You are on page 1of 149

Managerial Economics

Macroeconomic
Day 5
ดร.อัจฉริยะ อุปการกุล
adchariya.mba.kku@gmail.com

Dr. Adchariya MBA KKU 1


What is Macroeconomic?

Dr. Adchariya MBA KKU 2


เนือ้ หาสาระหลักๆของ Macroeconomics ประกอบด้วยปั จจัยที่
กาหนดระดับของตัวแปรเหล่านีแ้ ละการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร
ดังกล่าวเมื่อเวลาผ่านไป ได้แก่
– อัตราการเจริญเติบโตของผลผลิต
– อัตราเงินเฟ้อ
– การเปลี่ยนแปลงของการว่างงานในช่วงระยะเวลาที่
เศรษฐกิจรุง่ เรืองและถดถอย
– การแข็งค่า / อ่อนค่าของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา
ต่างประเทศ
Dr. Adchariya MBA KKU 3
เศรษฐศาสตร์มหภาค
เป็ นส่วนหนึ่งของวิชาเศรษฐศาสตร์
ที่วา่ ด้วยเรือ่ งของนโยบาย

Dr. Adchariya MBA KKU 4


การวิเคราะห์สว่ นใหญ่จะมุง่ ไปที่วา่
ตัวแปรทางเศรษฐกิจมหภาคนัน้
จะได้รบั ผลกระทบ
จากนโยบายของรัฐบาลอย่างไร

Dr. Adchariya MBA KKU 5


เช่น
• นโยบายของรัฐบาลจะกระทบต่อระดับผลผลิตและ
การจ้างงานในระบบเศรษฐกิจมากน้อยเพียงใด
• นโยบายที่ผิดผลาดของรัฐบาลจะทาให้เกิดเงินเฟ้อ
มากน้อยเพียงใด

Dr. Adchariya MBA KKU 6


สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ

สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
เป็ นสภาวะการณ์ทางเศรษฐกิจ
ที่ดารงอยูใ่ นประเทศหรือในสังคมหนึง่ ๆ

Dr. Adchariya MBA KKU 7


สภาวะการณ์ดงั กล่าว
มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจและ
การประกอบกิจกรรมเศรษฐกิจของเอกชน

Dr. Adchariya MBA KKU 8


แบ่งออกได้เป็ น 2 ประเภท
1. สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจจุลภาค
2. สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจมหภาค

Dr. Adchariya MBA KKU 9


สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจจุลภาค

Dr. Adchariya MBA KKU 10


เป็ นสภาวะการณ์ของเศรษฐกิจส่วนย่อย
ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่หน่วยเศรษฐกิจต่างๆ
ซึง่ ได้แก่บคุ คล กลุม่ บุคคล หรือองค์กรธุรกิจสนใจ
โดยตรง

Dr. Adchariya MBA KKU 11


และมีอิทธิพล
ต่อการตัดสินใจประกอบกิจกรรม
ทางเศรษฐกิจของเขา
ทัง้ นีเ้ พื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ท่ีเขาต้องการ

Dr. Adchariya MBA KKU 12


สมมติให้บคุ คลต่างๆ
กาลังตัดสินใจ
ดังตัวอย่างต่อไปนี ้

Dr. Adchariya MBA KKU 13


ตัวอย่างที่ 1:

บัณฑิตจบใหม่กาลังตัดสินใจว่าจะทางานใน
สถาบันการเงินดี หรือเข้ารับราชการดี

Dr. Adchariya MBA KKU 14


ตามตัวอย่างที่ 1

บัณฑิตใหม่จะต้องมีขอ้ มูลเกี่ยวกับอัตราเงินเดือน
และเงื่อนไขต่างๆ ในการจ้างงานของสถาบันทีต่ น
สนใจจะเข้าทางาน

Dr. Adchariya MBA KKU 15


ตัวอย่างที่ 2:

เกษตรกรกาลังตัดสินใจว่าจะปลูกผักปลอด
สารพิษดีหรือจะใช้วิธีการปลูกผักโดยวิธีดงั้ เดิม

Dr. Adchariya MBA KKU 16


ตามตัวอย่างที่ 2

เกษตรกรต้องมีขอ้ มูลเกี่ยวกับต้นทุนในการปลูกผัก
ปลอดสารพิษ ราคาขาย และความต้องการผักของ
ตลาดเป็ นต้น

Dr. Adchariya MBA KKU 17


ตัวอย่างที่ 3:

บริษัทที่กาลังวางแผนจะขยายการลงทุน
ต้องตัดสินใจว่า ควรจะกูเ้ งินจากธนาคารพาณิชย์หรือ
ออกหุน้ สามัญเพิ่มทุนดี

Dr. Adchariya MBA KKU 18


ตามตัวอย่างที่ 3

บริษัทจะต้องมีขอ้ มูลเกี่ยวกับตลาดเงินและตลาดทุน
เช่น ธนาคารพาณิชย์ท่ใี ห้สินเชื่อ
อัตราดอกเบีย้ ของธนาคารต่างๆ
ต้นทุนและความยากง่ายในการขายหุน้ บริษัทของตน
เป็ นต้น

Dr. Adchariya MBA KKU 19


ตัวอย่างที่ 4:

บริษัทที่ผลิตสินค้าขายในตลาด
กาลังตัดสินใจว่าจะใช้วตั ถุดิบอะไร ซือ้ จากใคร
จะผลิตสินค้าออกมาจานวนเท่าใด
และควรจะตัง้ ราคาขายเท่าใด
จึงจะสามารถทากาไรได้และสามารถแข่งขัน
กับคูแ่ ข่งขันรายอื่นๆในตลาดได้

Dr. Adchariya MBA KKU 20


ตามตัวอย่างที่ 4

บริษัทจะต้องมีขอ้ มูลเกี่ยวกับราคาวัตถุดิบ แหล่งขาย


วัตถุดิบ อัตราค่าจ้าง ต้นทุนอื่นๆ ราคาสินค้าของคูแ่ ข่งขัน
ในตลาด อุปสงค์ของผูบ้ ริโภคที่มีตอ่ สินค้าของบริษัท เป็ น
ต้น

Dr. Adchariya MBA KKU 21


การตัดสินใจในเรือ่ งต่างๆข้างต้น
บัณฑิตใหม่ เกษตรกร หรือบริษัทจะต้องมีขอ้ มูลทาง
เศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับเรือ่ งที่ตนสนใจ
เพื่อนามาใช้ประกอบการตัดสินใจของตน

Dr. Adchariya MBA KKU 22


ข้อมูลต่างๆข้างต้น เป็ นข้อมูลเศรษฐกิจส่วนย่อยที่
เกี่ยวข้องกับเรือ่ งที่บคุ คล กลุม่ บุคคล หรือสถาบันหนึ่ง
สนใจโดยตรง จึงจัดว่าเป็ นข้อมูลที่แสดงถึง
สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจจุลภาค

Dr. Adchariya MBA KKU 23


สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจมหภาค

Dr. Adchariya MBA KKU 24


เป็ นสภาวะการณ์ของเศรษฐกิจส่วนรวม
ที่หน่วยเศรษฐกิจ เช่น บุคคล กลุม่ บุคคล
หรือองค์กรธุรกิจเผชิญอยู่

Dr. Adchariya MBA KKU 25


ซึง่ อาจไม่เกี่ยวข้องกับ
เรื่องที่หน่วยเศรษฐกิจสนใจโดยตรง
แต่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจ
ประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
ของเอกชน และรัฐบาล

Dr. Adchariya MBA KKU 26


หรืออาจก่อให้เกิดผลกระทบที่
ทาให้การตัดสินใจของเขา
ไม่ทาให้เกิดผลตามที่คาดหวัง

Dr. Adchariya MBA KKU 27


ทาให้ตอ้ งมีการปรับแผน
การประกอบกิจกรรมเศรษฐกิจ
ให้รบั กับสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจมหภาค
ที่เปลี่ยนแปลงไป

Dr. Adchariya MBA KKU 28


ตัวอย่างที่ 1:

บัณฑิตจบใหม่กาลังตัดสินใจทางานในสถาบันการเงิน
แต่ปรากฏว่าประเทศประสบปั ญหาวิกฤตการณ์ทาง
การเงิน สถาบันการเงินหลายแห่งถูกปิ ดกิจการ ทาให้
บัณฑิตผูน้ นั้ กลายเป็ นผูต้ กงาน หลังจากเข้าทางานได้ไม่
นาน

Dr. Adchariya MBA KKU 29


ตัวอย่างที่ 2:

เกษตรกรตัดสินใจปลูกผักปลอดสารพิษขาย ปรากฏว่า
ความต้องการของตลาดเพิ่มขึน้ อย่างมาก ทาให้เขา
ตัดสินใจขยายแปลงเพาะปลูก แต่ไม่สามารถกูเ้ งินจาก
ธนาคารได้ เพราะธนาคารชะลอการให้สินเชื่อ

Dr. Adchariya MBA KKU 30


ตัวอย่างที่ 3:

