You are on page 1of 36

กิจกรรม : ส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์

กองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร
คำนำ
แผนการปฏิบั ติงานประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2566 กองพัฒ นาสหกรณ์ ภ าคการเกษตรและ
กลุ่มเกษตรกร ได้รับงบประมาณจากแผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า โครงการที่ 8 : โครงการยกระดับ
คุ ณ ภาพมาตรฐานสิ น ค้ าเกษตร เพื่ อ ดำเนิ น กิ จ กรรมส่ งเสริม เกษตรปลอดภั ย ในสหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกร
ถ่ายทอดให้ความรู้ทางด้านมาตรฐานความปลอดภัยของสินค้าเกษตร การจัดทำฐานข้อมูลของสมาชิกสหกรณ์
กลุ่มเกษตรกร สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมและสนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทำการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่า
GAP 2564 รวมไปถึงจัดทำแผนพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ในการรวบรวมผลผลิตจากสมาชิกของสหกรณ์ และ
กลุ่มเกษตรกร
การส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริม และสนับสนุน
ในการเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรของสมาชิกสหกรณ์ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นผู้บริโภคต่อสินค้าเกษตรของสหกรณ์ และ
กลุ่มเกษตรกร รวมไปถึงความจำเป็นในการจัดทำข้อมูล ของสมาชิก สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่ผลิตพืช ผัก ผลไม้
และสมุนไพร เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวิเคราะห์ ประมวลผล นำไปสู่การจัดทำแผนพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
ผู้ผลิตผัก ผลไม้ และสมุนไพร ให้มีความเข้มแข็งต่อไป
กองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร จึงได้จัดทำคู่มือคำแนะนำการปฏิบัติงาน
โครงการยกระดั บ คุ ณ ภาพมาตรฐานสิ น ค้าเกษตร เพื ่อ เป็น แนวทางในการส่ง เสริม และพัฒ นาสหกรณ์ แ ละ
กลุ ่ม เกษตรกร ให้เป็น ไปในทิ ศทางเดี ย วกัน ตามความเหมาะสม และหวังว่าคู่ มื อฉบั บ นี้ จะเป็ น ประโยชน์ ต่ อ
การปฏิบัติงานและผู้ที่เกี่ยวข้องต่อไป

กองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร
กรมส่งเสริมสหกรณ์
สารบัญ
หน้า

ส่วนที่ 1 โครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร 1
ส่วนที่ 2 แนวทางการปฏิบัติงานของสานักงานสหกรณ์จังหวัดในการดาเนินงาน
ตามโครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร
2.1 กิจกรรม ส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรสำหรับพืชผักและผลไม้ 4
2.2 กิจกรรม ส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสำหรับพืชสมุนไพร 6
2.3 แผนกำรปฏิบัติงำนและแผนกำรใช้จ่ำยเงิน ประจำปี 2566 8
2.4 รำยชื่อสถำบันเกษตรกรและเกษตรกรเป้ำหมำยพืชผักและผลไม้ (ภำยใต้โครงกำร 11
ส่งเสริมและสนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทำกำรเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่ำ
ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 (GAP)
2.5 รำยชื่อสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป้ำหมำยพืชสมุนไพรตำมโครงกำรยกระดับ 13
มำตรฐำนสินค้ำเกษตร
2.6 ตัวชี้วัดตำมแผนปฏิบัติงำน
2.6.1 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งเสริมให้สมำชิกทำกำรเกษตรปลอดภัย 14
2.6.2 สมำชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับควำมรู้กำรทำเกษตรปลอดภัย 15
2.6.3 เกษตรกรสมำชิกมีรำยได้จำกกำรผลิตสินค้ำเกษตรปลอดภัยเพิ่มขึ้น 16
2.6.4 สมำชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรที่เข้ำร่วมโครงกำรฯ มีกำรยื่นขอใบรับรอง 18
มำตรฐำนกำรปฏิบัติทำงกำรเกษตรที่ดี (GAP)
2.6.5 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีปริมำณธุรกิจเพิ่มขึ้น 19
ส่วนที่ 3 แบบรายงาน
แบบรำยงำนที่ 1 รำยงำนแผน/ผลกำรปฏิบัติงำนและผลกำรใช้จ่ำยงบประมำณ 21
ประจำปีงบประมำณ 2565
แบบรำยงำนที่ 2 แผนกำรผลิต กำรตลำด และกำรรวบรวมผลผลิต 23
แบบรำยงำนที่ 3 สรุปแบบรำยงำนตัวชี้วัดที่ 1 - 6 24
แบบรำยงำนที่ 4 กำรยื่นใบรับรองมำตรฐำนกำรปฏิบัติทำงกำรเกษตรที่ดี (GAP) 25
แบบรำยงำนที่ 5 อัตรำกำรขยำยตัวของมูลค่ำสินค้ำเกษตรปลอดภัยขยำยตัว 26
แบบรำยงำนที่ 6 ปริมำณธุรกิจด้ำนเกษตรปลอดภัยของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรขยำยตัว 27
แบบรำยงำนที่ 7 แบบสรุปผลกำรสำรวจเข้ำร่วมโครงกำรปี 2567 28
แบบรำยงำนสรุปผลกำรดำเนินงำน 29
1

ส่วนที่ 1
โครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร
****************************************

1. หลักการและเหตุผล
ในภาวะปัจจุบันผู้บริโภคมีแนวโน้มการบริโภคสินค้าเกษตรที่มีความปลอดภัยเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะ
พืชผัก ผลไม้ ทาให้การผลิตสินค้าเกษตรต้องมีการปรับตัวให้เข้าสู่ระบบคุณภาพมาตรฐานปลอดภัยของอาหาร
เพื่อสร้างความเชื่อมั่นและภาพลักษณ์ที่ดีต่อสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ ยวข้องตลอดห่วงโซ่ที่มีคุณภาพและ
ความปลอดภัย แต่เกษตรกรยังคงมีการใช้สารเคมีในกระบวนการผลิตที่มากเกินความจาเป็น และใช้อย่างไม่
ถูกต้อง รวมไปถึงเกษตรกรยังขาดความรู้และทักษะในการผลิตสินค้าปลอดภัย ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขอนามัย
ของเกษตรกรผู้ผลิต และผู้บริโภค นอกจากนีส้ ินค้าพืชผัก ผลไม้ของประเทศไทยยังเป็นสินค้าที่ส่งออกไปจาหน่าย
ยังต่างประเทศ ซึ่งประเทศคู่ค้าของไทยให้ความสาคัญกับสุขอนามัยของผักและผลไม้ โดยเพิ่มความเข้มงวดใน
การตรวจสอบศัตรูพืชและปริมาณสารพิษตกค้างในผักและผลไม้เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภคและใช้เป็น
มาตรการกีดกันทางการค้า ดังนั้นเพื่อความสามารถในการแข่งขัน รวมไปถึงความปลอดภัยของผู้บริโภค รัฐบาล
จึงมีนโยบายส่งเสริมให้เกษตรกรทาเกษตรปลดภัย โดยได้กาหนดให้มีการพัฒนาสินค้าเกษตรปลอดภัยในแผน
แม่บ ทภายใต้ยุ ทธศาสตร์ ช าติ และขับ เคลื่ อนผ่ านโครงการต่าง ๆ ของหน่ว ยงานภาครัฐ เช่ น กรมส่ งเสริม
การเกษตร กรมวิชาการเกษตร สานักงานมาตรฐานเกษตรและอาหารแห่งชาติ
กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้ดาเนินการขับเคลื่อนนโยบายภาครัฐในการส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัยผ่าน
สถาบันเกษตรกร โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ดาเนินการจัดทาโครงการส่งเสริมและสร้างทักษะในการ
ประกอบอาชีพทั้งในและนอกภาคการเกษตร ภายใต้โครงการเพื่อยกระดับการผลิตผักและผลไม้คุณภาพของ
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่มาตรฐาน GAP โดยมีสมาชิกของสถาบันเกษตรกร จานวน 966 ราย ได้ รับการ
รับรองการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP) ในปี 2564 และในปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 กรมฯ ดาเนินการจัดทาโครงการส่งเสริมและสนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทาการเกษตรเพื่อ
เพิ่มมูลค่า ภายใต้โครงการพัฒนาคุณภาพการผลิตสินค้าเกษตรของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่มาตรฐาน
GAP โดยมีสมาชิกของสถาบั นเกษตรกร จานวน 1,200 ราย ได้ รับการรับรองการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี
(Good Agricultural Practices: GAP) ในปี 2565 และในแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2565 กรมได้จัดทาโครงการส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อส่งเสริม
องค์ความรู้ด้านการสร้างระบบรับรองมาตรฐาน สร้างความเชื่อมั่นในการผลิตสินค้าปลอดภัยและเพื่อส่งเสริมการ
จัดทาฐานข้อมูลด้านการเกษตรปลอดภัยร่ว มกับสมาชิกสหกรณ์ให้ กับสมาชิกของสถาบันเกษตรกรที่ได้ การ
รับรองมาตรฐาน GAP ในปี 2564
ดั ง นั้ น เพื่ อ ให้ ก ารส่ ง เสริ ม เกษตรปลอดภั ยของสมาชิก สหกรณ์เ ป็ นไปอย่ างต่ อ เนื่อ ง และเห็ นผล
ในรูปธรรม กรมส่งเสริมสหกรณ์ จึงจัดทาโครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร โดยมุ่งเน้นส่งเสริม
สมาชิกเกษตรกรที่ได้ รับการรับรองการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP) ในปี
2565 หรือที่เคยได้รับใบรับรองในปีอื่น ๆ และขยายผลการดาเนินการส่งเสริมการเกษตรปลอดภัยหรือเกษตร
อินทรีย์ไปยังสมาชิกของสหกรณ์ในพื้นที่นิคม
2
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่ออบรมถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการรับรองการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural
Practices: GAP) หรือเกษตรอินทรีย์ให้กับเกษตรกรสมาชิก
2.2 เพื่อส่งเสริมให้สถาบันเกษตรกรทาเกษตรปลอดภัยหรือเกษตรอินทรีย์
3. เป้าหมาย
สถาบันเกษตรกร จานวน 55 แห่ง ประกอบไปด้วย
1) สถาบันเกษตรกร ผู้ผลิตผักและผลไม้ จานวน 50 แห่ง
2) สถาบันเกษตรกร ผลิตสมุนไพร จานวน 5 แห่ง
4. งบประมาณ รวม 1,074,000 บาท

