You are on page 1of 6

มุมมองจากคนแดนไกล

จุฑาทิพย์ ภัทราวาท

สหกรณ์ เ พื่ อ การจั ด หาการ

เรื่องราวของ ตลาดถื อ เป็ น แรงผลั ก ดั น อั น สำ� คั ญ ใน


การพั ฒนาเศรษฐกิจในชนบท และได้

CHINA COOP มีบทบาทสำ�คัญในการส่งเสริมการจัด


ระบบบริหารจัดการทางการเกษตรและ

ประเทศจีน อุ ต สาหกรรมการเกษตร และกระตุ้ น


ตลาดในชนบท รวมทั้งมุ่งเน้นไปที่การ
เพิ่ ม ขึ้ น ของการผลิ ต ทางการเกษตร
รายได้ของชาวนา และการพัฒนาชนบท
หลั ง จากหลายทศวรรษแห่ ง
การพั ฒ นาผ่ า นไป สหกรณ์ เ พื่ อ การ
ก ารสหกรณ์ในประเทศจีนมี
ประวัตอิ นั ยาวนานกว่า 80 ปี โดยรัฐบาล
ชาติด้านการสหกรณ์ของประเทศจีนขึ้น
เป็นครั้งแรก และเปลี่ยนชื่อจาก United
จัดหาการตลาดก็ได้มาซึ่งวิธีการในการ
ปฏิ รู ป การสหกรณ์ ที่ ส อดรั บ ลั ก ษณะ
ของสาธารณรัฐประชาชนจีนเห็นว่าการ Headquarters of the Chinese Supply เฉพาะต่ า งๆ ของประเทศจี น เช่ น
พั ฒ นากิ จ การสหกรณ์ เ ป็ น สิ่ ง สำ � คั ญ and Marketing Cooperatives เป็น กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เศรษฐกิ จ การ
ในการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจใน All China Federation of Supply and ตลาด ความต้ อ งการด้ า นการเกษตร
ชนบทและเศรษฐกิจการเกษตร โดยได้ Marketing Cooperatives (ACFSMC) ความต้ อ งการในพื้ น ที่ ช นบทและของ
ให้การส่งเสริม และการผลักดันมาโดย รวมทัง้ ก่อตัง้ ระบบสหกรณ์เพือ่ การจัดหา เกษตรกร รวมถึ ง ลั ก ษณะเด่ น ของ
ตลอด จนกระทั่ ง ในเดื อ นกรกฎาคม ตลาดทีม่ ลี กั ษณะเป็นเอกภาพเหมือนกัน สหกรณ์เพื่อการจัดหาและการตลาดเอง
พ.ศ.2497 จึ ง ได้ มี ก ารจัดตั้งสภาแห่ง ทั่วประเทศ อีกด้วย

10 ฅนสหกรณ์
และสำ�รวจธุร กิจสาขาใหม่ๆ และการ สถานการณ์ ปั จ จุ บั น ของจี น ที่ ว่ า การ
ปรับปรุงการบริการเป็นพิเศษ นอกจาก พั ฒ นาของระบบหมุ น เวี ย นในชนบท
นี้ ยั ง พยายามกระตุ้ น การใช้ สิ น ทรั พ ย์ นั้นยังล้าหลังอยู่เ ครื อ ข่ า ยการกระจาย
ต่างๆของสหกรณ์ให้เกิดประโยชน์สูงสุด สิ น ค้ า ในชนบทไม่ เ ข้ ม แข็ ง การรั บ -ส่ ง
ควบคู่ไปกับการอนุรักษ์และการเพิ่มขึ้น สิ น ค้ า มี อุ ป สรรคและเกษตรกรต่ า ง
ของมูลค่าของสินทรัพย์ของสหกรณ์ ประสบปัญหาในการซื้อขายสินค้า คณะ
รั ฐ มนตรี ไ ด้ อ นุ มั ติ โ ครงการดั ง กล่ า ว
“โครงการเครือข่ายใหม่” ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2548 และ
โครงการเครือข่ายใหม่เพื่อการ โครงการดังกล่าวซึ่งอยู่บนพื้นฐานการ
บริ ก ารและการแลกเปลี่ ย นหมุ น เวี ย น ปฏิ รู ป เครื อ ข่ า ยดั้ ง เดิ ม ของ CHINA
ในชนบทยุ ค ใหม่ โครงการเครื อ ข่ า ย COOP มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนา
ใหม่ เป็นงานที่สำ�คัญและเป็นงานหลัก 4 เครือข่าย อันได้แก่ เครือข่ายการตลาด
ของ CHINA COOP ในการเผชิญกับ และการบริ ก ารยุ ค ใหม่ เ พื ่ อ ผลิ ต ทาง