บริษัทตัดสินใจขยายการลงทุนโดยการออกหุน้ สามัญ
จาหน่ายให้สาธารณชน แต่ปรากฏว่าไม่สามารถ
จาหน่ายได้ เพราะราคาหุน้ บริษัทต่างๆที่ซือ้ ขายกันใน
ตลาดหลักทรัพย์มีราคาตกลงอย่างมาก ทาให้
สาธารณชนไม่สนใจซือ้ หุน้ สามัญที่ออกใหม่

Dr. Adchariya MBA KKU 31


ตัวอย่างที่ 4:

บริษัทผลิตสินค้าออกมาจาหน่ายในปริมาณที่สอดคล้อง
กับแผนการตลาดของบริษัท แต่ปรากฏว่าอัตราการเติบโต
ทางเศรษฐกิจของประเทศลดต่าลงมาก หรือเปลี่ยนเป็ น
อัตราติดลบ

Dr. Adchariya MBA KKU 32


ตัวอย่างที่ 4 (ต่อ):

ทาให้ยอดการใช้จ่ายอุปโภคบริโภคของประชาชน
ลดลงรวมทัง้ ยอดขายสินค้าของบริษัทด้วยบริษัทต้อง
ประสบภาวะการขาดทุน มีสินค้าคงเหลือในสต๊อกมาก
จึงทาให้ตอ้ งลดปริมาณการผลิต และลดการจ้างงาน
เป็ นต้น

Dr. Adchariya MBA KKU 33


ปั ญหาต่างๆข้างต้นเกิดขึน้ เพราะ
สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจมหภาค
เปลี่ยนแปลงไป

Dr. Adchariya MBA KKU 34


การประกอบกิจกรรมเศรษฐกิจใดๆ
จึงต้องให้ความสาคัญกับข้อมูลที่แสดง
สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจมหภาคด้วย
เช่น ตามตัวอย่างข้างต้น
จะต้องมีขอ้ มูลเกี่ยวกับตลาดการเงินของประเทศ
ภาวะการณ์ใช้จา่ ยของประชาชน
อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ
เป็ นต้น
Dr. Adchariya MBA KKU 35
โครงสร้างทางเศรษฐกิจมหภาค

Dr. Adchariya MBA KKU 36


1. แบบจาลองแสดง 2 ภาคเศรษฐกิจ
ประกอบด้วยภาคครัวเรือนและภาคธุรกิจ โดยมีขอ้ สมมติดงั นี ้
1. เป็ นระบบเศรษฐกิจแบบปิ ด ไม่มีภาครัฐบาลและต่างประเทศ
2. ภาคครัวเรือนนารายได้ทงั้ หมดจากการขายปั จจัยการผลิตไปซือ้ สินค้า
และบริการจากภาคธุรกิจ
3. ภาคธุรกิจผลิตสินค้าและบริการได้เท่าไหร่ก็ตามสามารถขายได้หมด ไม่
มีสินค้าคงเหลือ
4. ภาคธุรกิจนาเงินที่ได้จากการขายทัง้ หมดจ่ายเป็ นค่าตอบแทนให้แก่ภาค
ครัวเรือนเพื่อซือ้ ปั จจัยการผลิต
5. ไม่มีการลงทุนและไม่มีการสึกหรอของสินค้าทุน
Dr. Adchariya MBA KKU 37
กระแสหมุนเวียนของรายได้และผลผลิต
(กรณีเป็ นระบบเศรษฐกิจแบบปิ ด)

(2) ผลตอบแทนต่อปั จจัยการผลิต


(1) ปั จจัยการผลิต

ภาคครัวเรือน ภาคธุรกิจ
(3) สินค้าและบริการ
(4) ค่าใช้จ่ายสินค้าและบริการ
Dr. Adchariya MBA KKU 38
มูลค่าของสินค้าและบริการ = รายได้ของภาคครัวเรือน
= รายจ่ายในการซือ้ สินค้าและบริการ

Dr. Adchariya MBA KKU 39


2. แบบจาลองแสดง 3 ภาคเศรษฐกิจ
ประกอบด้วยภาคครัวเรือน ภาคธุรกิจ และภาครัฐบาล โดยมีขอ้
สมมติฐานเพิ่มเติมว่า
1. เป็ นระบบเศรษฐกิจแบบปิ ด
2. ระบบเศรษฐกิจมีทงั้ ส่วนรั่วไหลและส่วนอัดฉีด
ส่วนรั่วไหล = การออมของภาคครัวเรือนและภาคธุรกิจ
ส่วนอัดฉีด = การลงทุนของภาคธุรกิจและภาครัฐบาล

Dr. Adchariya MBA KKU 40


โครงสร้างทางเศรษฐกิจมหภาค

รายได้ประชาชาติ (Y)

ภาคครัวเรือน ภาคธุรกิจ
การบริโภค (C)
การออม (S) - การลงทุน (I)+
ตลาดการเงิน
ภาษี (T) - การใช้จา่ ยของรัฐบาล(G) +
รัฐบาล
การใช้จา่ ยของรัฐบาล(G) + ภาษี (T) -

Dr. Adchariya MBA KKU กระแสหมุนเวียนของรายได้และผลผลิต 41


Y=C+I+G=C+S+T
I+G=S+T
I=S
C = C ( Y-T ) เรียกว่า disposable income
I = I ( i , Y ) โดยที่ Y บางครัง้ หมายถึง ระดับผลผลิตรวมทัง้ ประเทศ
หรือ รายได้ของประชากร หรือมูลค่าของสินค้าที่ผลิตได้ ในรอบ 1 ปี
Dr. Adchariya MBA KKU 42
3. แบบจาลองแสดง 4 ภาคเศรษฐกิจ
เป็ นระบบเศรษฐกิจแบบเปิ ด ประกอบด้วย ภาคครัวเรือน ภาค
ธุรกิจ ภาครัฐบาล และภาคต่างประเทศ

Dr. Adchariya MBA KKU 43


บริการส่งออก ( + ) สินค้าและบริการส่งออก ( + )
ภาคต่างประเทศ
บริการนาเข้า ( - ) สินค้าและบริการนาเข้า ( - )
รายได้ประชาชาติ (Y)

ภาคครัวเรือน ภาคธุรกิจ
การบริโภค (C)

การออม (S) - การลงทุน (I) +


ตลาดการเงิน
ภาษี (T) - การใช้จา่ ยของรัฐบาล (G) +
การใช้จา่ ยของรัฐบาล (G) +
รั ฐ บาล ภาษี (T) -

Dr. Adchariya MBA KKU กระแสหมุนเวียนของรายได้และผลผลิต 44


บทบาทของรัฐบาลในทางเศรษฐกิจ
1 รักษาความมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
- มีการจ้างงานเต็มที่หรือมากที่สดุ
- เงินเฟ้ออยู่ในระดับต่า
- ลดความผันผวนของภาวะการผลิตและรายได้ของประชาชน
- อัตราดอกเบีย้ อยู่ในระดับต่า
- ขาดดุลงบประมาณน้อยที่สดุ
- รักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยนและดุลการชาระเงิน

Dr. Adchariya MBA KKU 45


Dr. Adchariya MBA KKU 46
การว่างงาน อาจเกิดจาก 3 สาเหตุ คือ
1. ตัง้ ใจ เพราะกาลังหางานใหม่ท่ีคา่ จ้างสูงกว่า กาลังเปลี่ยนงาน
2. ว่างงานทางโครงสร้าง เพราะการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี่ทาให้
บางคนถูกปลด บางคนอยู่ระหว่างการ upskill ใหม่
3. กลุม่ ที่มีคณ
ุ สมบัติไม่เหมาะสมกับงาน

Dr. Adchariya MBA KKU 47


การลดความผันผวนของภาวะการผลิตและรายได้
ต้องการให้มีผลผลิตมากที่สดุ โดยไม่ก่อให้เกิดมลภาวะต่างๆ ตามมาด้วย
ซึง่ ในทางเศรษฐศาสตร์จะใช้แนวคิดเรื่องประสิทธิภาพในการผลิต เพื่อ
สร้างความสมดุลทัง้ 2เรื่อง

Dr. Adchariya MBA KKU 48


อัตราดอกเบีย้ อยู่ในระดับต่า
อัตราดอกเบีย้ ต่า ทาให้ การลงทุนง่ายขึน้ โรงงานหรือผูผ้ ลิต ขยายธุรกิจ
กระตุน้ อสังหาฯ และส่งผลบวกต่ออุตสาหกรรมต่อเนื่อง (ปกติ อัตรา
ดอกเบีย้ จะไม่คงที่ จะสูงเมื่อภาวะ ศก ขยายตัวมากสุด และ จะต่าสุดเมื่อ
ภาวะศก ตกต่า)

Dr. Adchariya MBA KKU 49


2 เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ
ของประเทศ
- โครงสร้างพืน้ ฐานที่ครบครัน
- ความมั่นคงทางการเมือง
- การกระจายรายได้ท่ีเท่าเทียมกัน
- การปรับปรุงสภาพแวดล้อม

Dr. Adchariya MBA KKU 50


เครือ่ งมือที่รฐั บาลใช้ในการบริหารเศรษฐกิจมหภาค
1. นโยบายการคลัง มาตรการที่ใช้คือ
1.1 การใช้จา่ ยของรัฐบาล
1.2 การเก็บภาษี