งบประมาณรวม งบประมาณ (บาท)


1,074,000
1. งบดาเนินงาน 1,074,000
1.1 ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าเช่าที่พักและค่าพาหนะ 343,200
1.2 ค่าใช้จ่ายในการสัมมนาและฝึกอบรม 696,800
1.3 ค่าวัสดุ 34,000
2. งบเงินอุดหนุน -

5. กิจกรรมหรือวิธีดาเนินงาน
5.1 การจัดอบรมหลักสูตร “การจัดทามาตรฐานเกษตรปลอดภัยเพื่อขอการรับรองแบบกลุ่ม"
(50 แห่ง)
5.2 การจัดอบรมหลักสูตร “การผลิตพืชสมุนไพรที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน GAP" และ หลักสูตร
การสร้างเวทีจัดทาแผนการผลิตและเชื่อมโยงเครือข่ายระหว่างผู้ผลิตและผู้ประกอบการ" (5 แห่ง)
5.3 จัดทาฐานข้อมูล แนะนา ส่งเสริม และติดตามผลการดาเนินกิจกรรมเกษตรปลอดภัยสินค้าผัก
ผลไม้
5 .4 จัดทาฐานข้อมูล แนะนา ส่งเสริม และติดตามผลการดาเนินกิจกรรมเกษตรปลอดภัยสิ น ค้า
สมุนไพร
3

6. ผลผลิต ผลลัพธ์ และดัชนีชี้วัดความสาเร็จ


ผลผลิต (Output) :
สมาชิกสหกรณ์และกลุ่ มเกษตรกรได้รับการถ่ายทอดด้านการรับรองการปฏิบัติทางการเกษตรที่ ดี
(Good Agricultural Practices: GAP) หรือมาตรฐานอื่นที่เกี่ยวข้อง
เชิงผลลัพธ์ (Outcome)
สมาชิ ก สหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรที่ ไ ด้ รั บ ความรู้ ด้ า นการรั บ รองการปฏิ บั ติ ท างการเกษตรที่ ดี
(Good Agricultural Practices: GAP) หรือมาตรฐานอื่นที่เกี่ยวข้อง สามารถนาความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติหรือเป็น
แนวทางในการทาเกษตรปลอดภัย
7. ดัชนีชี้วัดความสาเร็จ (KPIs)
7.1 เชิงปริมาณ
7.1.1 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งเสริมให้สมาชิกทาเกษตรปลอดภัย ไม่น้อยกว่า 55 แห่ง
7.1.2 จานวนสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เป็นกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
7.1.3 เกษตรกรสมาชิกมีรายได้จากการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยเพิ่มขึ้นเฉลี่ยไม่น้อยกว่าร้อยละ 3
7.1.4 สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ มีการยื่นขอใบรับรองมาตรฐานการปฏิบัติ
ทางการเกษตรที่ดี (GAP) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
7.2 เชิงคุณภาพ
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 3
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับได้ยื่นขอใบรับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP)
และเป้าหมายมีปริมาณการรวบรวมผลผลิตทางการเกษตรของสมาชิกเพื่อเข้าสู่ตลาดเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งสมาชิก
สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรและเกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการขายผลผลิตได้ในราคาที่สูงขึ้น
9. กลุ่มเป้าหมายผู้ได้รับประโยชน์
10.1 สมาชิกสถาบันเกษตรกรที่ผลิตผัก ผลไม้ และสมุนไพร
10.2 ผู้บริโภคสินค้าเกษตรปลอดภัย
10. ระยะเวลาในการดาเนินโครงการ
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

********************************
4
ส่วนที่ 2
แนวทางการปฏิบัติงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัด

➢ กิจกรรม ส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร (สำหรับพืชผักและผลไม้)


สำนักงานสหกรณ์จังหวัดที่มีสถาบันเกษตรกรและเกษตรกรที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP ปี 2565
(ภายใต้โครงการส่งเสริมและสนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทำการเกษตรเพื่อ เพิ่มมูลค่าปีงบประมาณ พ.ศ.
2564 ) จำนวน 1,200 ราย 50 แห่ง ในพื้นที่ 22 จังหวัด ดำเนินการตามแนวทางการปฏิบัติงาน ดังนี้
1. เจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติงาน (Action Plan) โครงการฯ
2. เจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดดำเนินการ จัดอบรม ถ่ายทอดให้ความรู้ ด้านมาตรฐานเกษตร
ปลอดภัยเพื่อยื่นขอตรวจการรับรองการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) แบบกลุ่ม ในการขอต่ออายุใบรับรองฯ
โดยเนื้อหา วิชาที่อบรม ควรประกอบไปด้วยความรู้ต่าง ๆ ดังนี้
- การสร้างระบบการรับรองมาตรฐาน การสร้างความเชื่อมั่นในการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย
โดยให้มคี วามรู้ความเข้าใจด้านระบบการตรวจสอบย้อนกลับ ผู้บริโภคสามารถตรวจสอบย้อนกลับได้
- ด้านความสำคัญและการต่ออายุ GAP
- ด้านคุณภาพและการรักษามาตรฐาน GAP
- ด้านการวางแผนการผลิต การตลาด เชื่อมโยงสินค้าเกษตรปลอดภัย
- ด้านอื่น ๆ ตามความเหมาะสมและความจำเป็น
3. เจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดดำเนินการ แนะนำ ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดทำ
ฐานข้อมูลด้านสินค้าผัก และผลไม้ปลอดภัยร่วมกับเกษตรกรสมาชิกที่ได้รับใบรับรองมาตรฐาน GAP ในปี 2565
4. เจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดดำเนินการ แนะนำ ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดทำ
แผนการรวบรวมสินค้าผัก และผลไม้ปลอดภัยของสมาชิกที่ได้ใบรับรองมาตรฐาน GAP ปี 2565
5. สำนักงานสหกรณ์จังหวัดติดตาม ประเมินผล การดำเนินธุรกิจรวบรวมและจำหน่ายผลผลิตผักและ
ผลไม้ของสถาบันเกษตรกร
6. เจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดประชาสัมพันธ์ให้สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ผู้ปลูกผักและ
ผลไม้ ปลูกผลผลิตที่มีคุณภาพ เพื่อยื่นขอตรวจการรับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP)
7. เจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปฏิบัติงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามตัวชี้วัดระดับกิจกรรมหลักที่ระบุ
ตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
5

8. เจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดจัดทำแบบรายงาน และรายงานตามกำหนด ดังนี้


ที่ รายการ กำหนดส่ง วิธีการรายงาน
1 แบบรายงานที ่ 1 แบบรายงานแผน/ผลการ ทุกวันที่ 25 ของเดือน ระบบ E-Project
ปฏิบัติงานและผลการใช้ จ ่ายงบประมาณประจำปี
งบประมาณ 2566
2 แบบรายงานที่ 2 รายงานผลการจัดทำแผนการผลิต ภายในวันที่ 31 พ.ค. 66 ทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
การตลาด การรวบรวมผลผลิต cpdplant@gmail.com

3 แบบรายงานที่ 3 สรุปรายงานผลตามตัวชี้วัด ครั้งที่ 1 ภายในวันที่ 31 มี.ค. 66 ทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์


ครั้งที่ 2 ภายในวันที่ 30 มิ.ย. 66 cpdplant@gmail.com
ครั้งที่ 3 ภายในวันที่ 15 ก.ย. 66
4 แบบรายงานที่ 4 แบบรายงานการยื่น ขอใบรับรอง ภายในวันที่ 31 ส.ค. 66 ระบบ E-Project
มาตรฐานการปฏิบัติที่ดี (GAP)
5 แบบรายงานที่ 5 อัตราการขยายตัวของมูลค่าสินค้า ครั้งที่ 1 ภายในวันที่ 31 มี.ค. 66 ทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
เกษตรปลอดภัยขยายตัว ครั้งที่ 2 ภายในวันที่ 30 มิ.ย. 66 cpdplant@gmail.com
ครั้งที่ 3 ภายในวันที่ 15 ก.ย. 66
6 แบบรายงานที่ 6 ปริมาณธุรกิจด้านเกษตรปลอดภัย ครั้งที่ 1 ภายในวันที่ 31 มี.ค. 66 ทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรขยายตัว ครั้งที่ 2 ภายในวันที่ 30 มิ.ย. 66 cpdplant@gmail.com
ครั้งที่ 3 ภายในวันที่ 15 ก.ย. 66
7 แบบรายงานที่ 7 แบบสรุปผลการสำรวจเข้าร่ว ม ภายในวันที่ 31 สิงหาคม 2566 ทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
โครงการปี 2567 cpdplant@gmail.com