จึงสามารถปฏิบัติตามแนวทาง
การปฏิรูปและนวัตกรรม เพื่อความอยู่
รอดในสภาพการแข่งขัน และการเติบโต
อย่างรวดเร็วของสหกรณ์การเกษตรรูป
แบบพิเศษต่างๆ ทำ�ให้การแลกเปลี่ยน
หมุนเวียนในปัจจุบันในพื้นที่ชนบทเด่น
ชัดขึ้นและค้ำ�จุนระบบบริการสังคมใน
ด้านการเกษตรได้เป็นอย่างดี
ภ า ย ใ ต้ ก า ร นำ � ข อ ง ค ณ ะ
กรรมการกลางของพรรคคอมมิวนิสต์
แห่ ง ประเทศจี น และกรรมการของ
CHINA COOP ซึ่งได้ปฏิรูปโครงสร้าง
โดยการพั ฒ นาด้ ว ยการใช้ น วั ต กรรม
เครื่ อ งจั ก รและเทคโนโลยี เ พื่ อ การ
ให้ บ ริ ก ารแก่ เ กษตรกรในชนบท โดย
มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ทำ � ให้ ตั ว สหกรณ์
เองกลายเป็ น องค์ ก รความร่ ว มมื อ
ทางเศรษฐกิ จ ของเกษตรกร สหกรณ์
เหล่ า นี้ ไ ด้ เ ปลี่ ย นรู ป แบบโครงสร้ า ง
การบริหารจัดการไปอย่างสิ้นเชิง เพื่อ
ความสามารถในการแข่ ง ขั น โดยได้ มี
การปฏิรูประบบกรรมสิทธิ์ในสินทรัพย์
การเปลี่ ย นแปลงกลไกการบริ ห าร
จั ด การ การปรั บ เครื อ ข่ า ยสหกรณ์

ฅนสหกรณ์ 11
พัฒนาที่มีต้นทุนต่ำ� มีประสิทธิภาพ มี
ความคุ้ ม ทุ น และประสบผลดี สิ้ น ปี
พ.ศ. 2550 ระบบของ CHINA COOP
มีองค์กรจำ�นวน 4,113 แห่งที่ดำ�เนิน
การกระจายสินค้าหรือธุร กิจเครือข่าย
ซึ่งมากกว่า 2 ปีก่อน ถึง 1,624 แห่ง
คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 65.2% มี ร้ า นค้ า เพื่ อ
กระจายสินค้าจำ�นวน 477,600 แห่ง
ซึ่งเพิ่มขึ้นถึง 308,700 แห่ง คิดเป็น
1.8 เท่าของจำ�นวนร้านในปี พ.ศ. 2548
มี ย อดขายของวิ ส าหกิ จ ต่ า งๆ รวม
จำ�นวน 281,200 ล้านหยวน คิดเป็น

การเกษตร เครือข่ายการผลิตผลผลิต
ทางเลือก (sideline products) เครือข่าย
การซื้ อ ขายสิ น ค้ า อุ ป โภคบริ โ ภค และ
เครื อ ข่ า ยเพื่ อ การรี ไ ซเคิ ล ทรั พ ยากร
ที่สามารถนำ�กลับมาใช้ใหม่ได้ ในปี พ.ศ.
2550 รั ฐ บาลกลางได้ ก่ อ ตั้ ง กองทุ น
พิเศษเพื่อให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
แก่โครงการเครือข่ายใหม่และสนับสนุน
การสร้ า งชนบทแบบใหม่ ขึ้ น อย่ า งเป็ น
ทางการ
โครงการเครื อ ข่ า ยใหม่ ไ ด้ ถู ก
นำ�มาใช้มากกว่า 2 ปีและส่งผลต่อการ