Dr. Adchariya MBA KKU 51


2. นโยบายการเงิน = การเพิ่ม/ลดปริมาณเงินในระบบ
เศรษฐกิจ โดยมีธนาคารแห่งประเทศไทยเป็ นผูด้ แู ล โดยมี
มาตรการที่ใช้ คือ
2.1 นโยบายอัตราดอกเบีย้
2.2 นโยบายอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ

Dr. Adchariya MBA KKU 52


3. นโยบายเศรษฐกิจต่างประเทศ
หรือ นโยบายการค้ากับต่างประเทศ เช่น การทา
เขตการค้าเสรี( FTA )กับจีน และออสเตรเลีย
นโยบายการส่งออก-นาเข้า AEC เป็ นต้น

Dr. Adchariya MBA KKU 53


การผันแปรของสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจมหภาค
อาจเกิดจาก
1. วัฎจักรธุรกิจ (Business Cycles)
2. ปั จจัยทางเศรษฐกิจ (Economic Factors)

- ปั จจัยภายในประเทศ

- ปั จจัยภายนอกประเทศ

Dr. Adchariya MBA KKU 54


3. ปั จจัยทางด้านการเมือง (Political Factors)
- การเมืองภายในประเทศ
- การเมืองภายนอกประเทศ

Dr. Adchariya MBA KKU 55


วัฎจักรธุรกิจ (Business Cycles)

Expansion Slowdown

Recovery Downturn
Dr. Adchariya MBA KKU 56
วัฎจักรธุรกิจ (Business Cycles)

Depression
Dr. Adchariya MBA KKU 57
วัฎจักรธุรกิจ (Business Cycles)

Dr. Adchariya MBA KKU 58


1. ช่วงเศรษฐกิจขยายตัว

เป็ นช่วงที่กิจกรรมเศรษฐกิจด้านการผลิตขยายตัว การบริโภค การลงทุน


ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง รายได้ของคนส่วนใหญ่สงู ขึน้ ระดับราคาสินค้าและ
บริการสูงขึน้ แรงงานมีงานทา ดัชนีบางตัวที่แสดงว่าความรุง่ เรืองทาง
เศรษฐกิจ เช่น การจ้างงานอยู่ในระดับสูง และบางครัง้ เริ่มมีการขาดแคลน
แรงงานทั่วไปและเฉพาะทาง ปั จจัยการผลิตมีราคาสูงขึน้ ทาให้ตน้ ทุนการผลิต
และราคาผลผลิตสูงขึน้ ตามไปด้วย ทาให้ผบู้ ริโภคถึงมีรายได้เพิ่มขึน้ ก็มีรายจ่าย
เพิ่มขึน้ ตามด้วย ช่วงนีท้ งั้ ราคาปั จจัยการผลิตและผลผลิตมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึน้
อย่างมาก จะเห็นได้จากรูป มูลค่าผลผลิตอยู่เหนือเส้นแนวโน้มการเติบโตของ
ผลผลิต T’ T’ (Productivity growth line) ขยายตัวจนถึงระดับสูงสุด คือที่จดุ P
(ซึง่ ตามรูปก็คือปี ท่ี 8) ภาวะความรุง่ เรืองของเศรษฐกิจถึงจุดสูงสุด
Dr. Adchariya MBA KKU 59
2. ช่วงเศรษฐกิจชะลอตัว

เป็ นช่วงที่กิจกรรมเศรษฐกิจด้านการผลิตชะลอตัวทาให้การบริโภค
การลงทุนชะลอด้วย หน่วยผลิตบางส่วนมีการเลิกกิจการ การจ้าง
ปั จจัยการผลิตทุกประเภทลดลง การว่างงานเริม่ มากขึน้ เศรษฐกิจ
ที่เคยรุง่ เรืองวกกลับเข้าสูภ่ าวะชะลอตัว อุปสงค์มวลรวมลดลง
ระดับราคาลดลง

Dr. Adchariya MBA KKU 60


3. ช่วงเศรษฐกิจซบเซา

เป็ นช่วงที่กิจกรรมเศรษฐกิจด้านการผลิตหดตัว มูลค่าผลผลิตลดลง


ต่าสุด และอยู่ต่ากว่าเส้นแนวโน้ม T’ T’ การบริโภค การลงทุน
ลดลงมาก อัตราดอกเบีย้ อยู่ในระดับต่าสุด รายได้ของคนส่วนใหญ่
ลดลง ระดับราคาต่า แรงงานว่างงานเพิ่มขึน้ มาก มูลค่าผลผลิตลด
ต่าลงอย่างมากจนถึงระดับต่าสุด คือที่จดุ T ซึง่ ตามรูปก็คือปี ท่ี 2
และปี ท่ี 12 ถ้าภาวะเศรษฐกิจซบเซาใกล้ถงึ ระดับต่าสุดเป็ น
ระยะเวลาหลายปี บางทีเรียกว่าระยะภาวะเศรษฐกิจตกต่า สภาพ
จิตใจของประชาชนจะตระหนกตกใจน้อยลงและรอคอยช่วงต่าสุด
Dr. Adchariya MBA KKU 61
4. ช่วงเศรษฐกิจฟื ้ นตัว

เป็ นช่วงที่กิจกรรมเศรษฐกิจด้านการผลิตวกกลับมาสูงขึน้ เมื่อเทียบ


กับช่วงเวลาก่อนหน้า มูลค่าผลผลิต การใช้จ่าย และรายได้ขยายตัวสูงขึน้
ระดับราคาสูงขึน้ คนมีงานทาเพิ่มขึน้ อัตราดอกเบีย้ เพิ่มสูงขึน้
ปั จจัยสาคัญที่ทาให้การลงทุนและการผลิตเพิ่มขึน้ ได้แก่ อุปสงค์
มวลรวม แต่บางกรณีการลงทุนและการผลิตอาจเพิ่มขึน้ เพราะ
ผูป้ ระกอบการมองภาวะเศรษฐกิจดีกว่าความเป็ นจริง เพราะอุปสงค์ท่ี
เพิ่มขึน้ ในช่วงนี ้ ส่วนหนึ่งเป็ นอุปสงค์เทียม หรือการเก็งกาไร
เมื่อเศรษฐกิจฟื ้ นตัวแล้ว เศรษฐกิจก็กลับเข้าสูช่ ่วงขยายตัวต่อไป
วนเวียนเช่นนีไ้ ปเรื่อยๆ เป็ นวัฎจักร

Dr. Adchariya MBA KKU 62


อัตราการ วัฏจักรเศรษฐกิจ/ธุรกิจ
ขยายตัวของ
GDP
เศรษฐกิจรุง่ เรือง

GDP
เศรษฐกิจขยายตัว เศรษฐกิจถดถอย

เศรษฐกิจตกต่า

เศรษฐกิจตกต่า
เวลา

Dr. Adchariya MBA KKU 63


อัตราการ วัฏจักรชีน้ าเศรษฐกิจ
ขยายตัวของ
GDP
เศรษฐกิจรุง่ เรือง

GDP
เศรษฐกิจขยายตัว เศรษฐกิจถดถอย

เศรษฐกิจตกต่า

เศรษฐกิจตกต่า
เวลา
ดัชนีก้ ลุม่ นีจ้ ะเปลี่ยนแปลงก่อนวัฏจักรเศรษฐกิจ เรียกว่า Leading cycle
Dr. Adchariya MBA KKU 64
อัตราการ วัฏจักรชีต้ ามเศรษฐกิจ
ขยายตัวของ
GDP
เศรษฐกิจรุง่ เรือง

GDP
เศรษฐกิจขยายตัว เศรษฐกิจถดถอย

เศรษฐกิจตกต่า

เศรษฐกิจตกต่า
เวลา
ดัชนีก้ ลุม่ นีจ้ ะเปลี่ยนแปลงหลังวัฏจักรเศรษฐกิจ เรียกว่า Lagging cycle
Dr. Adchariya MBA KKU 65
ดัชนีชีเ้ หล่านี ้ ได้แก่
1. ดัชนีการผลิตภาคอุตสาหกรรม
2. ดัชนีผลผลิต พืชผลการเกษตร
3. จานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ
4. ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน
5. ปริมาณการส่งออก/นาเข้า
6. ดุลบันชีเดินสะพัด

Dr. Adchariya MBA KKU 66


อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของไทย ปี 2534-2563
(คานวนแบบใหม่)
อัตราการขยายตัว
ของ GDP
12
10 8.4 9.2 8.7
8 8.1 7.5 7.3
8 7.2
6 5.7 6.1 6.3 5.4
4.6 4.5 4.0 4.1
4 4.9 3.2
4.2
3.4 2.8 2.5
2 1.7 2.9
0.8 0.8 2.4
0 เวลา
-0.9
2534
2535
2536
2537
2538
2539
2540
2541
2542
2543
2544
2545
2546
2547
2548
2549
2550
2551
2552
2553
2554
2555
2556
2557
2558
2559
2560
2561
2562
2563
2564P
-2
-4 -2.8
-6
-7.6 -6.1
-8
-10
Dr. Adchariya MBA KKU 67
การฟื ้ นตัวของอุตสาหกรรม
อัตราการขยายตัว
ของ GDP วัตถุดบิ พืน้ ฐาน