9. จั ด ทำสรุ ป เล่ ม รายงานผลการดำเนิ น งานโครงการ พร้ อ มจั ด ส่ ง ไฟล์ เ อกสาร ทางไปรษณี ย์


อิเล็กทรอนิกส์ cpdplant@gmail.com ภายในวันที่ 15 กันยายน 2566 ซึ่งเล่มรายงานประกอบไปด้วยเนื้อหา
ดังต่อไปนี้
1) กลุ่มเป้าหมาย แผน ผล การดำเนินโครงการ
2) กิจกรรมที่ดำเนินการ
3) แผน ผล การผลิต และการรวบรวมของสถาบันเกษตรกร และผลผลิตของเกษตรกร
4) ข้อมูลพื้นฐานของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ
5) ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ
6) ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการดำเนินงานโครงการ
6
แนวทางการปฏิบัติงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัด

➢ กิจกรรม ส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร (สำหรับพืชสมุนไพร)


สำนักงานสหกรณ์จังหวัดที่มีสถาบันกเกษตรกรที่สมาชิกผลิตพืชสมุนไพร จำนวน 5 แห่งๆละ 20 ราย
ในพื้นที่ 5 จังหวัด
ดำเนินการตามแนวทางการปฏิบัติงาน ดังนี้
1. เจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติงาน (Action Plan) โครงการฯ
2. เจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดดำเนินการ จัดอบรม ถ่ายทอดให้ความรู้ ด้านมาตรฐานเกษตร
ปลอดภัย และสร้างเวทีจัดทำแผนการผลิตและเชื่อมโยงเครือข่ายระหว่างผู้ผลิตและผู้ประกอบการ โดยเนื้อหา วิชา
ที่อบรม ควรประกอบไปด้วยความรู้ต่าง ๆ ดังนี้
- การผลิตพืชสมุนไพรที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน GAP
- การสร้างระบบการรับรองมาตรฐาน การสร้างความเชื่อมั่นในการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย
โดยให้มีความรู้ความเข้าใจด้านระบบการตรวจสอบย้อนกลับ ผู้บริโภคสามารถตรวจสอบย้อนกลับได้
- ด้านคุณภาพและการรักษามาตรฐาน GAP
- ด้านการวางแผนการผลิต การตลาด เชื่อมโยงสินค้าเกษตรปลอดภัย
- ด้านอื่น ๆ ตามความเหมาะสมและความจำเป็น
3. เจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดดำเนินการ แนะนำ ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดทำ
ฐานข้อมูลด้านสินค้าพืชสมุนไพร
4. เจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดดำเนินการ แนะนำ ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดทำ
แผนการรวบรวมสินค้าพืชสมุนไพร
5. สำนักงานสหกรณ์จังหวัดติดตาม ประเมินผล การดำเนินธุรกิจรวบรวมและจำหน่ายผลผลิต พืชสมุนไพร
ของสถาบันเกษตรกร
6. เจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปฏิบัติงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามตัวชี้วัดระดับกิจกรรมหลักที่ระบุ
ตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
7

7. เจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดจัดทำแบบรายงาน และรายงานตามกำหนด ดังนี้

ที่ รายการ กำหนดส่ง วิธีการรายงาน


1 แบบรายงานที ่ 1 แบบรายงานแผน/ผลการ ทุกวันที่ 25 ของเดือน ระบบ E-Project
ปฏิ บ ั ต ิ ง านและผลการใช้ จ ่ า ยงบประมาณประจำ
ปีงบประมาณ 2566
2 แบบรายงานที่ 2 รายงานผลการจัดทำแผนการผลิต ภายในวันที่ 31 พ.ค. 66 ทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
การตลาด การรวบรวมผลผลิต cpdplant@gmail.com

3 แบบรายงานที่ 3 สรุปรายงานผลตามตัวชี้วัด ครั้งที่ 1 ภายในวันที่ 30 มิ.ย. 66 ทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์


ครั้งที่ 2 ภายในวันที่ 15 ก.ย. 66 cpdplant@gmail.com

8. จัดทำสรุปเล่มรายงานผลการดำเนินงานโครงการ พร้อมจัดส่งไฟล์เอกสาร ทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์


cpdplant@gmail.com ภายในวันที่ 15 กันยายน 2566 ซึ่งเล่มรายงานประกอบไปด้วยเนื้อหา ดังต่อไปนี้
1) กลุ่มเป้าหมาย แผน ผล การดำเนินโครงการ
2) กิจกรรมที่ดำเนินการ
3) แผน ผล การผลิต และการรวบรวมของสถาบันเกษตรกร และผลผลิตของเกษตรกร
4) ข้อมูลพื้นฐานของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ
5) ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ
6) ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการดำเนินงานโครงการ
7) งบประมาณที่ได้รับจัดสรร/เบิกจ่าย แบ่งเป็น
7.1 ค่าเบี้ยเลี้ยง ที่พัก พาหนะ
7.2 ค่าใช้จ่ายในการจัดอบรม สัมมนา
8) ตัวชี้วัด
9) ปัญหา/อุปสรรคของการดำเนินงานโครงการ
10) แนวทางแก้ไข/ข้อเสนอแนะ
11) ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ (อย่างน้อย 4 ภาพ)
8

แผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


โครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร
กิจกรรม : ส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ตัวชี้วัดผลความสาเร็จ เป้าหมาย
1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งเสริมให้สมำชิกทำกำรเกษตรปลอดภัย 55 แห่ง
2. สมำชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป้ำหมำยได้รับควำมรู้กำรทำเกษตรปลอดภัย ร้อยละ80
3. เกษตรกรสมำชิกมีรำยได้จำกกำรผลิตเกษตรปลอดภัยเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่ำ ร้อยละ 3
4. สมำชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีกำรยื่นขอใบรับรองมำตรฐำนกำรปฏิบัตทิ ำงกำรเกษตรที่ดี (GAP) ไม่น้อยกว่ำ ร้อยละ 50
5. มูลค่ำธุรกิจสินค้ำเกษตรปลอดภัยของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกที่เข้ำร่วมโครงกำรเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่ำ ร้อยละ 3
หน่วยงานเจ้าของงบประมาณ : กรมส่งเสริมสหกรณ์ หน่วยงานรับผิดชอบดาเนินงาน : กองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร
ปริมาณงาน ปีงบปประมาณ 2566
งบประมาณ
กิจกรรม/งานที่ดาเนินการ พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566
หน่วยนับ เป้าหมาย
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ผู้รับผิดชอบ
1 จัดทำคู่มือแนวทำงกำรปฏิบัตงิ ำนโครงกำรส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1 เล่ม
ปี 2565 กพก.
2 จัดประชุมชี้แจงโครงกำรยกระดับคุณภำพมำตรฐำนสินค้ำเกษตร กิจกรรม ส่งเสริมเกษตรปลอดภัย 1 ครั้ง
ในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร (ผ่ำนระบบ Zoom Meeting) กพก.
3 ประสำนงำน ให้คำแนะนำ และติดตำมผลกำรดำเนินงำน กำรสนับสนุนกำรทำเกษตรปลอดภัยสำหรับ 50/22 แห่ง/จังหวัด 54,500 กพก.
พืชผักและผลไม้ ร่วมกับเจ้ำหน้ำที่สำนักงำนสหกรณ์จังหวัดเพื่อให้เป็นไปตำมวัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
ที่กำหนด
4 ประสำนงำน ให้คำแนะนำ และติดตำมผลกำรดำเนินงำน กำรส่งเสริมทำกำรเกษตรปลอดภัยสำหรับ 5/5 แห่ง/จังหวัด 63,700 กพก.
พืชสมุนไพร ร่วมกับเจ้ำหน้ำที่สำนักงำนสหกรณ์จังหวัดและที่ปรึกษำเพื่อให้เป็นไปตำมวัตถุประสงค์
และตัวชี้วัดที่กำหนด
5 รวบรวมข้อมูล และรำยงำนควำมคืบหน้ำของกำรดำเนินโครงกำร และประโยชน์ที่ได้รับจำกกำร 10 ครั้ง
ดำเนินงำน พร้อมทั้งปัญหำอุปสรรค ของเป็นประจำทุกเดือน กพก.
6 รำยงำนผลลัพธ์ ผลสัมฤทธิ์ของโครงกำรตำมรูปแบบที่กองแผนงำนกำหนด ภำยใน 20 วัน 1 ครั้ง
นับแต่สิ้นปีงบประมำณ กพก.
9

หน่วยงานเจ้าของงบประมาณ : กรมส่งเสริมสหกรณ์ หน่วยงานรับผิดชอบดาเนินงาน : กองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร


ปริมาณงาน ปีงบปประมาณ 2565
งบประมาณ
กิจกรรม/งานที่ดาเนินการ พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566
หน่วยนับ เป้าหมาย
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ผู้รับผิดชอบ
ส่วนภูมิภาค
1. ดาเนินการภายใต้โครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร กิจกรรม : ส่งเสริมเกษตร
ปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร (สินค้าพืชผักและผลไม้)
1.1 อบรมให้ควำมรู้ดำ้ นกำรสร้ำงระบบรับรองมำตรฐำนเพื่อสร้ำงควำมเชื่อมั่นในกำรผลิตสินค้ำปลอดภัย 1,200 รำย 562,800 สสจ.
1.2 แนะนำ ส่งเสริม ให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรจัดทำฐำนข้อมูลด้ำนสินค้ำผักและผลไม้ปลอดภัยร่วมกับ 1,200 รำย 240,000
สมำชิกที่ได้รับมำตรฐำน GAP ในปี 2565 สสจ.
1.3 แนะนำ ส่งเสริม สนับสนุน ขับเคลื่อนให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดทำแผนกำรรวบรวมผลผลิตจำก 50 แห่ง
เกษตรกรที่ได้รับกำรรับรอง GAP ปี 2565 รวมไปถึงกำรส่งเสริมให้สมำชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สสจ.
ทำเกษตรปลอดภัย
1.4 รำยงำนผลกำรดำเนินธุรกิจรวบรวมและจำหน่ำยผลผลิตของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เข้ำร่วมโครงกำรฯ 50 แห่ง
สสจ.
1.5 แนะนำ ส่งเสริม ให้สมำชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ผู้ปลูกผักและผลไม้ ปลูกผลผลิตที่มีคุณภำพ 50 แห่ง
เพื่อยื่นขอใบรับรองมำตรฐำนกำรปฏิบัตทิ ำงกำรเกษตรที่ดี (GAP) สสจ.
1.6 ติดตำม และประเมินผลเกษตรกรที่ยื่นขอใบรับรองมำตรฐำน GAP 1,200 รำย สสจ.
10

หน่วยงานเจ้าของงบประมาณ : กรมส่งเสริมสหกรณ์ หน่วยงานรับผิดชอบดาเนินงาน : กองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร


ปริมาณงาน ปีงบปประมาณ 2565
งบประมาณ
กิจกรรม/งานที่ดาเนินการ พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566
หน่วยนับ เป้าหมาย
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ผู้รับผิดชอบ
2. ดาเนินการภายใต้โครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร กิจกรรม : ส่งเสริมเกษตร
ปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร (สินค้าพืชสมุนไพร)
2.1 อบรมให้ควำมรู้ดำ้ นกำรสร้ำงระบบรับรองมำตรฐำนเพื่อสร้ำงควำมเชื่อมั่นในกำรผลิตสินค้ำปลอดภัย 100 รำย 67,000 สสจ.
2.2 อบรมสร้ำงเวทีกำรจัดทำแผนกำรผลิตและเชื่อมโยงเครือข่ำยระหว่ำงผู้ผลิตและผู้ประกอบกำร 100 รำย 67,000
2.2 แนะนำ ส่งเสริม ให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้ควำมรู้สมำชิกทำกำรผลิตสินค้ำพืชสมุนไพรให้ได้ 100 รำย 19,000
มำตรฐำน GAP โดยจัดทำฐำนข้อมูลสมุนไพรของสมำชิก สสจ.
2.3 แนะนำ ส่งเสริม สนับสนุน ขับเคลื่อนให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดทำแผนกำรรวบรวมผลผลิตจำก 5 แห่ง
เกษตรกรที่ผลิตพืชสมุนไพร สสจ.
2.4 แนะนำ ส่งเสริมให้สมำชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ผู้ปลูกพืชสมุนไพรผลิตพืชที่มีคุณภำพ เพื่อยื่นขอ 5 แห่ง
ตรวจรับรองมำตรฐำนกำรปฏิบัตทิ ำงกำรเกษตรที่ดี (GAP) สสจ.
2.5 ติดตำม และประเมินผล เกษตรกรผู้ผลิตพืชสมุนไพร 100 รำย สสจ.
3 รวบรวมข้อมูล รายงานความคืบหน้าของการดาเนินโครงการ และประโยชน์ที่ได้รับจากการ 10 ครั้ง
ดาเนินงาน พร้อมทั้งปัญหาอุปสรรคเป็นประจาทุกเดือน สสจ.
4 รายงานผลการเบิกจ่ายงบประมาณ 10 ครั้ง สสจ.
5 จัดทาสรุปเล่มรายงานผลการดาเนินงานโครงการ พร้อมจัดส่งไฟล์เอกสารมาทางไปรษณีย์ 1 เล่ม
อิเล็กทรอนิกส์ cpdplant@gmail.com ภายในวันที่ 15 กันยายน 2566 สสจ.
รวมงบประมาณ 1,074,000
11
รายชื่อสหกรณ์และกลุ่มเกษตรเป้าหมาย (สาหรับพืชผักผลไม้)
ตามโครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร กิจกรรม : ส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
(ภายใต้โครงการส่งเสริมและสนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทาการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่า GAP 2564 )
รวมเป้าหมาย 1,200 ราย
ที่ จังหวัด ที่ ชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จานวน (ราย)
1 กาฬสินธุ์ 1 สหกรณ์การเกษตรก้าวแสน จากัด 9
กาฬสินธุ์ 2 สหกรณ์การเกษตรแก้มลิงหนองเลิงเปือย จากัด 14
2 ขอนแก่น 3 สหกรณ์การเกษตรผู้ปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษอาเภอซาสูง จากัด 41
3 จันทบุรี 4 สหกรณ์นิคมสอยดาว จากัด 9
4 เชียงใหม่ 5 สหกรณ์การเกษตรโครงการปางอุ๋ง จากัด 50
เชียงใหม่ 6 สหกรณ์นิคมแม่แจ่ม จากัด 6
5 ตรัง 7 สหกรณ์การเกษตรปะเหลียน จากัด 10
6 ตราด 8 สหกรณ์ส่งเสริมธุรกิจภาคเกษตรจังหวัดตราด จากัด 11
7 นครศรีธรรมราช 9 สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านวังลุง จากัด 64
นครศรีธรรมราช 10 สหกรณ์การเกษตรพรหมคีรี จากัด 20
นครศรีธรรมราช 11 สหกรณ์การเกษตรพัฒนาชนบทนบพิตา จากัด 40
นครศรีธรรมราช 12 สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. นครศรีธรรมราช จากัด 11
นครศรีธรรมราช 13 สหกรณ์การเกษตรลานสกา จากัด 20
นครศรีธรรมราช 14 สหกรณ์การเกษตรหัวไทร จากัด 29
นครศรีธรรมราช 15 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนลานแก้วประชาสรรค์ จากัด 19
8 น่าน 16 สหกรณ์การเกษตรเชียงกลาง จากัด 25
น่าน 17 สหกรณ์การเกษตรท่าวังผา จากัด 12
น่าน 18 สหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินท่าวังผา จากัด 136
น่าน 19 สหกรณ์การเกษตรปัว จากัด 21
9 บุรีรัมย์ 20 สหกรณ์การเกษตรคูเมือง จากัด 17
บุรีรัมย์ 21 สหกรณ์การเกษตรเมืองบุรีรัมย์ จากัด 20
บุรีรัมย์ 22 สหกรณ์นิคมแคนดง จากัด 12
10 ประจวบคีรีขันธ์ 23 สหกรณ์ชาวไร่สับปะรดหัวหิน จากัด 34
11 พะเยา 24 สหกรณ์การเกษตรจุน จากัด 20
พะเยา 25 สหกรณ์นิคมเชียงคา จากัด 1
12 พังงา 26 สหกรณ์การเกษตรตะกั่วป่า จากัด 8
12

รายชื่อสหกรณ์และกลุ่มเกษตรเป้าหมาย (สาหรับพืชผักผลไม้)
ตามโครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร กิจกรรม : ส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
(ภายใต้โครงการส่งเสริมและสนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทาการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่า GAP 2564 )
13 พิจิตร 27 สหกรณ์การเกษตรโพทะเล จากัด 5
พิจิตร 28 สหกรณ์ชาวนาวังทรายพูน จากัด 52
14 พิษณุโลก 29 สหกรณ์นิคมวังทอง จากัด 17
15 เพชรบุรี 30 สหกรณ์การเกษตรท่ายาง จากัด 76
เพชรบุรี 31 สหกรณ์การเกษตรหุบกะพง จากัด 5
16 ระนอง 32 กลุ่มเกษตรกรทาสวนผสมบ้านในกรัง 10
ระนอง 33 สหกรณ์กองทุนสวนยางคอคอดกระ จากัด 8
ระนอง 34 สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ระนอง จากัด 20
ระนอง 35 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนทองหลางร่วมใจพัฒนา จากัด 15
17 ลาปาง 36 สหกรณ์การเกษตรแม่พริก จากัด 30
ลาปาง 37 สหกรณ์การเกษตรสบปราบ จากัด 10
18 เพชรบูรณ์ 38 สหกรณ์ผักปลอดภัยภูทับเบิก จากัด 12
19 สุโขทัย 39 สหกรณ์นิคมนครเดิฐ จากัด 12
สุโขทัย 40 สหกรณ์นิคมสวรรคโลก จากัด 12
สุโขทัย 41 สหกรณ์นิคมหนองบัวพัฒนา จากัด 30
สุโขทัย 42 สหกรณ์แปรรูปกล้วยตาบลหนองตูม จากัด 8
20 สุราษฎร์ธานี 43 สหกรณ์การเกษตรบ้านนาสาร จากัด 40
สุราษฎร์ธานี 44 สหกรณ์การเกษตรเมืองสุราษฎร์ธานี จากัด 15
สุราษฎร์ธานี 45 สหกรณ์นิคมวิภาวดี จากัด 15
21 อุตรดิตถ์ 46 สหกรณ์การเกษตรนิคมฯ ลานาน่าน จากัด 22
อุตรดิตถ์ 47 สหกรณ์การเกษตรเมืองลับแล จากัด 47
22 อุทัยธานี 48 สหกรณ์การเกษตรลานสัก จากัด 25
อุทัยธานี 49 สหกรณ์การเกษตรห้วยคต จากัด 42
อุทัยธานี 50 สหกรณ์นิคมลานสัก จากัด 13
13
รายชื่อสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป้าหมายพืชสมุนไพร ปี 2566
ตามโครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร
กิจกรรม : ส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร

ที่ จังหวัด ที่ รายชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จานวน (ราย)


1 นครสวรรค์ 1 สหกรณ์การเกษตรบรรพตพิสัย จากัด 20
2 ปราจีนบุรี 2 สหกรณ์เกษตรอินทรีย์ปราจีนบุรี จากัด 20
3 พิษณุโลก 3 สหกรณ์การเกษตรนิคมฯ บางระกา จากัด 20
4 ลาปาง 4 สหกรณ์การเกษตรสมุนไพรตาบลแม่มอก จากัด 20
5 อุทัยธานี 5 สหกรณ์การเกษตรห้วยคต จากัด 20
รวม 100
14
งบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2566
KPI Template (คำอธิบำยตัวชี้วัด)
โครงกำรส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
ชื่อตัวชี้วัด 1 : สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งเสริมให้สมำชิกทำกำรเกษตรปลอดภัย
หน่วยวัด : แห่ง
เป้ำหมำย : ..............................................(ระบุจำนวนเป้ำหมำยตำมแผนปฏิบัติงำนของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ปี 2566)
คำอธิบำย :
1.สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร หมำยถึง สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีสมำชิกได้รับกำรรับรองมำตรฐำน GAP ปี 2565
(ภำยใต้โครงกำรส่งเสริมและสนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทำกำรเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564)
2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตร หมำยถึง สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป้ำหมำยตำมโครงกำรฯ ที่มีสมำชิกดำเนินธุรกิจรวบรวม
พืชสมุนไพร

สูตรกำรคำนวณ : จำนวนของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับกำรส่งเสริมกำรทำเกษตรปลอดภัย
เกณฑ์กำรให้คะแนน (ถ้ำมี) : ช่วงกำรปรับเกณฑ์กำรให้คะแนน +/- 1 หน่วย ต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์
กำรให้คะแนนดังนี้
เกณฑ์กำรให้คะแนน
1 2 3 4 5
35 40 45 50 55
เงื่อนไข :
รำยละเอียดข้อมูลพื้นฐำน :

ข้อมูลพืน้ ฐำน (Baseline Data)


ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565
0 0 0

แหล่งข้อมูล/วิธีกำรเก็บข้อมูล :
1. แบบรำยงำนโครงกำรส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
2. สำนักงำนสหกรณ์จังหวัดที่มีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีสมำชิกได้รับกำรรับรองมำตรฐำน GAP ปี 2565
(ภำยใต้โครงกำรส่งเสริมและสนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทำกำรเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564)
รวบรวมข้อมูลและจัดส่งรำยงำน
3. สำนักงำนสหกรณ์จังหวัดที่มีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกตำมรำยชื่อเป้ำหมำยโครงกำรฯ มีสมำชิกผลิตพืชสมุนไพร
4. สำนักงำนสหกรณ์จังหวัดจัดเก็บข้อมูลเป็นรำยแห่ง ทุกแห่ง

ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : กรมส่งเสริมสหกรณ์
ผู้จัดเก็บข้อมูล :
15
งบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2566
KPI Template (คำอธิบำยตัวชี้วัด)
โครงกำรส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
ชื่อตัวชี้วัด 2 : สมำชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป้ำหมำยได้รับควำมรู้กำรทำเกษตรปลอดภัย
หน่วยวัด : ร้อยละ
เป้ำหมำย : ..............................................(ระบุจานวนเป้าหมายตามแผนปฏิบัติงานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ปี 2566)
คำอธิบำย :
1. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร หมายถึง สมาชิกของสหกรณ์กลุ่มเกษตรกรที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP ปี 2565
(ภายใต้โครงการส่งเสริมและสนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทาการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564)
2. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตร หมายถึง สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป้าหมายตามโครงการฯ ที่มีสมาชิกดาเนินธุรกิจรวบรวม
พืชสมุนไพร
สูตรกำรคำนวณ : จำนวนสมำชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป้ำหมำยที่เข้ำรับกำรอบรมตำมโครงกำรฯ x 100
จำนวนสมำชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรที่เป็นเป้ำหมำยตำมโครงกำรฯ ทั้งหมด
เกณฑ์กำรให้คะแนน (ถ้ำมี) : ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- 1 หน่วย ต่อ 1 คะแนน โดยกาหนดเกณฑ์
การให้คะแนนดังนี้
เกณฑ์กำรให้คะแนน
1 2 3 4 5
60 65 70 75 80
เงื่อนไข :
รำยละเอียดข้อมูลพื้นฐำน :
ข้อมูลพืน้ ฐำน (Baseline Data)
ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565
0 0 0

แหล่งข้อมูล/วิธีกำรเก็บข้อมูล :
1. แบบรายงานโครงการส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
2. สานักงานสหกรณ์จังหวัดที่มีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีสมาชิกได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP ปี 2565
(ภายใต้โครงการส่งเสริมและสนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทาการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564)
รวบรวมข้อมูลและจัดส่งรายงาน
3. สานักงานสหกรณ์จังหวัดที่มีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามรายชื่อเป้าหมายโครงการฯ มีสมาชิกผลิตพืชสมุนไพร
4. สานักงานสหกรณ์จังหวัดจัดเก็บข้อมูลเป็นรายแห่ง ทุกแห่ง
ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : กรมส่งเสริมสหกรณ์
ผู้จัดเก็บข้อมูล :
16
งบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2566
KPI Template (คำอธิบำยตัวชี้วัด)
โครงกำรส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
ชื่อตัวชี้วัด 3 : เกษตรกรสมำชิกมีรำยได้จำกกำรผลิตสินค้ำเกษตรปลอดภัยเพิ่มขึ้นเฉลี่ย
หน่วยวัด : ร้อยละ
เป้ำหมำย : 3
คำอธิบำย :
1. สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นเฉลี่ย หมายถึง รายได้จากการขายผลผลิต
ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ได้ใบรับรองมาตรฐาน GAP ปี 2565 เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับก่อนได้ใบรับรอง
มาตรฐานโครงการ GAP (ภายใต้ ส่งเสริมและสนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทาการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่า
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เป้าหมายโครงการ 1,200 ราย)
2. รายได้ของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ได้ใบรับรองมาตรฐาน GAP ปี 2565 หมายถึง รำคำผลผลิต
ที่สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรขายได้หลังได้ใบรับรองมาตรฐาน GAP ปี 2565 x ปริมำณผลผลิตที่ผลิตได้
หลังได้ใบรับรองมาตรฐาน GAP ปี 2565
3. รายได้ผลผลิตของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรก่อนได้ใบรับรองมาตรฐาน GAP หมายถึง รำคำผลผลิตที่
สมาชิก และกลุ่มเกษตรกรขายได้ก่อนได้รับใบรับรองมาตรฐาน GAP ปี 2565 x ปริมาณผลผลิตที่ผลิตได้ก่อน
สหกรณ์
ได้ใบรับรองมาตรฐาน GAP ปี2565

สูตรกำรคำนวณตัวชี้วัด :
รายได ้จากการขายผลผลิตหลังได ้ใบรับรองมาตรฐาน 𝐺𝐴𝑃 − รายได ้จากการขายผลผลิตก่อนได ้ใบรับรองมาตรฐาน 𝐺𝐴𝑃
𝑥100
รายได ้จากการขายผลผลิตก่อนได ้ใบรับรองมาตรฐาน 𝐺𝐴𝑃

เกณฑ์กำรให้คะแนน (ถ้ำมี) : ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- 1 หน่วย ต่อ 1 คะแนน โดยกาหนดเกณฑ์


การให้คะแนนดังนี้

เกณฑ์กำรให้คะแนน
1 2 3 4 5
1 1.5 2 2.5 3
17
เงื่อนไข :
รำยละเอียดข้อมูลพื้นฐำน :

ข้อมูลพื้นฐำน (Baseline Data)


ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565
-

แหล่งข้อมูล/วิธีกำรเก็บข้อมูล :
1. แบบรายงานรายได้จากการผลิตเกษตรปลอดภัยของเกษตรกรสมาชิก
2. สานักงานสหกรณ์จังหวัดที่มีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีสมาชิกได้รับการรับรองมาตรฐาน ปี 2565 (ภายใต้
โครงการส่งเสริมและสนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทาการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564)
รวบรวมข้อมูลและจัดส่งรายงาน
3. สานักงานสหกรณ์จังหวัดจัดเก็บข้อมูลเป็นรายเกษตรกรและเก็บทุกราย
4. กรณีเกษตรกมีการปลูกพืชที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP หลายรอบใน 1 ปี การหาค่าตัวชี้วัดและ
แบบรายงานคานวณมาจาก
4.1 ปริมำณของผลผลิต ทั้งปี เช่น นายสอง ฉลองชัย ปลูกคะน้า ได้ 3 ครั้ง ในรอบการผลิต 1 ปี
ครั้งที่ 1 ได้รับผลผลิต จานวน 120 กิโลกรัม ขายได้กิโลกรัมละ 20 บาท
ครั้งที่ 2 ได้รับผลผลิต จานวน 80 กิโลกรัม ขายได้กิโลกรัมละ 18 บาท
ครั้งที่ 3 ได้รับผลผลิต จานวน 110 กิโลกรัม ขายได้กิโลกรัมละ 21 บาท
ดังนั้น ผลผลิตของเกษตรกร นายสอง หลายใจ มีทั้งสิ้น จานวน 310 กิโลกรัม
4.2 รำคำผลิต ให้นาค่าเฉลี่ยของทั้งปีมาบันทึกข้อมูล โดยนาจากข้อ 4.1 ราคาขายเฉลี่ย = 19.67 บาท/กิโลกรัม
5. ระยะเวลาการเก็บข้อมูลปริมาณผลผลิตของสมาชิกที่ได้รับการรับรองมาตรฐานปี 2565 (ภายใต้ โครงการ
ส่งเสริมและสนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทาการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564)
การผลิตผักและผลไม้คุณภาพของสหกรณ์และกลุ่มเกษตกรสู่มาตรฐาน GAP ประจาปีงบประมาณ 2564
เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2565 ถึงวันที่ 15 กันยายน 2566

ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : กรมส่งเสริมสหกรณ์
ผู้จัดเก็บข้อมูล :
18
งบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2566
KPI Template (คำอธิบำยตัวชี้วัด)
โครงกำรส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
ชื่อตัวชี้วัด 4 : สมำชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้ำร่วมโครงกำรฯ มีกำรยื่นขอใบรับรองมำตรฐำนกำรปฏิบัติ
ทำงเกษตรที่ดี (GAP)
หน่วยวัด : ร้อยละ
เป้ำหมำย : 50
คำอธิบำย : สมำชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร หมำยถึง สมำชิกของสหกรณ์กลุ่มเกษตรกรที่ได้รับกำรรับรอง
มำตรฐำน
GAP ปี 2565 (ภำยใต้โครงกำรส่งเสริมและสนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทำกำรเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่ำ
ปีพ.ศ.
งบประมำณ
2564
สูตรกำรคำนวณตัวชี้วัด :
จำนวนสมำชิกที่เข้ำร่วมโครงกำรฯ ยื่นขอใบรับรองมำตรฐำนกำรปฏิบัติทำงกำรเกษตรที่ดี (GAP) x100
จำนวนสมำชิกเป้ำหมำยที่เข้ำร่วมโครงกำรทั้งหมด
เกณฑ์กำรให้คะแนน (ถ้ำมี) : ช่วงกำรปรับเกณฑ์กำรให้คะแนน +/- 1 หน่วย ต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์
กำรให้คะแนนดังนี้
เกณฑ์กำรให้คะแนน
1 2 3 4 5
400 450 500 550 600

เงื่อนไข :
รำยละเอียดข้อมูลพื้นฐำน :
ข้อมูลพื้นฐำน (Baseline Data)
ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565
-
แหล่งข้อมูล/วิธีกำรเก็บข้อมูล :
1. แบบรำยงำนกำรยื่นขอใบรับรองมำตรฐำนกำรปฏิบัติทำงกำรเกษตรที่ดี (GAP)
2. สำนักงำนสหกรณ์จังหวัดที่มีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีสมำชิกได้รับกำรรับรองมำตรฐำน GAP ปี 2565
(ภำยใต้โครงกำรส่งเสริมและสนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทำกำรเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่ำปีงบประมำณ
พ.ศ. 2564) รวบรวมข้อมูลและจัดส่งรำยงำน
ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : กรมส่งเสริมสหกรณ์
ผู้จัดเก็บข้อมูล :
19
งบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2566
KPI Template (คำอธิบำยตัวชี้วัด)
โครงกำรส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
ชื่อตัวชี้วัด 5 : สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีปริมำณธุรกิจเพิ่มขึ้น
หน่วยวัด : ร้อยละ
เป้ำหมำย : 3
คำอธิบำย :
1. กลุ่มเป้าหมายตามตัวชี้วัดที่อยู่ภายใต้ โครงการส่งเสริมและสนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทาการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่า
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (รายชื่อตามใบรับรองมาตรฐาน GAP ที่ได้รับในปี พ.ศ 2565)
2. ธุรกิจด้านเกษตรปลอดภัย หมายถึง ธุรกิจที่สหกรณ์ดาเนินการรวบรวมผลผลิตที่ได้ใบรับรองมาตรฐาน GAP ปี 2565
3. ปริมาณธุรกิจด้านการเกษตรปลอดภัยของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรขยายตัว หมายถึง สหกรณ์ดาเนินธุรกิจด้านเกษตร
ปลอดภัยเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา

สูตรกำรคำนวณ :
ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์และกลุม
่ เกษตรกรหลังได ้ใบรับรองมาตรฐาน 𝐺𝐴𝑃 − ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์และกลุม ่ เกษตรกรก่อนได ้ใบรับรองมาตรฐาน 𝐺𝐴𝑃
𝑥100
ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรก่อนได ้ใบรับรองมาตรฐาน 𝐺𝐴𝑃

เกณฑ์กำรให้คะแนน (ถ้ำมี) : ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- 1 หน่วย ต่อ 1 คะแนน โดยกาหนดเกณฑ์


การให้คะแนนดังนี้

เกณฑ์กำรให้คะแนน
1 2 3 4 5
1 1.5 2 2.5 3

เงื่อนไข :
รำยละเอียดข้อมูลพื้นฐำน :

ข้อมูลพืน้ ฐำน (Baseline Data)


ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565
0 0 0
20
แหล่งข้อมูล/วิธีกำรเก็บข้อมูล :
1. แบบรายงานปริมาณธุรกิจสินค้าเกษตรปลอดภัยของสหกรณ์
2. สานักงานสหกรณ์จังหวัดที่มีสหกรณ์และกลุ่มเกษตกรที่มีสมาชิกได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP ปี 2565 (ภายใต้โครงการ
ส่งเสริมและสนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทาการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564) รวบรวมข้อมูล
และจัดส่งรายงาน
3. สานักงานสหกรณ์จังหวัดจัดเก็บข้อมูลเป็นรายสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เก็บข้อมูลทุกแห่ง กรณีมีหลายพืชให้ทาแยก
เป็นรายพืช
4. กรณีสถาบันเกษตรกรรวบรวมหลายรอบใน 1 ปี การหาค่าตัวชี้วัดและแบบรายงาน คานวณมาจาก
4.1 ปริมาณผลการรวบรวม
ครั้งที่ 1 รวบรวมผลผลิต จานวน 2,500 กิโลกรัม ขายได้กิโลกรัมละ 20 บาท
ครั้งที่ 2 รวบรวมผลผลิต จานวน 1,000 กิโลกรัม ขายได้กิโลกรัมละ 18 บาท
ครั้งที่ 3 รวบรวมผลผลิต จานวน 500 กิโลกรัม ขายได้กิโลกรัมละ 21 บาท
ดังนั้น ผลผลิตทางการเกษตรของสถาบันเกษตรกร มีจานวนทั้งสิ้น 4,000 กิโลกรัม
4.2 ราคาผลผลิต ให้นาค่าเฉลี่ยของทั้งปีมาบันทึกข้อมูล โดยมาจากข้อ 4.1 ราคาขายเฉลี่ย =19.67 บาท/กิโลกรัม
5. ระยะเวลาการเก็บรักษาข้อมูลปริมาณผลผลิตของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีสมาชิกได้รับใบรับรองมาตรฐาน GAP
ปี 2565 (ภายใต้โครงการส่งเสริมและสนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทาการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่าปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564) เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2565 ถึงวันที่ 15 กันยายน 2566

ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : กรมส่งเสริมสหกรณ์
ผู้จัดเก็บข้อมูล :
ส่วนที่ 3
แบบรายงาน
21

แบบรายงานที่ 1
รายงานแผน/ผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2566
ประจาเดือน..........................................
หน่วยงานรับผิดชอบ สานักงานสหกรณ์จังหวัด...............................................
เป้าหมายของจังหวัด สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกพืชผักและผลไม้ จานวน .......................... แห่ง จานวน.........................ราย
เป้าหมายของจังหวัด สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกพืชสมุนไพร จานวน .......................... แห่ง จานวน.........................ราย
การปฏิบัติงานปีงบประมาณ 2566
หน่วย คาชี้แจง/
แผนปฏิบัติงาน ผลงาน
นับ เป้าหมาย ธ.ค. 66 ม.ค. 66 ก.พ. 66 มี.ค. 66 เม.ย. 66 พ.ค. 66 มิ.ย. 66 ก.ค. 66 ส.ค. 66 ก.ย. 66 ร้อยละ ปัญหา อุปสรรค
สะสม
1. ส่งเสริมการทาเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรพืชผักและผลไม้
1) อบรมให้ความรูด้ ้านการสร้างระบบรับรองมาตรฐานเพื่อสร้างความเชื่อมั่น แห่ง/
ในการผลิตสินค้าผักและผลไม้ปลอดภัย ราย
2) แนะนาส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรจัดทาฐานข้อมูลด้านสินค้าผัก และผลไม้ แห่ง/
ปลอดภัยร่วมกับสมาชิกที่ได้รับใบรับรองมาตรฐาน GAP ในปี 2565 ราย
3) แนะนา ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรจัดทาแผนการรวบรวมสินค้าผัก แห่ง
และผลไม้ปลอดภัยของสมาชิกที่ได้ใบรับรองมาตรฐาน GAP ปี 2565
4) สานักงานสหกรณ์จังหวัด ติดตาม ประเมินผล การดาเนินธุรกิจรวบรวมและ ครัง้ /
จาหน่ายผลผลิตผักและผลไม้ของสถาบันเกษตรกร แห่ง
5) ประชาสัมพันธ์ให้สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ผู้ปลูกผักและผลไม้ ปลูก
ผลผลิตที่มีคุณภาพเพื่อยื่นขอตรวจรับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางเกษตรที่ดี (GAP) แห่ง/
ในการขอต่ออายุใบรับรองฯ ราย
22