อัตราการเติบโตถึง 76.8% การส่งเสริม


โดยโครงการเครือข่ายใหม่ท�ำ ให้ CHINA
COOP เข้ามามีส่วนร่วมในด้านต่างๆ
มากขึ้ น และปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพ
เศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง
ในปี พ.ศ.2549 CHINA
COOP ได้ดำ�เนินการโครงการรณรงค์
เรื่อง “1,000 สหกรณ์ 1,000 ผลผลิต”
ในระบบของ CHINA COOP โดยมี
ความมุ่งมั่นที่จะพัฒนากฎระเบียบ การ
ผลิตที่มีมาตรฐาน การสร้างตราสินค้า
และกลยุทธ์ทางการตลาดของสหกรณ์

12 ฅนสหกรณ์
ที่ เ ชี่ ย วชาญเฉพาะด้ า นการเกษตรใน
ประเทศจี น รวมทั้ ง ยกระดั บ การขาย
ผลผลิตทางการเกษตรและเพิ่มรายได้
ของชาวนา นับจนถึงปัจจุบัน มีสหกรณ์
ที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้านจำ�นวน 2,819
แห่ ง ทั่ ว ประเทศที่ เ ข้ า ร่ ว มโครงการ
“1,000 สหกรณ์ 1,000 ผลผลิ ต ”
นับแต่การเริ่มโครงการดังกล่าวเมื่อ 3
ปี ที่ แ ล้ ว การบริ ห ารจั ด การสหกรณ์ ที่
เชี่ ย วชาญเฉพาะด้ า นต่ า งๆ ได้ มี ก าร
ปรับปรุงพัฒนามาโดยตลอด สหกรณ์ที่
เชี่ยวชาญเฉพาะด้านจำ�นวน 87% ได้
ลงทะเบียนกับหน่วยงานด้านการค้าและ

และวัตถุดิบทางการเกษตร สหกรณ์ที่
เชี่ยวชาญเฉพาะด้านมากกว่า 60% ยัง
ได้รับใบรับรองในด้านต่างๆ ดังกล่าว
จากทั่วโลกอีกด้วย
โครงการ “1,000 สหกรณ์
1,000 ผลผลิต” ได้ให้การส่งเสริมเป็น
อย่ า งมากเกี่ ย วกั บ การบริ ห ารตราสิ น
ค้าของสหกรณ์ที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
นับตั้งแต่เริ่มโครงการ ทำ�ให้มีสหกรณ์
ที่ เ ชี่ ย วชาญเฉพาะด้ า น 54% แล้ ว ที่
จดทะเบี ย นเครื่ อ งหมายการค้ า และ

อุตสาหกรรม และ 80% ได้ตั้งฐานการ


ผลิตเป็นที่เรียบร้อย โดยเฉลี่ย สหกรณ์
แต่ ล ะแห่ ง มี พื้ น ที่ ดำ � เนิ น การประมาณ
340 เฮคเตอร์ และมีพื้นที่ดำ�เนินการที่
ได้มาตรฐาน (15 Mu เท่ากับ 1 เฮคเตอร์)
บนพื้นที่ 1,965 ไร่ โดยพบว่า สินค้า
ของสหกรณ์ ต่ า งมี คุ ณ ภาพดี ขึ้ น อย่ า ง
มากอันเป็น ผลจากการมีระบบให้ใบรับ
รองคุณภาพสินค้า ซึ่งรวมถึงใบรับรอง
สำ�หรับสินค้าปลอดสารพิษ สินค้ารักษา
สิ่ ง แวดล้ อ ม ผลผลิ ต เกษตรอิ น ทรี ย์