สินค้าทุน สาธารณูปโภค
วัฏจักรเศรษฐกิจ

สินค้าบริโภค
ประเภทคงทน สถาบันการเงิน
สถาบันการเงิน
เวลา

ที่มา: http://www.tsi-thailand.org/index.php?option=com_content&task=view&id=1811&Itemid=1554
Dr. Adchariya MBA KKU 68
จากภาพ จะเห็นว่า... สถาบันการเงิน (Financials) มักจะฟื ้ นตัวก่อน
อุตสาหกรรมอื่นๆ โดยเฉพาะบริษัทหลักทรัพย์ทงั้ หลายที่มกั จะมีกาไร
สุทธิเพิ่มขึน้ อย่างรวดเร็วก่อนธุรกิจอื่นๆ นั่นเพราะตลาดหุน้ เป็ นดัชนีชีน้ า
เศรษฐกิจที่สาคัญที่สดุ
เมื่อตลาดหุน้ ฟื ้ นตัว ธุรกิจที่จะได้ประโยชน์เต็มๆ คือ บริษัทนายหน้า
ค้าหลักทรัพย์ ตามมาด้วยธนาคารพาณิชย์ซง่ึ จะมีผลประกอบการ
กระเตือ้ งขึน้ ด้วยกาไรจากการลงทุน โดยเฉพาะกาไรจากการลงทุนใน
ตราสารหนี ้ ซึง่ จะมีราคาสูงขึน้ จากการลดลงของอัตราดอกเบีย้ ในช่วงนี ้

ที่มา: http://www.tsi-thailand.org/index.php?option=com_content&task=view&id=1811&Itemid=1554

Dr. Adchariya MBA KKU 69


กลุม่ ธุรกิจที่จะฟื ้ นตัวเป็ นระลอกที่สองก็คือ สินค้าอุปโภคบริโภค
ประเภทคงทนถาวร (Consumer Durables) เช่น อสังหาริมทรัพย์
รถยนต์ เครือ่ งใช้ไฟฟ้า ฯลฯ ซึง่ เป็ นธุรกิจที่มีความไวสูงในการตอบสนอง
ต่อการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบีย้ เนื่องจากต้องอาศัยเงินกูจ้ าก
สถาบันการเงิน
ดังนัน้ สถาบันการเงินที่ปล่อยสินเชื่อเพื่ออุปโภคบริโภค เช่น บริษัท
เงินทุน บริษัทลีสซิ่ง บริษัทบัตรเครดิต ฯลฯ ก็จะฟื ้ นตัวตามไปด้วย

ที่มา: http://www.tsi-thailand.org/index.php?option=com_content&task=view&id=1811&Itemid=1554

Dr. Adchariya MBA KKU 70


ถ้าเศรษฐกิจยังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่องถึงจุดหนึ่ง ธุรกิจต่างๆ จะเริม่ มี
การใช้กาลังการผลิตเต็มที่ ทาให้ตอ้ งมีการลงทุนเพิ่มเพื่อขยายกาลังการ
ผลิต ดังนัน้ ธุรกิจที่จะได้ประโยชน์มากที่สดุ ในช่วงนีก้ ็คือ สินค้าทุน
(Capital Goods) เช่น อุปกรณ์ เครือ่ งจักรกล รับเหมาก่อสร้าง ฯลฯ
เมื่อเศรษฐกิจขึน้ ถึงจุดสูงสุด อุตสาหกรรมต่างๆ จะมีความต้องการ
ใช้วตั ถุดิบสูงมาก ซึง่ จะส่งผลให้ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ตา่ งๆ ที่เป็ น
วัตถุดบิ พืน้ ฐานของอุตสาหกรรม (Basic Industries) เช่น ปูนซีเมนต์
เหล็ก ปิ โตรเคมี ฯลฯ ปรับตัวขึน้ อย่างรวดเร็ว จนทาให้อตั ราเงินเฟ้อ
ปรับตัวสูงขึน้ ซึง่ ในช่วงนีธ้ นาคารกลางของประเทศต่างๆ จะเริ่มใช้
นโยบายการเงินที่เข้มงวดขึน้ เพื่อลดความร้อนแรงของการขยายตัวทาง
เศรษฐกิจ
ที่มา: http://www.tsi-thailand.org/index.php?option=com_content&task=view&id=1811&Itemid=1554
Dr. Adchariya MBA KKU 71
ผลจากการใช้นโยบายการเงินที่เข้มงวดขึน้ จะเริม่ ส่งผลให้เศรษฐกิจเริม่
ชะลอตัวลง ทาให้อตุ สาหกรรมต่างๆ ได้รบั ผลกระทบมากบ้างน้อยบ้าง
ขึน้ อยู่กบั ว่าอุตสาหกรรมนัน้ ใช้เงินกูจ้ ากสถาบันการเงินมากหรือน้อย
ถ้าหากมีการใช้เงินกูม้ าก ก็จะได้รบั ผลกระทบแรงกว่า ในช่วงนี ้
อุตสาหกรรมที่จะได้รบั ผลกระทบน้อยกว่าเพื่อนก็คือ สินค้าอุปโภค
บริโภคทีจ่ าเป็ น (Consumer Staples) เช่น อาหาร สาธารณูปโภค
ฯลฯ อย่างไรก็ตาม ลักษณะการหมุนตัวของกลุม่ อุตสาหกรรมอาจไม่
เป็ นไปตามแบบแผนทัง้ หมด เพราะยังมีปัจจัยอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวกับวัฏจักร
เศรษฐกิจประกอบด้วย เช่น ความสามารถของผูบ้ ริหาร ฯลฯ

ที่มา: http://www.tsi-thailand.org/index.php?option=com_content&task=view&id=1811&Itemid=1554
Dr. Adchariya MBA KKU 72
ตัวแปรและความสัมพันธ์ท่สี าคัญ

1. อัตราเงินเฟ้อ (Inflation rate)

Dr. Adchariya MBA KKU 73


สมมุติวา่ เดือนที่ผา่ นมา
อัตราเงินเฟ้อไทยขยับขึน้ ไปถึงร้อยละ 6

ตัวเลขนีม้ ีความสาคัญต่อประชาชนอย่างไร?
มีผลอย่างไรต่ออานาจซือ้ (Purchasing power)
ของประชาชน?
Dr. Adchariya MBA KKU 74
ตัวอย่าง
เช่น มีเงินเดือน 10,000 บาท เคยพอใช้ สบายๆ แต่
วันนีเ้ งินเฟ้อเพิ่มขึน้ 6 เปอร์เซ็นต์ ทาให้คา่ ใช้จ่าย
ประจาเดือนเพิ่มขึน้ อีก 600 บาท จากราคาสินค้าที่
เพิ่มขึน้ แต่รายได้เท่าเดิมคือ 10,000 บาท ทาให้
รายจ่ายเพิ่มขึน้ 600 บาท ก็กลายเป็ นภาระที่ตอ้ ง
แบกเพิ่มทุกเดือน

Dr. Adchariya MBA KKU 75


1. อัตราเงินเฟ้อ
เป็ นภาวะที่ระดับราคาสินค้าทั่วไปเพิ่มสูงขึน้ โดยอาจมี
สาเหตุมาจากการเพิ่มขึน้ ของความต้องการ สินค้าและ
บริการ และการเพิ่มขึน้ ของต้นทุน

เงินฝื ด = ระดับราคาสินค้าโดยทั่วไปในระบบเศรษฐกิจ
ลดลงอย่างต่อเนื่อง

Dr. Adchariya MBA KKU 76


ความหมายตาม พจนานุกรม
ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554

• เงินเฟ้ อ (เศรษฐ) น. ภาวะทางเศรษฐกิจที่ปริมาณเงิน


หมุนเวียนในประเทศมากเกินไป ทาให้ราคาสินค้าแพงและเงิน
เสื่อมค่า
• เงินฝื ด (เศรษฐ) น. ภาวะทางเศรษฐกิจที่ปริมาณเงินหมุนเวียน
ในประเทศน้อยเกินไป การใช้จ่ายลดลง ทาให้ราคาสินค้าตก

Dr. Adchariya MBA KKU 77


Dr. Adchariya MBA KKU 78
Dr. Adchariya MBA KKU 79
Dr. Adchariya MBA KKU 80
Dr. Adchariya MBA KKU 81
Dr. Adchariya MBA KKU 82
Dr. Adchariya MBA KKU 83
1.1 ภาวะเงินเฟ้อที่เกิดจากการเพิ่มขึน้ ของความ
ต้องการสินค้าหรือที่เรียกว่า อุปสงค์มาก

มักเกิดขึน้ ในช่วงที่อปุ สงค์รวมของระบบเศรษฐกิจเพิ่ม


สูงขึน้ รวดเร็วกว่าที่อปุ ทานรวมของระบบเศรษฐกิจ จะ
ตอบสนองได้ทนั

Dr. Adchariya MBA KKU 84


1.2 ความขาดแคลนของปั จจัยการผลิต
รวมทัง้ การขาดแคลนกาลังการผลิต ย่อมทาให้
ต้นทุนการผลิตสูงขึน้ และระดับราคาสินค้าทั่วไปก็
จะสูงขึน้ ตามไปด้วย

