You are on page 1of 22

บทที่ 5

1 รูปแบบของเศรษฐกิจในปัจจุบนั
2

การจัดการเศรษฐกิจในแต่ละประเทศ หรือแต่ละสังคม
อาจจะมีรูปแบบการจัดการที่แตกต่างกันไป โดยแนวทางการ
จัดการเศรษฐกิจที่ต่างกัน เรียกว่า “รูปแบบเศรษฐกิจ”
รูปแบบเศรษฐกิจที่แตกต่างกันเกิดขึ้นมาจากปัจจัยหลาย
ประการ เช่น แนวคิดพื้นฐานในการจัดการเศรษฐกิจและการ
พัฒนาประเทศที่แตกต่างกัน สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
สังคม การเมือง ที่แตกต่างกัน อันจะส่งผลต่อแนวนโยบาย
และแนวปฏิบตั ทิ ่แี ตกต่างกันในการจัดการเศรษฐกิจ
3
ระบบเศรษฐกิจในปัจจุบนั
1. ระบบเศรษฐกิจการแข่งขัน
(Market-based Economy)
2. ระบบเศรษฐกิจพอเพียง
(Sufficient Economy)
3. ระบบเศรษฐกิจแบบความร่วมมือ
(Cooperative-based Economy)
4 1. ระบบเศรษฐกิจการแข่งขัน : พัฒนาการ
 ระบบพาณิ ชย์นิยม และลัทธิการล่าอาณานิ คม
 คริสต์ศตวรรษที่ 18 แนวคิดเสรีนิยม (Liberalism)
- Adam Smith เขียนหนังสือ The Wealth of Nations (1776)
 แนวคิดเสรีนิยมใหม่ (Neo-liberalism)
 เศรษฐกิจตกตา่ ครัง้ ใหญ่ ในช่วงระหว่างสงครามโลก (1930’s)
- แนวคิดแบบเคนส์ : เน้นบทบาทของรัฐในการพัฒนาประเทศ
(1950’s)
5 แนวคิดหลักของระบบเศรษฐกิจการแข่งขัน

การแข่งขัน

ความอยู่รอดทางธุรกิจ การแบ่งงานกันทา

การปรับปรุงอย่างต่อเนื่ อง ความชานาญเฉพาะด้าน

ประสิทธิภาพที่ดีข้ ึน
นวัตกรรมใหม่ๆ
6 ลักษณะที่สาคัญของระบบเศรษฐกิจการแข่งขัน
 มีการแข่งขันโดยเสรี มีเสรีภาพในการเข้ามาหรือออกไปจาก
ระบบเศรษฐกิจ
 เอกชนมีเสรีภาพในการดาเนิ นกิจกรรมทางเศรษฐกิจหรือ

ประกอบอาชีพ
 เอกชนมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สน ิ และปัจจัยการผลิต
 ใช้กลไกราคา (price mechanism) หรือระบบตลาด

 รัฐบาลจะไม่แทรกแซงกิจการของเอกชน
7
แนวนโยบายของระบบเศรษฐกิจการแข่งขัน

การเปิ ดเสรีทางการค้า (Liberalization)


การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ (Privatization)
การลดกฎระเบียบและการควบคุมของรัฐ
(Deregulation)
การคุม้ ครองสิทธิในทรัพย์สนิ ทางปัญญา
(Intellectual property rights)
8 ข้อดี
1. ความมีประสิทธิภาพ
ได้ประโยชน์จากการค้าระหว่างประเทศ : ส่งออก นาเข้า
การประหยัดจากขนาดการผลิต ผลิตจานวนมาก ต้นทุนต่อหน่ วยตา่ ลง
ประโยชน์จากความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ ผลิตสินค้าที่มีศกั ยภาพ มี
ต้นทุนตา่ มีคุณภาพ และนาไปแลกเปลี่ยนกับสินค้าที่ประเทศอืน่ ผลิตได้
ดีกว่าเรา
ได้ประโยชน์จากการแข่งขัน : ผลิตสินค้าให้มีคุณภาพ ลดต้นทุนการผลิต
2. ความมีเสรีภาพในการดาเนิ นกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และเป็ นการใช้ทรัพยากร
เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพราะอาศัยกลไกราคาและการทางานของระบบ
ตลาดเป็ นหลัก
9 ข้อเสีย
1. ความไม่มีประสิทธิภาพในการจัดสรรทรัพยากร กรณี ท่ี
ทรัพยากรนั้นไม่สามารถเคลือ่ นย้ายได้อย่างเสรี หรือมีการใช้
ทรัพยากรนั้นไปในการผลิตสินค้าเพือ่ ส่วนบุคคลมากกว่า
ส่วนรวม
2. อาจนาไปสูก่ ารผูกขาด
3. เกิดปัญหาความเหลื่อมลา้ ในการกระจายรายได้
4. การปล่อยปะละเลย ทาให้สง่ ผลต่อปัญหาสิง่ แวดล้อม
10 ปัญหาของระบบเศรษฐกิจการแข่งขัน
การกีดกันทางการค้าในรูปแบบต่างๆ
ความผันผวนของตลาด
ความเป็ นธรรมทางการค้าและการแข่งขัน
คุณภาพของบริการสาธารณะ
ความไม่เท่าเทียมกันในสังคม
การละเมิดสิทธิมนุ ษยชนพื้นฐาน
11 2. เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรัชญาชี้ถงึ แนวการดารงอยู่และ
ปฏิบตั ติ นของประชาชนในทุกระดับ ตัง้ แต่ระดับครอบครัว
ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ในการพัฒนาและบริหารประเทศ
ให้ดาเนิ นไปในทางสายกลาง รวมถึงการพัฒนาเศรษฐกิจ
เพือ่ ให้กา้ วทันต่อโลกยุคโลกาภิวฒั น์
12 หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง

3 คุณลักษณะ 2 เงือ่ นไข


ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ
ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีท่ไี ม่นอ้ ยเกินไปและไม่
มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผูอ้ น่ื เช่นการผลิตและการ
บริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความ
พอเพียงนั้น จะต้องเป็ นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปจั จัย
ที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึ งถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้นๆ
อย่างรอบคอบ
การมีภมู ิคมุ ้ กันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับ
ผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึ งถึง
ความเป็ นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทัง้
ใกล้และไกล
2 เงือ่ นไข
• เงือ่ นไขความรู ้ ประกอบด้วย ความรอบรูเ้ กีย่ วกับวิชาการ
ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรู ้
เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพือ่ ประกอบการวางแผน
และความระมัดระวังในขัน้ ปฏิบตั ิ
• เงือ่ นไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความ
ตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สจุ ริตและมีความอดทน มี
ความเพียร ใช้สติปญั ญาในการดาเนิ นชีวติ
15 3. ระบบเศรษฐกิจความร่วมมือ
ความร่วมมือของผูผ้ ลิตกับผูบ้ ริโภค
ความร่วมมือในระดับชุมชน
เช่น การจัดการทรัพยากร ธุรกิจชุมชน สวัสดิการชุมชน
ความร่วมมือระหว่างชุมชนกับหน่ วยงานภายนอก
ความร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในระดับประเทศ
การรวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจ
16 ประโยชน์จากการร่วมมือ
1. ประโยชน์ในการจัดการทรัพยากรและสิง่ แวดล้อม
ช่วยลดต้นทุนต่อหน่ วยในการจัดบริการสาธารณะ
ช่วยจัดการทรัพยากรอันเป็ นทรัพย์สนิ ร่วม
2. ประโยชน์ทางด้านธุรกิจ
ก่อให้เกิดการประหยัดทางขนาด
ประหยัดต้นทุนในการทาธุรกรรม
ก่อให้เกิดพันธมิตรทางธุรกิจ
เพิม่ พูนความสามารถในการแข่งขัน
17

