสู่โรงงานน้ำตาลในส่วนที่จะขอ
อนุญาตขยายโรงงานน้ำตาลด้วยและต้องไม่ใช่อ้อย
ของเกษตรกรที่เป็ นคู่สัญญากับโรงงานน้ำตาลอื่น
หลักเกณฑ์การให้ตัง้ และขยายโรงงาน
น้ำตาลในทุกท้องที่ (ต่อ)
ผู้ขออนุญาตต้องดำเนินการขออนุญาตตัง้ หรือขยาย
โรงงานน้ำตาลให้แล้วเสร็จและเริ่มประกอบกิจการ
ภายใน 5 ปี นับจากวันที่ได้รับการรับรองจากสำนักงาน
คณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย หากดำเนินการไม่
แล้วเสร็จให้ถือว่าการรับรองสิน
้ สุดลง
การแก้ไขสถานการณ์ภัยแล้ง
ของสำนักงานคณะกรรมการอ้ อยและน้ำตาลทราย
16

การดำเนินงานในรอบปี ทผี่ า่ นมา (ปี 2558/59)


สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย กำหนดแนวทางในการแก้ไขปั ญหาอ้อยไฟไหม้
ดังนี ้
1. มีหนังสือถึงผู้วา
่ ราชการจังหวัด จำนวน 27 จังหวัด อุตสาหกรรมจังหวัด โรงงานน้ำตาล
และสมาคม/สถาบันชาวไร่อ้อย (คณะอนุกรรมการบริหารส่วนท้องถิ่น) เพื่อขอความร่วมมือใน
การกำกับดูแลไม่ให้มีการเก็บเกี่ยว อ้อยด้วยวิธีการเผาไร่อ้อย โดยเฉพาะในพื้นที่แปลงปลูกอ้อย
ที่อยู่ใกล้กับชุมชนหรือบ้านเรือนของประชาชนรวมทัง้ การประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรชาวไร่
อ้อยทราบว่าการเผาไร่อ้อย อาจมีความผิดตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
2. มีมาตรการแก้ไขปั ญหาด้วยการตัดราคาอ้อยไฟไหม้ทส ี่ ่งเข้าหีบเป็ นเงิน 20 บาทต่อตัน
อ้อย โดยนำเงินส่วนนีไ้ ปเพิ่มให้กับเกษตรกรชาวไร่อ้อยที่ตัดอ้อยสดแทน
3. จัดอบรมสร้างความรู้ ความเข้าใจ โดยชีใ้ ห้เห็นถึงข้อดีของการตัดอ้อยสด และผลกระทบ
ของการเผาอ้อย รวมถึงขอให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องร่วมกันเฝ้ าระวังการลักลอบเผาไร่อ้อย
4. สอน. ได้ดำเนินโครงการสินเชื่อสำหรับการจัดซื้อรถตัดอ้อย ซึ่งสามารถเพิ่มรถตัดอ้อยได้
ประมาณ 165 คัน และได้สนับสนุนสินเชื่อเงินกู้ในอัตราดอกเบีย ้ ต่ำ วงเงิน 467.56 ล้านบาท
เพื่อจัดหาแหล่งน้ำดิบให้กับเกษตรกรชาวไร่อ้อย
5. ในระยะยาวได้ส่งเสริมและสนับสนุนการปลูกอ้อยเกษตรสมัยใหม่ ด้วยการนำเทคโนโลยี
มาใช้ เพื่อลดต้นทุนและลดปริมาณอ้อยไฟไหม้ให้หมดไป
17

แผนการรับมือสถานการณ์ภยั แล้ง
ของสำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย

1. สอน. กำหนดรูปแบบการช่วยเหลือเกษตรกรชาวไร่อ้อยเพื่อการรับมือ
สถานการณ์ภัยแล้ง ภายใต้โครงการส่งเสริมสินเชื่อเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
อ้อยอย่างครบวงจร 3 ปี (พ.ศ. 2559 - 2561) โดยสนับสนุนสินเชื่อเงินกู้ให้กับ
เกษตรกรชาวไร่อ้อยในอัตราดอกเบีย ้ ต่ำ วงเงินรวม 9,000 ล้านบาท
1.1 การพัฒนาแหล่งน้ำและการบริหารจัดการน้ำในไร่อ้อย วงเงินปี ละ 500
ล้านบาท รวม 3 ปี
เป็ นเงิน 1,500 ล้านบาท ในการขุดสระกักเก็บน้ำ การเจาะน้ำบาดาล และการสร้าง
ระบบส่งน้ำ โดยการรวมกลุ่มชาวไร่อ้อย
และโรงงาน รวมทัง้ ระบบน้ำหยด การจัดซื้อเครื่องยนต์ และวัสดุอุปกรณ์ให้น้ำในไร่
อ้อย
1.2 สนับสนุนสินเชื่อเงินกู้ให้กับเกษตรกรชาวไร่อ้อยเพื่อซื้อเครื่องจักรกล
การเกษตร วงเงินปี ละ 2,500 ล้านบาท รวม 3 ปี เป็ นเงิน 7,500 ล้านบาท ในการซื้อ
รถตัดอ้อย รถคีบอ้อย รถแทรกเตอร์ รถบรรทุกอ้อย และเครื่องจักรกลการเกษตรอื่นๆ
เพื่อแก้ไขปั ญหาการขาดแคลนแรงงาน
2. สอน. ได้จัดสัมมนา เรื่อง การเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานให้กับคณะ
อนุกรรมการบริหารส่วนท้องถิ่นและคณะอนุกรรมการอ้อยระดับท้องถิ่น เมื่อวันที่ 8
มีนาคม 2559 ณ โรงแรม เซ็นจูรี่ พาร์ค กรุงเทพมหานคร โดยเชิญอุตสาหกรรม
จังหวัดทัง้ 27 จังหวัด ที่เป็ นเลขานุการในคณะอนุกรรมการท้องถิ่น ทัง้ 2 ชุด เข้ารับ
การอบรมสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง เพื่อเตรียมพร้อมรับมือสถานการณ์

You might also like