Dr. Adchariya MBA KKU 85


ภาวะเงินเฟ้ออันมีสาเหตุมาจากทางด้านอุปทาน
หรือต้นทุนผลิต มักเกิดขึน้ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง
ในตลาดปั จจัยการผลิต จนส่งผลให้ตน้ ทุนการผลิต
และระดับราคาสินค้าต้องเพิ่มสูงขึน้

Dr. Adchariya MBA KKU 86


เช่น
การเพิ่มขึน้ ของอัตราค่าจ้างแรงงาน
การเพิ่มขึน้ ของต้นทุนดอกเบีย้
ภัยพิบตั ิจากสภาพดินฟ้าอากาศ
ราคาวัตถุดิบเช่น ราคานา้ มันโลกเพิ่มสูงขึน้

Dr. Adchariya MBA KKU 87


1.3 ภาวะเงินเฟ้ อทางโครงสร้าง

ในหลายประเทศอาจมีปัญหาเงินเฟ้อด้วยสาเหตุท่โี ครงสร้าง
การผลิตหรือโครงสร้างตลาดภายในประเทศที่มีลกั ษณะที่ไม่
เสรีมากนัก เช่น มีการผูกขาดทาให้ราคาสินค้าเพิ่มสูงขึน้ อย่าง
มาก ในกรณีนีเ้ ราอาจเรียกว่า ภาวะเงินเฟ้อทางโครงสร้าง

Dr. Adchariya MBA KKU 88


➢ ภาวะเงินเฟ้อที่สงู มักเกิดขึน้ ในช่วงที่ประเทศต่างๆทั่วไป
ประสบปั ญหาเงินเฟ้อทั่วโลก เช่นในช่วงวิกฤติการณ์
นา้ มันโลก เป็ นต้น
➢ บางทีก็เกิดขึน้ เนื่องจากมีอตั ราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
อยู่ในเกณฑ์สงู มาก เช่น มีความต้องการสินค้าส่งออก
และความต้องการลงทุนสูงมาก ในขณะผูผ้ ลิตสินค้ามี
ข้อจากัดด้านกาลังการผลิต เป็ นต้น

Dr. Adchariya MBA KKU 89


✓ ตัวเลขภาวะเงินเฟ้อเป็ นตัวเลขระดับราคาที่จดั ทาเป็ น
ดัชนี เรียกว่า ดัชนีราคาสินค้าทั่วไป
✓ เป็ นตัวเลขที่สะท้อนถึง”ราคาสินค้าและบริการโดย
เฉลี่ยหรือโดยรวม”
✓ การเปลี่ยนแปลงของระดับราคาจากปี หนึ่งไปสูอ่ ีกปี
หนึ่งจะวัดออกมาเป็ นค่าเฉลี่ยของราคาสินค้าและ
บริการทัง้ หลาย

Dr. Adchariya MBA KKU 90


ซึง่ ส่งผลให้มีดชั นีราคาสินค้าทั่วไป ได้แก่
1. ดัชนีราคาผูบ้ ริโภค หรือดัชนีราคาขายปลีก เป็ นดัชนีท่ี
วัดจากราคาขายปลีกที่ผบู้ ริโภคจ่ายและครอบคลุม
เฉพาะสินค้าและบริการเพื่อการบริโภคหรือที่ครัวเรือน
จับจ่ายใช้สอย
2. ดัชนีราคาผูผ้ ลิตหรือดัชนีราคาขายส่ง เป็ นดัชนีท่ีวดั
จากราคาขายส่งที่ผผู้ ลิตนาออกจากโรงงานหรือตลาด
ขายส่ง และครอบคลุมเฉพาะสินค้ารายการสาคัญที่
ผลิตภายในประเทศ
Dr. Adchariya MBA KKU 91
ข้อสังเกตุ
1. เงินเฟ้อ จะส่งผลกระทบกับกลุม่ คนในแต่ละฐานรายได้ไม่เหมือนกัน
กลุม่ คนที่มีรายได้เติบโตมากกว่าเงินเฟ้อก็ไม่มีปัญหา แต่คนที่มีอตั รา
การเติบโตของรายได้ต่ากว่าอัตราเงินเฟ้อย่อมได้รบั ผลกระทบมากกว่า
2. เงินเฟ้ออยู่ในระดับต่า หมายถึง การมีเสถียรภาพทางด้านราคา
ประชาชนมีอานาจซือ้ มากที่สดุ ไม่ได้หมายถึง ราคาสินค้าขึน้ ไม่ได้ แต่
ราคาค่อยๆขึน้ ได้ในอัตรา 2%-3% และสามารถคาดการณ์ได้ ทาให้วาง
แผนการใช้จ่ายได้

Dr. Adchariya MBA KKU 92


ตัวแปรและความสัมพันธ์ท่ีสาคัญ(ต่อ)

2. ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ GDP
( GDP = Gross Domestic Product )

Dr. Adchariya MBA KKU 93


GDP หมายถึง มูลค่าตามราคาตลาด
ของสินค้าและบริการขัน้ สุดท้ายทัง้ หมด
ที่ผลิตได้ภายในประเทศในระยะเวลา 1 ปี

มาตรที่ใช้วดั ขนาดของระบบเศรษฐกิจโดยรวม

Dr. Adchariya MBA KKU 94


GDP รวมสินค้าและบริการขัน้ สุดท้ายที่ทกุ คน
ภายในประเทศนัน้ ๆ (ไม่วา่ จะเป็ นสัญชาติไทย
อเมริกนั จีน ญี่ปนุ่ ที่มาอยูใ่ นประเทศ) ผลิตขึน้ ได้

Dr. Adchariya MBA KKU 95


แต่เนื่องจากสินค้าและบริการที่ผลิตขึน้ มานัน้ มี
หลากหลาย และมีหน่วยวัดต่างๆกัน เช่น ข้าวเป็ น
เกวียน(ตัน) รถยนต์เป็ นคัน เรือเป็ นลา เป็ นต้น จึง
ประเมินมูลค่าเป็ นตัวเงินตามราคาตลาดเสียก่อน
ทาให้สามารถรวมเข้าด้วยกันได้ และผลิตภัณฑ์มวล
รวมประชาชาติในประเทศ จะมีหน่วยเป็ นตัวเงินของ
แต่ละประเทศ

Dr. Adchariya MBA KKU 96


GDP จะคิดมูลค่าตามราคาตลาด (Evaluated at
market prices) แต่ปัญหาที่ตามมาคือ

ถ้าระดับราคาตลาดโดยเฉลี่ยเปลี่ยนแปลง ผลผลิต
จานวนเดียวกันจะให้คา่ GDP ที่ตา่ งกัน ซึ่งเรา
เรียกว่า Nominal GDP
วิธีแก้ คือ ต้องหา Real GDP โดยใช้ราคาจากปี ฐาน

Dr. Adchariya MBA KKU 97


กรณีที่ 1 กรณีที่ 2
ปริมาณผลผลิตเพิ่ม ปริมาณผลผลิตลดลง

ปี ท่ี ราคา ปริมาณ Nominal ราคา ปริมาณ Nominal


GDP GDP
2560 20 60 1200 20 60 1200

2561 20 70 1400 30 50 1500

2562 20 90 1800 50 40 2000

Dr. Adchariya MBA KKU 98


กรณีที่ 2 กรณีที่ 2
ปริมาณผลผลิตลดลง คานวนโดยใช้ปีฐาน 2560

ปี ท่ี ราคา ปริมาณ Nominal ราคา ปริมาณ Real


GDP GDP
2560 20 60 1200 20 60 1200

2561 30 50 1500 20 50 1000

2562 50 40 2000 20 40 800


Dr. Adchariya MBA KKU 99
นอกจากนีส้ ินค้าดังกล่าวข้างต้นนัน้ จะต้องมีการซือ้
ขายกันในตลาดด้วย ทาให้การผลิตสินค้าและ
บริการบางอย่าง ที่ไม่ได้มีการซือ้ ขายกันในตลาด จะ
ไม่ถกู นับรวมเข้าไว้ใน GDP เช่น แม่บา้ นอยู่กบั บ้าน
ทากับข้าว ดูแลรักษาความสะอาด เลีย้ งดูลกู เป็ น
กิจกรรมที่ไม่ผ่านตลาด และไม่นบั รวมอยู่ใน GDP
ด้วย

Dr. Adchariya MBA KKU 100


มากไปกว่านัน้ การนับรวมนัน้ จะนับรวมเฉพาะสินค้า
และบริการขัน้ สุดท้าย หมายถึง พร้อมที่จะบริโภคโดย
ผูบ้ ริโภคเท่านัน้ จะไม่รวมสินค้าที่ผลิตเพื่อไปเป็ น
วัตถุดิบของอุตสาหกรรมอื่น เช่น ชิน้ ส่วนรถยนต์ ที่ถกู
ผลิตและขายให้กบั ผูป้ ระกอบรถยนต์

Dr. Adchariya MBA KKU 101


ในกรณีนีร้ าคารถยนต์ท่ปี ระกอบเสร็จแล้วในปี นนั้ และ
พร้อมที่จะขายให้แก่ผบู้ ริโภคเท่านัน้ ที่รวมอยู่ใน GDP
นอกจากนัน้ ยังไม่รวมมูลค่าการซือ้ ขายหุน้ พันธบัตร
และตราสารการเงินอื่นๆ อีกด้วย (เพราะไม่ทาให้เกิดผล
ผลิตที่แท้จริง) การที่กาหนดลงไปว่า เป็ นสินค้าและ
บริการขัน้ สุดท้ายเท่านัน้ ก็เพื่อป้องกันไม่ให้มีการนับซา้
เกิดขึน้