ฅนสหกรณ์ 13
สหกรณ์ส่วนมากก็ได้เริ่มโฆษณาสินค้า
ของตนในตลาดผ่านสื่อและรูปแบบการ
ค้าประเภทต่างๆ 46% มีธุรกิจที่มั่นคง
และเป็นบริษัทชั้นนำ� ในขณะที่ 55% มี
ธุร กิจขายส่งที่ทำ �ยอดขายได้ถึง 17.7
พันล้านหยวนต่อปี และได้รับการยกเว้น
ค่าบริหารจัดการตลาด 125 ล้านหยวน
56% ขายสิ น ค้ า ในตลาดค้ า ปลี กตาม
ซูเปอร์มาร์เก็ตโดยทำ�ยอดขาย 5.4 พันล้าน
หยวนต่ อ ปี และได้ รั บ การยกเว้ น ค่ า
บริหารจัดการซูเปอร์มาร์เก็ตเป็นจำ�นวน
22.91 ล้านหยวน ข้อมูลเหล่านี้แสดง
ให้เห็นว่าสหกรณ์ที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
ได้เพิ่มรายได้ให้แก่ชาวนาอย่างแท้จริง เป็นศูนย์กลางในการแลกเปลี่ยนข้อมูล ในพื้นที่ชนบท โดยการปฏิรูปวิสาหกิจ
ในการที่ จ ะปรั บ ตั ว ให้ เ ข้ า กั บ ข่ า วสารและผลผลิ ต ศู น ย์ ก ลางทาง ต่างๆที่มีสหกรณ์เป็นเจ้าของ เริ่มตั้งแต่
การพั ฒ นาทางเศรษฐกิ จ การเกษตร วั ฒนธรรมของชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ในชนบท การลดจำ � นวนพนั ก งาน ลดหนี้ แ ละ
และเศรษฐกิจในชนบท CHINA COOP และมีบทบาทสำ�คัญในการสร้างความ ภาระต่ า งๆ จนถึ ง การทำ � ให้ ก ารใช้
ทั่วประเทศได้ยกระดับเครือข่ายต่างๆ กลมกลืนกันระหว่างชุมชนในชนบทแบบ สิ น ทรั พ ย์ ข องระบบสหกรณ์ ที่ มี อ ยู่ ใ ห้
ด้ า นการบริ ก ารทางการเกษตรแบบ ใหม่กับชนบทแบบสังคมนิยม เกิ ด ประโยชน์ ม ากที่ สุ ด เป็ น รู ป แบบ
เอนกประสงค์ เ พื่ อ ให้ บ ริ ก ารแบบจุ ด หลักของระบบสิทธิในทรัพย์สิน ระบบ
เดียวเบ็ดเสร็จ (one-stop service) เพื่อ วิสาหกิจสหกรณ์ หุ้ น และระบบสหกรณ์ จั ด สรรปั น ส่ ว น
ตอบสนองความต้องการด้านชีวิตความ ในฐานะที่เป็นองค์กรในการให้ วิ ส าหกิ จ สหกรณ์ ไ ด้ ถู ก ทำ� ให้ มี ชี วิ ต ขึ้ น
เป็ น อยู่ แ ละการผลิ ต ของชาวนา และ บริการด้านการเกษตร บริการในพื้นที่ อีกครั้งโดยผ่านกระบวนการการทำ�ให้
ได้ ก ลายเป็ น ส่ ว นสำ � คั ญ ในการพั ฒนา ชนบท แก่ เ กษตรกร CHINA COOP รู ป แบบองค์ ร วมและการบู ร ณาการให้
บริการทางสังคมด้านการเกษตร ได้ ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น เป็ น อย่ า งมากต่ อ เป็ น องค์ ร วมเพื่ อ ความร่ ว มมื อ มี ค วาม
อุตสาหกรรมการเกษตรและการก่อตั้ง เข้มแข็งมากยิ่งขึ้น
ศู น ย์ บ ริ ก ารแบบเอนกประสงค์ ระบบแลกเปลี่ ย นหมุ น เวี ย นแบบใหม่
ในชุมชน
ส ห ก ร ณ์ ใ น ห ล า ย พื้ น ที่ ไ ด้
ดำ � เนิ น งานแบบเอนกประสงค์ เพื่ อ
ช่ ว ยชาวนาในด้ า นบริ ก ารต่ า งๆ เช่ น
การให้คำ�แนะนำ�ด้านวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ด้ า นการรั ก ษาพยาบาล
การศึกษา กิจกรรมทางวัฒนธรรม ความ
บันเทิงและบริการเกี่ยวกับสัญญาเช่า ซึ่ง
สิ่ ง ต่ า งๆเหล่ า นี้ ส ามารถให้ บ ริ ก ารเข้ า
ถึงเกษตรกรอย่างแท้จริง ทำ�ให้สหกรณ์
แบบเอนกประสงค์ในบางพื้นที่ได้กลาย