การปฏิบัติงานปีงบประมาณ 2566
หน่วย คาชี้แจง/
แผนปฏิบัติงาน ผลงาน
นับ เป้าหมาย ธ.ค. 66 ม.ค. 66 ก.พ. 66 มี.ค. 66 เม.ย. 66 พ.ค. 66 มิ.ย. 66 ก.ค. 66 ส.ค. 66 ก.ย. 66 ร้อยละ ปัญหา อุปสรรค
สะสม
2. ส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรพืชสมุนไพร
1) อบรมให้ความรูด้ ้านการสร้างระบบรับรองมาตรฐานเพื่อสร้างความเชื่อมั่น แห่ง/
ในการผลิตสินค้าพืชสมุนไพร ราย
2) แนะนา ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรจัดทาฐานข้อมูลด้านสินค้าพืชสมุนไพร แห่ง/
ราย
3) แนะนา ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรจัดทาแผนการรวบรวมสินค้าพืชสมุนไพร แห่ง
4) สานักงานสหกรณ์จังหวัด ติดตาม ประเมินผล การดาเนินธุรกิจรวบรวมและ ครัง้ /
จาหน่ายผลผลิตพืชสมุนไพรของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร แห่ง
3. งบประมาณที่เบิกจ่าย บาท
หมายเหตุ ส่งรายงานผลการปฏิบัติงานประจาทุกเดือน ทางระบบ E- Project ทุกวันที่ 25 ของทุกเดือน
ผู้จัดทารายงาน ...................................................................................................
ตาแหน่ง ................................................................ โทร.............................
วันที.่ ...............เดือน............................ปี..............................
23

แบบรายงานที่ 2
แผนการผลิต การตลาด และการรวบรวมผลผลิต
จังหวัด ...........................................................
แผนการผลิตของสมาชิก แผนการรวบรวมของ สหกรณ์/กลุ่มเกตรกร ช่องทางการจัดจาหน่าย สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
ชนิดผัก/ผลไม้/
ที่ สหกรณ์ สมาชิก พื้นที่ให้ผลผลิต ปริมาณผลผลิตที่ออก สมาชิก ปริมาณ ปริมาณ มูลค่า
สมุนไพร ช่วงเดือนที่รวบรวม ชื่อคู่ค้า (ระบุ..)
(ราย) (ไร่) (ตัน) (ราย) (ตัน) (ตัน) (บาท)
รวม
หมายเหตุ : 1. สาหรับแบบรายงานนี้สานักงานสหกรณ์จังหวัดสามารถใช้รายงานได้ทั้ง กลุม่ เป้าหมายพืชผักผลไม้ และพืชสมุนไพร
2. สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ : กลุม่ พัฒนาสหกรณ์การเกษตร 2 กองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุม่ เกษตรกร โทร 02-2813095 ต่อ 222
3. เพื่อความรวดเร็วในการกระบวนการประมวลผลภาพรวม ขอความร่วมมือไม่ดัดแปลงแบบรายงาน
24
แบบรายงานที่ 3
สรุปแบบรายงานตัวชี้วัดที่ 1 - 6 ตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
สานักงานสหกรณ์จังหวัด ...................................................................

รายการตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่าย
ที่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เป้าหมาย ผล หมายเหตุ
1 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งเสริมให้สมาชิกทาการเกษตรปลอดภัย
2 สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมทาการเกษตรปลอดภัย
3 สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีรายได้จากการผลิตสินค้าปลอดภัยเพิ่มขึ้นเฉลี่ย ร้อยละ 3

4 สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯมีการยื่นขอใบรับรองมาตรฐาน ร้อยละ 50
การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP)

5 มูลค่าธุรกิจสินค้าเกษตรปลอดภัยของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น ร้อยละ 3

6 ควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณตามงบรายจ่ายและกิจกรรมหลักและเบิกจ่ายให้ ร้อยละ 100


เป็นไปตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการที่กาหนด

หมายเหตุ
ลาดับที่ 1, 2 เป็นเป้าหมายของแต่ละแผนงานของแต่ละจังหวัด
25

แบบรายงานที่ 4
แบบรายงานการยื่นขอใบรับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP)
ข้อมูล ณ วันที่ ...................................................
เป้าหมายของจังหวัด : สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกผักและผลไม้ จานวน..............................แห่ง จานวน..................................ราย
มีสมาชิกที่ประสงค์ขอยื่นใบรับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) จานวน ...............................................................ราย
ความประสงค์ในขอยื่นใบรับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) ของสมาชิก
กรณีประสงค์ขอยื่นใบรับรองฯ กรณีไม่ขอยื่นใบรับรองฯ
ที่ จังหวัด ชื่อ - สกุล สังกัดสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประสงค์ วันที่ยื่นขอ ชนิดพืช พื้นที่ พื้นที่เก็บ จานวน ไม่ประสงค์ เหตุผล
() ใบรับรองฯ ปลูก เกี่ยว สมาชิกที่ได้ ()
(ระบุ...) (ไร่) (ไร่) ใบรับรองฯ
รวม
หมายเหตุ : รายงานในระบบ E-Project
26

ตัวอย่าง การเก็บตัวชีว้ ัดสมาชิกมีรายได้จากการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยเพิ่มขึน้ เฉลีย่ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 แบบรายงานที่ 5


แบบรายงาน อัตราการขยายตัวของมูลค่าสินค้าเกษตร
สานักงานสหกรณ์จังหวัด….......................................
ข้อมูล ณ วันที่ ................................
ชนิดพืช พื้นที่ พื้นที่ อัตราการ
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย (บาท/กก.) 1. ปริมาณผลผลิต (กก.) 2. ราคาขายผลผลิต (บาท/กก.) 3. มูลค่าผลผลิต (บาท) ช่องทางการจาหน่าย (ระบุ)
ที่ได้ ปลูก เก็บ ขยายตัว
ใบรับรอง (ไร่) เกีย่ ว (1.1)ก่อน (1.2) หลัง (1.1) ก่อน (1.2) หลังได้ (2.1) ก่อน (2.2) หลังได้ (3.1) ก่อน (3.2) หลังได้ ของมูลค่า
GAP (ไร่) ขอรับรอง ได้ ขอรับรอง ใบรับรอง ขอรับรอง ใบรับรอง ขอรับรอง ใบรับรอง สินค้าเกษตร
ที่ ชื่อ - สกุล รหัสรับรอง สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มาตรฐาน ใบรับรอง มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน GAP มาตรฐาน มาตรฐาน สหกรณ์ แหล่งอื่น
GAP มาตรฐาน GAP GAP GAP GAP GAP
GAP
ปริมาณ ราคา มูลค่า ปริมาณ ราคา มูลค่า
(กก.) (บาท/กก.) (บาท) (กก.) (บาท/กก.) (บาท)
1 นายมานะ ใจดี A1-003-63-0001 สหกรณ์การเกษตรพัฒนา จากัด คะน้า 2 1.8 400 500 8 9.70 3,200 4,850 51.56
2 นายปี มีตังค์ A1-003-63-0002 สหกรณ์การเกษตรพัฒนา จากัด มะเขือ 10 8 15,000 15,500 11 9.00 165,000 139,500 - 15.45
3 นายดัง ปังดี A1-003-63-0003 สหกรณ์ผักดี จากัด มะม่วง 3 2.5 25,000 30,000 20 21.00 500,000 630,000 26.00
4 นายมี สีสวย A1-003-63-0004 กลุม่ เกษตรกรรักงาน ฝรัง 5 4.5 900 950 25 23.00 22,500 21,850 - 2.89
ค่าเฉลี่ย 172,675 199,050 15.27
หมายเหตุ 690,700 796,200.00 15.27
1. ห้ามแก้ไขแบบรายงาน 15.27
2. แบบรายงานช่อง 3. มูลค่าผลผลิต (บาท) ตอบตัวชีว้ ัดข้อที่ 3 และ ข้อที่ 5 ตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร
3. ส่งเป็นไฟล์ EXCEL เท่านั้น โดยครั้งที่ 1 รายงานวันที่ 31 มีนาคม 2566 ครั้งที่ 2 วันที่ 30 มิถุนายน 2566 และครั้งที่ 3 วันที่ 15 กัยายน 2566 ทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิคส์ cpdplant@gmail.com
ระบุชอื่ เรื่อง จังหวัด ............ส่งแบบรายงานอัตราการขยายตัวของมูลค่าสินค้าเกษตร
ผูจ้ ัดทา......................................................................
ตาแหน่ง..................................................................
โทร.......................................................................
27