Dr. Adchariya MBA KKU 102


แต่ถา้ ภายในปี ท่คี านวน GDP นัน้ ผูผ้ ลิตชิน้ ส่วน ได้
ผลิตขึน้ มา แต่ไม่สามารถขายให้กบั ผูป้ ระกอบ
รถยนต์ได้ทงั้ หมด หรือ ผูป้ ระกอบรถยนต์ไม่สามารถ
นาไปใช้ประกอบรถยนต์ได้ทงั้ หมด เฉพาะส่วนที่
เหลือนี ้ จะคิดเป็ นสินค้าคงเหลือตามราคาตลาด
และนาไปรวมอยู่ใน GDP

Dr. Adchariya MBA KKU 103


มากไปกว่านัน้ ก็คือ สินค้าที่ผลิตขึน้ มาเพื่อนาไป
ผลิตสินค้าอื่น เช่น เครื่องจักร ที่เรียกว่า สินค้า
ทุน (Capital Goods) จะต้องคิดค่าเสื่อมราคา
และนาไปรวมอยูใ่ น GDP

Dr. Adchariya MBA KKU 104


การคานวณ GDP
1. คานวณทางด้านผลผลิต (Product Approach)
2. คานวณทางด้านรายจ่าย (Expenditure Approach)
3. คานวณทางด้านรายได้ (Income Approach)

Dr. Adchariya MBA KKU 105


1. การคานวณ GDPด้านผลผลิต
(Product Approach)
เป็ นการหาผลรวมมูลค่าของสินค้าและบริการขัน้ สุดท้ายที่ประเทศ
ผลิตขึน้ ได้ในระยะเวลา 1 ปี โดยแบ่งเป็ น 2 วิธีย่อย คือ
1. คิดเฉพาะมูลค่าของสินค้าและบริการขัน้ สุดท้าย คือผลผลิตที่
ซือ้ ไปเพื่อการบริโภค และให้รวมสินค้าคงเหลือที่ขายไม่หมด
ด้วย
2. คิดแบบมูลค่าเพิ่ม

Dr. Adchariya MBA KKU 106


วิธีคานวณมูลค่าเพิ่ม

ขัน้ การผลิต มูลค่าการขาย มูลค่าสินค้าขัน้ กลาง มูลค่าเพิ่ม


ข้าวสาลี 4 0 4
แป้ง 6 4 2
ขนมปัง 20 6 14
รวม 30 10 20 = มูลค่าผลผลิต

Dr. Adchariya MBA KKU 107


2. การคานวณ GDPด้านรายจ่าย
(Expenditure Approach)
ทางด้านรายจ่าย เป็ นการวัดค่า GDP จากจานวนเงินทัง้ หมดที่
ครัวเรือน ธุรกิจ รัฐบาล และต่างประเทศใช้จ่ายในการซือ้ สินค้า
และบริการขัน้ สุดท้าย ที่ผลิตขึน้ ได้ภายในประเทศ ในปี นนั้ ๆ
องค์ประกอบของรายจ่ายมี 5 ส่วนได้แก่
GDP = C + I + G + X – M

GDP บางครัง้ เรียกว่า Total Demand หรือ Aggregate Demand


Dr. Adchariya MBA KKU 108
การคานวณ GDP
C= รายจ่ายในการบริโภคของเอกชน
I= รายจ่ายในการลงทุนภายในประเทศ
G= รายจ่ายในการซือ้ สินค้าและบริการของภาครัฐ
X= รายจ่ายซือ้ สินค้าออกของชาวต่างประเทศ
(หรือมูลค่าการส่งออก)
M = รายจ่ายซือ้ สินค้าเข้าของประชาชนในประเทศ
Dr. Adchariya MBA KKU 109
C = รายจ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน ทัง้ สินค้าถาวร
และสินค้าไม่ถาวร ยกเว้นค่าใช้จ่ายต่อไปนี ้
1. ค่าใช้จ่ายซือ้ สินค้ามือสอง
2. ค่าใช้จ่ายในการซือ้ บ้านใหม่ (ถือเป็ นรายจ่ายเพื่อการลงทุน)
3. รายจ่ายเงินโอน เพราะเป็ นรายจ่ายที่ไม่ก่อให้เกิดผลผลิต
จากผูร้ บั เงิน

C = Co + C1(Y-T)

Dr. Adchariya MBA KKU 110


การบริโภค
รายได้ = การบริโภค AE = C
c C = C0 + C1Yd
210
d
150 a
b
100
e
C0= 50
45๐ รายได้ประชาชาติ (Yd)
0 Yd2 Yd1 Yd3
1. เส้น 45 องศา คือเส้นที่แสดงว่ารายจ่ายเพื่อการบริโภคเท่ากับรายได้ท่ีจะใช้จ่ายได้ ทุกจุดบน
เส้นนีแ้ สดงถึง AE = Yd หรือรายจ่ายมวลรวม (aggregate expenditure) มีคา่ เท่ากับรายได้
ดุลยภาพ (equilibrium income level)
2. Yd = Y-T คือรายได้ท่ีสามารถใช้จ่ายได้
Dr. Adchariya MBA KKU 111
การบริโภค
รายได้ = การบริโภค AE = C
c C = C0 + C1Yd
210
d 1. เมื่อรายได้อยู่ท่ี Yd2 ครัวเรือนมีการ
150 a บริโภคสูงกว่ารายได้ ทาให้ตอ้ งไปกูเ้ งินหรือ
b นาเงินออมในอดีตมาใช้ ทาให้เงินออมติด
100
C0= 50 e ลบ (dissaving) เท่ากับ b’e’
45๐ Yd
0 Yd2 Yd1 Yd3
การออม
2. เมื่อรายได้อยู่ท่ี Yd3 ครัวเรือนมีการ
บริโภคน้อยกว่ารายได้ท่ีมี ทาให้มีเงินออม
เท่ากับ c’d’
c’
b’ a’ Yd
0
d’
- C0= - 50 e’

Dr. Adchariya MBA KKU 112


I = รายจ่ายเพื่อการลงทุนของภาคเอกชนและภาครัฐบาล
ประกอบด้วย
1. รายจ่ายเพื่อการก่อสร้างใหม่ เช่น ค่าก่อสร้างโรงงาน และการ
ก่อสร้างสาธารณูปโภคต่างๆ ไม่รวมซือ้ สิ่งก่อสร้างมือสองและที่ดิน (เพราะ
เป็ นเพียงการเปลี่ยนมือผูถ้ ือกรรมสิทธิ์) แต่ถา้ มีการพัฒนาที่ดิน ก็นบั
เฉพาะรายจ่ายดังกล่าว
2. รายจ่ายเพื่อซือ้ เครื่องมือเครื่องจักรและอุปกรณ์ตา่ งๆที่ผลิตขึน้ ใหม่
3. ส่วนเปลี่ยนของสินค้าคงเหลือ

I = bo+ b1Y – b2i


Dr. Adchariya MBA KKU 113
ในระบบเศรษฐกิจแบบปิ ดและไม่มีภาคการเงิน โดยปกติ การลงทุนทัง้ สิน้
ในขณะใดขณะหนึ่ง จะเท่ากับผลรวมของการลงทุนแบบอิสระ ( bo ) กับ
การลงทุนแบบชักจูง ( b1Y)
I = b o + b1 Y
การลงทุน

c I = b0 + b1Y
I2
I1 a

I0
รายได้ประชาชาติ
0 Yd1 Yd2
Dr. Adchariya MBA KKU 114
G = รายจ่ายของรัฐบาลในการซือ้ สินค้าและบริการต่างๆ ได้แก่ รายจ่าย
เพื่อซือ้ สินค้าและบริการขัน้ สุดท้ายจากภาคธุรกิจ ค่าจ้างและเงินเดือน
ข้าราชการ แต่ไม่รวมรายจ่ายในรูปเงินโอนต่างๆ เช่น รายจ่ายเพื่อ
สวัสดิการสังคมและเงินบานาญ เป็ นต้น และรายจ่ายเพื่อการลงทุน ในการ
ก่อสร้างสาธารณูปโภค
ปกติรายจ่ายของรัฐบาลไม่คอ่ ยสัมพันธ์กบั ระดับรายได้ประชาชาติใน
ช่วงเวลาเดียวกัน เนื่องจากงบประมาณรายจ่ายประจาปี มกั จะมีการ
กาหนดไว้ลว่ งหน้าอย่างน้อย 1 ปี ดังนัน้ รายจ่ายภาครัฐจึงเป็ นเส้นตรง
ขนานกับแกนรายได้ประชาชาติ