14 ฅนสหกรณ์
พั ฒ นาสมาคมการค้ า สิ น ค้ า เกษตร
เฉพาะ องค์ ก รเศรษฐกิ จ สหกรณ์ ใ น
ชนบท และช่องทางบริการของสมาคม
มาโดยตลอด นับถึงปัจจุบัน SMCs ได้
มีส่วนหรือเป็นผู้น�ำ ในการพัฒนาสมาคม
18,115 แห่ง ซึง่ มีสมาชิกทัง้ สิน้ ประมาณ
2,629,600 คน สมาคมเหล่านี้ ทำ�หน้าที่
เป็ น ตั ว เชื่ อ มโยงอย่ า งใกล้ ชิ ด ระหว่ า ง
ชาวนาและการตลาดภายใต้ ส ภาวะ
การตลาดแบบสังคมนิยม ได้ช่วยเหลือ
ด้ า นการผลิ ต สิ น ค้ า เกษตรอย่ า งเป็ น

บริษัทร่วมทุน และเทคโนโลยีหลักจาก The National


Sinocot เป็ น บริ ษั ท ร่ ว มหุ้ น Cotton Quality Inspection System
(joint-stock) ที่ร่วมลงทุนโดย 8 องค์กร Reform โดยดำ� เนิ น การดั ง เช่ น หน้ า ที่
โดยมี CHINA COOP เป็น ผู้ถือหุ้นราย รั บ ผิ ด ชอบในอดี ต ในการส่ ง เสริ ม การ
ใหญ่ที่สุด Sinocot เป็นบริษัทชั้นนำ�ของ พั ฒนาอุ ต สาหกรรมการผลิ ต ฝ้ า ยของ
อุ ต สาหกรรมการผลิ ต ฝ้ า ยในประเทศ ประเทศจีน ระบบ รวมทั้ ง ด้ า นอุ ต สาหกรรมและ
จีน มีขอบเขตของธุรกิจครอบคลุมการ มาตรฐานการเกษตรและการสั่งซื้อใน
ผลิตเครื่องผลิตฝ้าย และเครื่องจักรที่ สมาคมการค้า ตลาดที่ดีขึ้น
ซับซ้อนสำ�หรับผลผลิตพลอยได้ของฝ้าย ในการทีจ่ ะตอบสนองต่อสถาน จนถึงปัจจุบัน CHINA COOP
การบริหารจัดการรูปแบบองค์รวมของ การณ์ ใ หม่ ๆ ในการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ได้ก่อตั้งกิจการร่วมค้าวิสาหกิจสหกรณ์
ธุรกิจฝ้าย การค้าฝ้าย ฯลฯ นอกจาก การตลาดแบบสั ง คมนิ ย ม เศรษฐกิ จ มากกว่า 1,400 บริษัท ร่วมกับสหกรณ์
นี้ Sinocot ยั ง ได้ รั บมอบหมายให้ รั บ การเกษตรและเศรษฐกิ จ ในชนบท ต่างๆ และองค์กรทางเศรษฐกิจในกว่า
ผิดชอบโครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ CHINA COOP ได้ มี ส่ ว นร่ ว มในการ 30 ประเทศและหลายภู มิ ภ าค ทั้ ง ยั ง
ก่อตั้งองค์กรการค้าและองค์กรในต่าง
ประเทศกว่า 200 แห่ง CHINA COOP
ได้ทำ�หน้าทีเ่ ป็นตัวแทนองค์กรเศรษฐกิจ
สหกรณ์ทั้งหมดในประเทศจีน และได้
มีบทบาทสำ�คัญมากขึ้นเรื่อยๆ ในการ
ขับเคลื่อนสหกรณ์ระหว่างประเทศ

ฅนสหกรณ์ 15

You might also like