3. ประโยชน์ต่อชุมชนและสังคม
ส่งเสริมการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
สนับสนุ นการพัฒนาที่ยงั ่ ยืน
ส่งเสริมให้เกิดความเป็ นธรรมขึ้นในสังคม
สนับสนุ นการจัดหาสินค้าและบริการสาธารณะ
สนับสนุ นการพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์
18 การร่วมมือกันในรูปสหกรณ์
ลักษณะพิเศษ
เป็ นองค์การอิสระของบุคคลซึ่งรวมกันด้วยความสมัครใจเพือ่ สนองความ
ต้องการและความมุ่งหมายทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม โดยการ
ดาเนิ นวิสาหกิจที่เป็ นเจ้าของร่วมกัน และควบคุมตามแนวทางประชาธิปไตย
รูปแบบขององค์การที่มีฐานจากความร่วมมือ ไม่ใช่ฐานจากเงินทุนหรือฐาน
จากทรัพยากรต่างๆ
องค์ประกอบที่สาคัญ คือ ทรัพยากรมนุ ษย์หรือคน
ผูใ้ ช้เป็ นเจ้าของ ผูใ้ ช้เป็ นผูค้ วบคุม ผูใ้ ช้เป็ นผูไ้ ด้รบั ประโยชน์
มุ่งมัน่ ปรับปรุงคุณภาพชีวติ คุณภาพความเป็ นอยู่เพือ่ การดารงชีวติ ที่ดีแก่
สมาชิกตลอดสังคมและสิง่ แวดล้อมรอบข้าง
หลักการสหกรณ์สากล 7 หลักการ
1. การเปิ ดรับสมาชิกทัว่ ไปและด้วยความสมัครใจ
2. การควบคุมโดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย
3. การมีสว่ นร่วมทางเศรษฐกิจโดยสมาชิก
4. การปกครองตนเองและความเป็ นอิสระ
5. การศึกษา การฝึ กอบรม และข่าวสาร
6. การร่วมมือระหว่างสหกรณ์
7. ความเอื้ออาทรต่อชุมชน
20 การร่วมมือในรูปพันธมิตรทางธุรกิจ (Business Alliance)
คาจากัดความของพันธมิตรทางธุรกิจ
ความร่วมมือกันในระยะยาวขององค์กรธุรกิจตัง้ แต่ 2 องค์กรขึ้นไป โดย
การนาเอาจุดแข็งของทุกฝ่ ายมาร่วมกันเพือ่ ให้บรรลุเป้ าหมายทางกลยุทธ์
(เอเคอร์ (1992))
การร่วมมือทางด้านพาณิ ชยกรรมที่เป็ นทางการร่วมกันระหว่างบริษทั โดย
ที่หนุ ้ ส่วนแต่ละฝ่ ายมีการรวมหรือแลกเปลี่ยนทรัพยากรทางธุรกิจตามที่
ตกลงเพือ่ ประโยชน์ท่จี ะได้รบั ร่วมกัน แต่อย่างไรก็ตามหุน้ ส่วนแต่ละฝ่ าย
ก็ยงั คงรูปแบบการดาเนิ นธุรกิจในรูปของบริษทั ที่แยกจากกันอยู่อย่างเดิม
(กิลรวย (1993))
การร่วมมือทางธุรกิจโดยมีเป้ าในการเรียนรูแ้ ละได้มาซึ่งเทคโนโลยี
ผลิตภัณฑ์ ทักษะและความรูจ้ ากกันและกัน (เลย์และสโลคัม (1992))
21 ตัวกระตุน้ ที่ทาให้มีความร่วมมือแบบพันธมิตร
 การแข่งขันที่เพิม่ ขึ้น
 สภาพแวดล้อมที่ไม่แน่ นอน

 ต้นทุนที่สูงขึ้น

ประโยชน์ของการเป็ นพันธมิตรทางธุรกิจ
ได้เปรียบคู่แข่ง
ลดความเสีย่ ง
ประหยัดค่าใช้จา่ ย
ก้าวทันเทคโนโลยี
22 ความหมายของคาที่เกี่ยวข้อง
ธุรกิจระหว่างประเทศ
บริษทั ใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการค้าหรือการลงทุนระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
การส่งออกหรือนาเข้าสินค้าหรือบริการไปยังผูบ้ ริโภคในอีก
ประเทศหนึ่ ง
การลงทุนระหว่างประเทศ
การลงทุนทรัพยากรในงานธุรกิจนอกประเทศที่บริษทั นัน้ ตัง้ อยู่

You might also like