Dr. Adchariya MBA KKU 115


การใช้จ่ายของภาครัฐ

G3
G1

G2

รายได้ประชาชาติ
0

Dr. Adchariya MBA KKU 116


X = การส่งออก หมายถึงมูลค่าสินค้าและบริการที่ประเทศหนึ่งส่งออกไป
ขายที่ตา่ งประเทศ
ปั จจัยที่มีผลต่อการส่งออก
1. นโยบายส่งเสริมการส่งออกของรัฐบาล
2. ราคาของสินค้าส่งออก
3. ความต้องการของต่างประเทศ (ขึน้ กับรายได้ประชาชาติของประเทศผู้
นาเข้า)
จากปั จจัยข้างต้น จะพบว่าข้อ3 เป็ นตัวแปรนอกระบบ และรายได้
ประชาชาติของประเทศผูส้ ง่ ออกไม่ได้เป็ นตัวกาหนดโดยตรงต่อความ
ต้องการส่งออก ดังนัน้ เส้นที่แสดงถึงการส่งออกจึงเป็ นเส้นตรงขนานกับ
แกนรายได้ประชาชาติของประเทศผูส้ ง่ ออก
Dr. Adchariya MBA KKU 117
การส่งออก

X3
X1
X2

รายได้ประชาชาติ
0
X3 อาจเกิดจากมีการใช้เทคโนโลยีใหม่ในการผลิต ส่งผลให้ตน้ ทุนการผลิตต่ากว่า
คูแ่ ข่ง ราคาส่งออกถูกลงอย่างมาก ปริมาณการส่งออกเพิ่มขึน้ เส้นความต้องการ
ส่งออกจึงเคลื่อนขึน้ ด้านบน

Dr. Adchariya MBA KKU 118


M = การนาเข้า หมายถึงมูลค่าสินค้าและบริการที่ประเทศหนึ่งนาเข้าจาก
ต่างประเทศ
ปั จจัยที่มีผลต่อการนาเข้า จะเป็ นปั จจัยชุดเดียวกันกับที่กาหนดความ
ต้องการบริโภคในประเทศ เช่น รายได้ท่ีใช้จ่ายได้ สินเชื่อเพื่อการนาเข้า
และอัตราดอกเบีย้ สินเชื่อเพื่อการบริโภคและอัตราดอกเบีย้ การคาดการณ์
ของผูบ้ ริโภค ค่านิยมในการใช้สินค้าต่างประเทศ จานวนประชากร ราคา
คุณภาพ อัตราแลกเปลี่ยน รวมถึงนโยบายของรัฐบาล เป็ นต้น

Dr. Adchariya MBA KKU 119


การนาเข้า
M2
M1
c b
M2
M1 a

รายได้ประชาชาติ
0 Y1 Y2

1. รายได้มากขึน้ นาเข้ามากขึน้
2. ถ้าปั จจัยอื่นเปลี่ยนไป เช่น เงินในประเทศแข็งค่าเมื่อเทียบกับประเทศผูส้ ง่ ออก
ความต้องการนาเข้าก็มากขึน้ แม้รายได้ประชาชาติจะเท่าเดิม

Dr. Adchariya MBA KKU 120


ความต้องการมวลรวม
(Desired Aggregate Expenditure)
หมายถึงผลรวมความต้องการใช้จ่ายด้านต่างๆในระบบเศรษฐกิจ

DAE = C + I + G + X – M

Dr. Adchariya MBA KKU 121


ความต้องการ
ใช้จ่ายมวลรวม
DAE = C + I + G + X – M

I +G + (X - M)
C

I = b0 + G
I = b0
(X - M)
รายได้
0 ประชาชาติ
การสร้างเส้นความต้องการใช้จา่ ยมวลรวม
Dr. Adchariya MBA KKU 122
การแยกประเภทกลุม่ แบบนี ้ เป็ นความพยายามที่จะจัดกลุม่
รายจ่ายตามผูซ้ อื ้ ไม่ใช่ตามประเภทของผลผลิต เป็ นความ
พยายาม อธิบายส่วนประกอบต่างๆ โดยแยกปั จจัยที่เป็ นแรง
กระตุน้ ผูซ้ อื ้ แต่ละกลุม่ เช่น ผูบ้ ริโภคทั่วไปคาดว่าจะซือ้ เท่าไร
ขึน้ กับรายได้ของครัวเรือน ธุรกิจขึน้ กับโอกาสในการหาผลกาไร
และรัฐบาลขึน้ กับการพิจารณานโยบายมหภาค

Dr. Adchariya MBA KKU 123


Dr. Adchariya MBA KKU 124
Dr. Adchariya MBA KKU 125
Dr. Adchariya MBA KKU 126
3. การคานวณ GDPทางด้านรายได้
(Income Approach)
เป็ นการคานวณรายได้รวมทัง้ หมดซึง่ เจ้าของปั จจัยการผลิตได้รบั
จากการขายหรือให้บริการปั จจัยการผลิตเหล่านัน้ แก่หน่วยธุรกิจ
ต่างๆ เพื่อการผลิตสินค้าและบริการ ได้แก่ ค่าจ้าง ค่าเช่า ดอกเบีย้
และกาไร

Dr. Adchariya MBA KKU 127


การวัดทางด้านรายได้ (Income Approach)
แบ่งได้ 2 ส่วน
• ส่วนที่ 1 เป็ นผลตอบแทนของปั จจัยการผลิตต่างๆ ที่มีสว่ นร่วมในการผลิตหรือต้นทุนของปั จจัย
การผลิต
• ส่วนที่ 2 มิได้เป็ นผลตอบแทนของปั จจัยการผลิตแต่มีการนามาคิดในการตัง้ ราคาขายในตลาด
เช่น ภาษี ทางอ้อม เป็ นต้น สามารถเขียนอยู่ในรู ปสมการได้ดงั นี ้

GDP = W + R + I + P + PI + GR + Ti + D
W = ค่าตอบแทนแรงงาน
R = รายได้ในรูปค่าเช่า
I = รายได้จากดอกเบีย้ สุทธิ
P = กาไรของนิติบคุ คล
PI = รายได้จากองค์กรที่มิใช่นิติบคุ คล
GR = รายได้ของรัฐบาลจากทรัพย์สินและการจัดการ
Ti = ภาษีทางอ้อมที่หกั เงินอุดหนุนแล้ว
D = ค่าเสื่อมราคา
Dr. Adchariya MBA KKU https://sites.google.com/site/hlaksers2582016/bth-thi-3-kar-phathna-sersthkic/3-1-ray-di-prachachati 128
การคานวณรายได้ประชาชาติ
(National Income)
ในการคานวณรายได้ประชาชาติ จุดเริม่ ต้นของเราอยู่ท่ี GNP ไม่ใช่
GDP
• รายได้ประชาชาติ (National Incomne : NI) คือผลตอบแทนจาก
ปั จจัยการผลิต ซึง่ ได้แก่คา่ ตอบแทนแรงงาน ผลตอบแทนจากที่ดิน
ทุน และการประกอบการ
• ผลิตภัณฑ์ประชาชาติ (Gross National Product : GNP) คือ
มูลค่าของสินค้าและบริการขัน้ สุดท้ายทัง้ หมดที่ผลิตขึน้ ใน
ระยะเวลาหนึ่งโดยใช้ทรัพยากรที่คนประเทศนัน้ ๆ เป็ นเจ้าของ
Dr. Adchariya MBA KKU 129
ผลิตภัณฑ์ประชาชาติ
(Gross National Product : GNP)

GNP = GDP – รายได้ของชาวต่างประเทศ ที่ทาได้ใน


ประเทศนัน้
+ รายได้ท่ีสง่ กลับประเทศจากการไปขาย
แรงงานในต่างประเทศ

Dr. Adchariya MBA KKU 130


GNP คือมูลค่า ตามราคาตลาดของสินค้าและบริการขัน้ สุดท้าย
ทัง้ หมดที่ประชาชนของชาติหรือประเทศหนึ่งๆสามารถผลิต
ได้ในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ปกติคือ 1 ปี แม้ว่าจะผลิตใน
ต่างประเทศก็ตาม เช่น แพทย์ไทยไปทางานที่สหรัฐ และส่ง
รายได้กลับมาประเทศไทย รายได้ท่สี ง่ กลับมานีจ้ ะรวมอยู่ใน
GNP (GDP จะคานึงถึงในประเทศเป็ นหลัก ส่วน GNP จะ
คานึงถึงสัญชาติเป็ นหลัก)

Dr. Adchariya MBA KKU 131


ตัวอย่าง
กิจกรรม GDP ไทย GNP ไทย
มูลค่าของการขายของ บ. CPที่
ไปตัง้ โรงงานและขายสินค้าใน
ประเทศจีน
มูลค่าของเครื่องใช้ไฟฟ้าที่
บ.ญี่ปนุ่ มาตัง้ โรง
งานผลิตและขายในไทย
รายได้ของคนงานไทยที่ไป
ทางานในเกาหลี

Dr. Adchariya MBA KKU 132


✓GNP < GDP เมื่อ บริษัท ตปท. มีรายได้จากไทย มากกว่า บริษัทไทยมี
รายได้จาก ตปท.
✓GNP > GDP เมื่อ บริษัท ตปท. มีรายได้จากไทย น้อยกว่า บริษัทไทยมี
รายได้จาก ตปท.
เช่น - บ.ไทย ไปลงทุนในเวียดนาม คิดเป็ นรายได้มลู ค่า 2,000 ล้านบาท
- บ.ญี่ปนุ่ (เป็ นประเทศเดียวที่มาลงทุน)ในไทย มีรายได้คิดเป็ นมูลค่า
3,000 ล้านบาท
- สินค้าที่ผลิตในประเทศไทย โดยคนไทย มีมลู ค่า 4,000 ล้านบาท
Q: GDP กับ GNP ไทย อะไรมีค่ามากกว่ากัน?