แบบรายงานที่ 6
แบบรายงาน ปริมาณธุรกิจด้านเกษตรปลอดภัยของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรขยายตัว
สานักงานสหกรณ์จังหวัด.....................................................................................
ข้อมูล ณ วันที่..................................................
ชนิดพืช พื้นที่ จานวน ปริมาณธุรกิจด้าน ช่องทางการจาหน่าย
การรวบรวม
ที่ได้ ปลูก สมาชิกที่ เกษตรปลอดภัยของ การจาหน่ายหลังได้ใบรับรอง (โปรดระบุ เช่น
ใบรับรอง (ไร่) ได้รับรอง 1. ปริมาณผลผลิต (กก.) 2. ราคารับซื้อผลผลิต (บาท/กก.) 3. มูลค่าผลผลิต (บาท) สหกรณ์และกลุ่ม มาตรฐาน GAP เครือข่ายสหกรณ์
มาตรฐาน มาตรฐาน (1.1) ก่อนขอ (1.2) หลังได้ (2.1) ก่อน (2.2) หลัง (3.1) ก่อน (3.2) หลังได้ เกษตรกรขยายตัว ปริมาณ ราคา มูลค่าการ ห้างสรรพสินค้า
ที่ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร GAP ปี รับรอง ใบรับรอง ขอรับรอง ได้ใบรับรอง ขอรับรอง ใบรับรอง (กก.) จาหน่าย จาหน่าย
GAP ปี พ่อค้าในพื้นที่ ตลาด
2565 2564 (ราย) มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน (บาท/ (บาท) ส่งออก ออนไลน์
GAP GAP GAP GAP GAP GAP กก.) หรืออื่น ๆ)
1 สหกรณ์การเกษตรพัฒนา จากัด คะน้า 1 5 1,500 2,000 9 10 13,500 19,400 33.33
2 สหกรณ์การเกษตรพัฒนา จากัด มะเขือ 5 8 - 15,500 11 9 - 139,500 100.00
3 สหกรณ์ผักดี จากัด ลาไย 25 15 15,000 18,000 20 21 300,000 378,000 20.00
4 กลุ่มเกษตรกรรักงาน ฝรัง 10 30 - 950 25 23 - 21,850 100.00
ค่าเฉลี่ย 78,375 139,688 63.33
หมายเหตุ
1. ห้ามแก้ไขแบบรายงาน
2. ส่งเป็นไฟล์ EXCEL เท่านั้น โดยครั้งที่ 1 รายงานวันที่ 31 มีนาคม 2566 ครั้งที่ 2 วันที่ 30 มิถุนายน 2566 และครั้งที่ 3 วันที่ 15 กัยายน 2566 ทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิคส์ cpdplant@gmail.com
ระบุชื่อเรื่อง จังหวัด............ส่งแบบรายงานปริมาณธุรกิจด้านเกษตรปลอดภัยของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรขยายตัว
ผู้จัดทา......................................................................
ตาแหน่ง..................................................................
โทร.......................................................................
28

แบบรายงานที่ 7
ข้อมูลพื้นฐานของสมาชิกสถาบันเกษตรกรเป้าหมายที่ขอรับการรับรองมาตรฐาน GAP ปี 2567
สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร...........................................................
จังหวัด......................................................
ข้อมูล ณ วันที่...............................................
การรับรองมาตรฐาน ข้อมูลพื้นฐาน
เอกสารสิทธิ์ที่ดิน
ที่ รายชื่อสมาชิก หมายเลขบัตรประชาชน เคย ไม่เคย ที่ตั้งแปลง ชนิดพืชที่ขอรับรอง พื้นที่ปลูก พื้นที่ให้ผลผลิต คาดว่าจะเก็บเกี่ยวผลผลิต ช่องทาง
ของแปลงปลูก
ไร่ ไร่ (ระบุเดือน) การจาหน่าย
รวม
หมายเหตุ
1. ส่งแบบแจ้งรายชื่อฯ ทาง cpdplant@gmail.com ภายในวันที่ 31 สิงหาคม 2566
2. สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ กลุ่มพัฒนาสหกรณ์การเกษตร 2 โทร 02-2813095 ต่อ 222
ลงชื่อ...........................................................ผู้รายงาน
(.........................................................)
วันที่...........................................................
เบอร์โทรศัพท์.............................................
ลงชื่อ...........................................................ผู้รับรองข้อมูล (เจ้าหน้าที่สานักงานสหกรณ์จังหวัด)
(.........................................................)
วันที่...........................................................
เบอร์โทรศัพท์.............................................
29
รายงานสรุปผลการดาเนินงาน
โครงการส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ผลงานสะสมตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 – 30 กันยายน 2566
ชื่องาน/โครงการ : ............................................................................................................................. .................................
แผนงาน : ...........................................................................................................................................................................
ผลผลิต : ............................................................................................................................. ...............................................
กิจกรรมหลัก : ............................................................................................................................. ......................................

 กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดาเนินการ :
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
 กิจกรรมที่ดาเนินการ :
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
 แผน และ ผลการผลิต และการรวบรวมของสถาบันเกษตรกร และผลผลิตของเกษตรกร :
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
 ตัวชี้วัดความสาเร็จของการดาเนินงานโครงการ :
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

 งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 :


หน่วย : บาท
ประเภทงบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ
1) งบดําเนินงาน
1.1 ค่าพาหนะ ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าที่พัก
1.2 ค่าใช้จ่ายในการจัดอบรม สัมมนา
รวมทั้งสิ้น
หมายเหตุ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
30
สรุปผลการดาเนินงานโครงการ
1) ผลสาเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม
ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดาเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ
ตัวชี้วัด
1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งเสริมให้สมาชิกทํา แห่ง
การเกษตรปลอดภัย
2. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริม ราย
ทําเกษตรปลอดภัย
3. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีรายได้จากการ ร้อยละ 3
ผลิตสินค้าปลอดภัยเพิ่มขึ้นเฉลี่ย
4. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วม ร้อยละ 50
โครงการฯมีการยื่นของใบรับรองมาตรฐานการปฏิบัติ
ทางการเกษตรที่ดี (GAP)
5. มูลค่าธุรกิจสินค้าเกษตรปลอดภัยของสหกรณ์/กลุ่ม ร้อยละ 3
เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น
กิจกรรมที่ดาเนินการ
ส่วนภูมิภาค การสนับสนุนการทาเกษตรปลอดภัยสาหรับสินค้าผักและผลไม้ และพืชสมุนไพร
1. จัดอบรม ถ่ายทอดให้ความรู้ ด้านการสร้างระบบ ราย
รับรองมาตรฐานเพื่อสร้างความเชื่อมั่นในการผลิตสินค้า
ผักและผลไม้ปลอดภัย
2. จัดอบรม ถ่ายทอดให้ความรู้ ด้านการสร้างระบบ ราย
รับรองมาตรฐานเพื่อสร้างความเชื่อมั่นในการผลิตสินค้า
พืชสมุนไพร
3. แนะนา ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดทา แห่ง
ฐานข้อมูลด้านสินค้าผัก และผลไม้ปลอดภัยร่วมกับ
สมาชิกที่ได้รับใบรับรองมาตรฐาน GAP ในปี 2564
4. แนะนา ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดทา แห่ง
ฐานข้อมูลด้านสินค้าพืชสมุนไพรร่วมกับสมาชิก
6. แนะนํา ส่งเสริมให้ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดทา แห่ง
แผนการรวบรวมสินค้าผัก และผลไม้ปลอดภัยของ
สมาชิกที่ได้ใบรับรองมาตรฐาน GAP ปี 2564
7. แนะนํา ส่งเสริมให้ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดทา แห่ง
แผนการรวบรวมสินค้าพืชสมุนไพร
31
ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดาเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ
8. สานักงานสหกรณ์จังหวัดติดตาม ประเมินผล การ ครั้ง
ดาเนินธุรกิจรวบรวมและจาหน่ายผลผลิตผักและผลไม้
ของสถาบันเกษตรกร
9. สานักงานสหกรณ์จังหวัดติดตาม ประเมินผล ครั้ง
การดาเนินธุรกิจรวบรวมและจาหน่ายพืชสมุนไพรของ
สถาบันเกษตรกร
10. รายงานผลการดําเนินงานโครงการตามขั้นตอนและ ครั้ง
เงื่อนเวลาของรายงานตามที่กองพัฒนาสหกรณ์ภาค
การเกษตรและกลุ่มเกษตรกรกําหนด
11. สํานักงานสหกรณ์จังหวัดประชาสัมพันธ์ให้สมาชิก ครั้ง
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ผู้ปลูกผักและผลไม้ ปลูก
ผลผลิตที่มีคุณภาพ เพื่อยื่นขอตรวจรับรองมาตรฐานการ
ปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) ในการต่ออายุใบรับรอง

2) ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการดาเนินงานโครงการ
เชิงปริมาณ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
เชิงคุณภาพ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

 ปัญหา อุปสรรคของการดาเนินงานโครงการ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

 แนวทางแก้ไข หรือข้อเสนอแนะ (เพื่อการปรับปรุงและพัฒนางานทั้งในระดับปฏิบัติและระดับนโยบาย)


..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
32
 ภาพถ่ายแสดงการดาเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ อย่างน้อย 4 ภาพ

ชื่อ-สกุล ผู้รายงาน ...........................................................


ตาแหน่ง ...........................................................
หน่วยงาน ...........................................................

You might also like