Dr. Adchariya MBA KKU 133


การคานวณรายได้ประชาชาติ
(National Income)

NI = GNP – ค่าเสื่อม – ภาษีทางอ้อม และ อื่นๆ

Dr. Adchariya MBA KKU 134


การคานวณรายได้ประชาชาติ
(National Income)
• ค่าเสื่อม หมายถึง ตัวแทนของต้นทุนการผลิต ไม่ใช่รายได้ของ
ปั จจัยการผลิต
• ภาษีทางอ้อม เช่น ภาษี การขาย และภาษี สรรพสามิต
• อืน่ ๆ หมายถึง หนีส้ ญ ู ของภาคธุรกิจ (เงินโอนของภาคธุรกิจ) ใน
เมื่อหนีอ้ ย่างนัน้ ไม่สามารถเรียกเก็บได้ มันจึงไม่ใช่รายได้ของปั จจัย
การผลิต มันแทนมูลค่าขายซึง่ รวมอยู่ใน GNP หรือหมายถึง เงิน
อุดหนุนต่างๆ
Dr. Adchariya MBA KKU 135
ข้อจากัดของการใช้ GDP
1. จะละเลยกิจกรรม การซือ้ ขายที่ไม่ผ่านตลาด เช่น บริการสร้างบ้าน
ของตัวเอง การผลิตหรือปลูกข้าวไว้กินเอง หรือกิจกรรมบางอย่าง
ผ่านตลาด แต่ไม่ได้มีการเสียภาษี รายได้ และไม่มีการเก็บข้อมูล
กันอย่างถูกต้อง เช่น Freelance รับจ้างตัดหญ้า รับจ้างเลีย้ งเด็ก
เป็ นต้น”
ดังนัน้ ในการเปรียบเทียบ GDP ระหว่างประเทศจะเกิดช่องว่างใน
การผลิตระหว่างประเทศอุตสาหกรรม กับประเทศด้อยพัฒนา

Dr. Adchariya MBA KKU 136


ข้อจากัดของการใช้ GDP (ต่อ)

2. ละเลยกิจกรรมที่ผิดกฎหมาย หรือกิจกรรมที่หลบเลี่ยงภาษี
เช่น การพนัน ค้าบริการทางเพศ ลักลอบขนสินค้าผ่านแดน
ค้ายาเสพติด เหล่านี ้ มีเงินที่เกิดเป็ นรายได้เป็ นจานวนมาก
แต่ไม่ได้มีการเก็บข้อมูลอย่างถูกต้อง และไม่มีการเสียภาษี

Dr. Adchariya MBA KKU 137


ข้อจากัดของการใช้ GDP (ต่อ)

3. GDP ไม่ใช่เครือ่ งวัดสวัสดิการ ผลกระทบของกิจกรรมการ


ผลิตต่อสิ่งแวดล้อม เช่น การปล่อยนา้ เสียลงสูแ่ ม่นา้ ลาคลอง
สาธารณะ หรือการปล่อยสารพิษขึน้ ไปในอากาศ เป็ นต้น ก็
ไม่ได้รวมอยู่ใน GDP ทาให้การผลิตที่เพิ่มขึน้ อาจส่งผลให้
มาตรฐานการครองชีพของประชาชนในชาติลดลง

Dr. Adchariya MBA KKU 138


ข้อจากัดของการใช้ GDP (ต่อ)

หรือ การผลิตไฟฟ้า จากถ่านหินซึง่ ทาให้เกิดฝนกรด และมีผลทา


ให้เกิดมลพิษทัง้ ทางนา้ และการสูญเสียป่ าไม้ตามมา เรานับการ
ผลิตไฟ้ฟา้ นับรวมใน GDP แต่ไม่ได้หกั ความสูญเสียทาง
เศรษฐกิจจากมลพิษต่างๆ ซึง่ ถ้ารัฐบาลจ่ายเงินในการพยายาม
กาจัดมลพิษ เราก็ตอ้ งนับรวมส่วนนีเ้ ข้าไปด้วย

Dr. Adchariya MBA KKU 139


ข้อจากัดของการใช้ GDP (ต่อ)

จุดอ่อนดังกล่าวนี ้ ทาให้ GDP เป็ นเพียงตัววัดกิจกรรมทาง


เศรษฐกิจที่ผ่านตลาดเท่านัน้ ไม่ได้แสดงให้เห็นถึงความอยู่ดีกิน
ดีของประชาชนในประเทศแต่อย่างใด ไม่สามารถวัดความสุข
ของคนในประเทศได้

Dr. Adchariya MBA KKU 140


GDP ยังไม่ได้คานึงถึงรายได้หรือการผลิต ที่ประชาชนของประเทศ
ได้รบั หรือจ่ายไปในการลงทุนหรือการผลิตในต่างประเทศเข้าไว้ดว้ ย

(เมื่อคานึงถึงรายการนีแ้ ล้ว เราจะรวมเรียกว่า ผลิตภัณฑ์ประชาชาติ


GNP (Gross National Product))

Dr. Adchariya MBA KKU 141


ประโยชน์ ของ GDP

1. GDP เป็ นตัวแปรการผลิตรวมของประเทศ


เป็ นผลรวมของมูลค่าการผลิตในทุกสาขารายการ GDP จึงเป็ น
ตัวแปรที่ช่วยบอกถึงภาวะเศรษฐกิจในแง่การผลิตโดยตรง

Dr. Adchariya MBA KKU 142


2. เป็ นตัวแปรที่ช่วยบอกถึงภาวะรายได้
หรือความเป็ นอยู่ทางรายได้ของประชาชน

เพราะการผลิต ย่อมเป็ นรายได้ท่เี จ้าของปั จจัยการผลิตได้รบั


การผลิตที่มากขึน้ ย่อมมีการจ้างงานที่มากขึน้

Dr. Adchariya MBA KKU 143


ดังนัน้ GDP ที่สงู ขึน้ หรือต่าลง
ย่อมสะท้อนถึงรายได้ของประชาชน
ที่มากขึน้ หรือลดลง และเนื่องจากรายได้
เป็ นกาลังซือ้ ของประชาชนในการดารงชีพ
หรือการอุปโภคบริโภค
จึงมักถือว่า GDP เป็ นตัวแปรที่บอกถึง
ความกินดีอยู่ดีของประชาชน

Dr. Adchariya MBA KKU 144


ข้อพึงระวังในการใช้ตวั เลขประมาณการ GDP
1. การพยากรณ์การขยายตัวของ GDP โดยระบุออกมาเป็ นตัวเลข
เดียวอย่างแจ้งชัด มีโอกาสผิดพลาดได้สงู มาก ตัวเลขพยากรณ์
ที่ดีน่าจะระบุเป็ นช่วงมากกว่า
เช่น พยากรณ์ว่า ในปี หน้า GDP จะขยายตัวในอัตราร้อยละ 4.0

Dr. Adchariya MBA KKU 145


ข้อพึงระวังในการใช้ตวั เลขประมาณการ GDP

2. ควรมีการระบุความน่าจะเป็ น (probability) ไว้ดว้ ย เพื่อให้ผนู้ า


ข้อมูลไปใช้ได้รูว้ ่ามีโอกาสมาน้อยเพียงใดที่ GDP จะขยายตัว
ในช่วงอัตราดังกล่าว

Dr. Adchariya MBA KKU 146


ข้อพึงระวังในการใช้ตวั เลขประมาณการ GDP

3. การพยากรณ์อตั ราการขยายตัวของ GDP ที่ระบุออกมานัน้


มีการกาหนดเงื่อนไขใดๆ หรือไม่ (conditional forecasts)
ถ้ามีการกาหนดเงื่อนไขไว้ ผูน้ าตัวเลขพยากรณ์ไปใช้จะต้อง
ให้ความสนใจกับเงื่อนไขด้วย เพราะถ้าสภาพเงื่อนไข
เปลี่ยนแปลงไปย่อมต้องรูไ้ ด้ทนั ทีวา่ อัตราการขยายตัวของ
GDP ที่จะเกิดขึน้ จริงจะผิดแผกแตกต่างไปจากตัวเลข
พยากรณ์

Dr. Adchariya MBA KKU 147


ข้อพึงระวังในการใช้ตวั เลขประมาณการ GDP
ตัวอย่าง: การพยากรณ์ท่มี ีการกาหนดเงื่อนไขว่า GDP ในปี หน้า
จะเติบโตในอัตราร้อยละ 4 ถ้าราคานา้ มันในตลาดโลกไม่สงู กว่า
120 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกาต่อบาร์เรลล์ แต่ถา้ ราคานา้ มันมี
แนวโน้มสูงกว่านัน้ ก็เป็ นที่คาดได้ว่า อัตราการเติบโตของ GDP ใน
ปี หน้าจะต่ากว่าร้อยละ 4

Dr. Adchariya MBA KKU 148


Dr. Adchariya MBA KKU 149

You might also like