You are on page 1of 33

FUNCTIONAL FOODS

3 ข้อควรรู้
ก่อนเป็น
FUNCTIONAL
FOODS

March 2019
2 Krungthai Macro Research

Foreword >>
การแข่ งขั น ในโลกธุ รกิ จที่ ท ว ีความรุ น แรงขึ้น ทาให้ ก าไรของธุ รกิ จที่ เ น้ น
Mass market มีแนวโน้มลดลง ไม่เว้นแม้ แต่ธุรกิจอาหาร ซึ่งเป็นธุรกิจที่
ผู้ประกอบการรายใหม่ เข้ามาแข่งขันได้ง่าย จึงมี คาถามว่า แล้ว SMEs ใน
ธุ ร กิ จอาหารจะปรับตั ว เพื่ อ สร้า งมู ล ค่ า เพิ่ ม และสร้า งความแตกต่ า งกั บ
คู่แข่งในตลาดได้อย่างไร

บทความนี้นาเสนอ Functional Foods ซึ่งเป็นหนึ่งในอาหารแห่งอนาคตที่


ภาครัฐ ต้ อ งการส่ง เสร ิม และเป็ นทางเลื อกที่ น่า สนใจของผู้ ป ระกอบการ
SMEs ใ น ก า ร ย ก ร ะ ดั บ ไ ป สู่ ธุ ร กิ จ อา ห า ร ที่ มี มู ลค่ า เ พิ่ ม สู ง ขึ้ น ทั้ ง นี้
Functional Foods มี นิยามที่ แตกต่างกันในแต่ละประเทศ แต่โดยทั่ วไป
หมายถึง ผลิตภัณฑ์อาหารที่ทาหน้าที่เฉพาะเจาะจงในการส่งเสร ิมสุขภาพ
ด้ า นต่ า ง ๆ เพิ่ ม เติ ม จากคุ ณ ประโยชน์ ท างโภชนาการของอาหารทั่ ว ไป
ที่สาคัญ คือ การยังคงสภาพเป็นอาหาร ไม่ใช่แคปซูลหร ือเป็นผงเหมือนยา
และไม่มีข้อจากัดในการบร ิโภค

สาหรับประเทศไทย ตลาด Functional Foods มีขนาดประมาณ 68,000


ล้ า นบาท โดยมี ลัก ษณะเป็ น Niche market เพื่ อตอบสนองพฤติ ก รรม
ผู้บร ิโภคเฉพาะกลุ่ม เช่น ผู้ ออกกาลังกาย ผู้ใส่ใจความงาม จึงเป็นโอกาส
ของผู้ประกอบการ SMEs ในการเข้าไปเจาะตลาดซึ่งผู้ประกอบการรายใหญ่
ยังเข้ าไม่ ถึง หร ือยังไม่ มีผู้ป ระกอบการรายใดเป็น ผู้ นาตลาดอย่ างชั ดเจน
นอกจากนี้ ผู้บร ิโภคในกลุ่มนี้มักให้ความสาคัญกับคุณค่าและประโยชน์ของ
สารอาหารที่ได้รบ
ั มากกว่าปัจจัยทางด้านราคา

เราแนะนาให้ผู้ประกอบการที่ต้องการก้าวเข้าสู่ธุรกิจ Functional Foods


เรมิ่ จากการศึกษาเทรนด์ตลาดในแต่ละกลุ่ม โดยอาจเรมิ่ จากอาหารกลุ่มที่
ให้ พลังงานสูง กลุ่มควบคุมน้าหนั ก และกลุ่มเสร ิมภูมิคุ้มกั น และควรทา
ความรูจ
้ ักกับ Enablers ที่สาคัญได้แก่ 1) ผู้ผลิต Functional Ingredients
และ 2) หน่วยงานว ิจัยจากภาครัฐหร ือสถาบันการศึกษา ซึ่งเราได้รวบรวมไว้
บางส่ ว นในบทความนี้ เพื่ อให้ ส ามารถว จิ ั ย และพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี
คุณภาพตรงความต้องการของตลาดได้ง่ายขึ้น

พชรพจน์ นันทรามาศ อภินันทร์ สู่ประเสริฐ


เผยแพร่: มีนาคม 2019

Disclosures : This report is not intended to provide the basis for any evaluation of the financial instruments discussed
herein. The information was obtained from various sources; we do not guarantee its accuracy or completeness. In
particular, information provided herein should be regarded as indicative, preliminary and for illustrative purposes
only. There is no representation that any transaction can execute at such terms or price.
Information provided in this report is not intended to constitute legal, tax or accounting advice in relation to entering
into any transaction and does not have regard to the particular needs of any specific person who may receive this
report. Clients should consult their own financial advisors regarding the appropriateness of investing in any
investment strategies discussed or recommended in this report and should understand that statements regarding
future prospects may not be realized. While all information this presentation has been produced or compiled from
sources believed to be reliable, the Bank makes no representation as to its accuracy or completeness.
3 Krungthai Macro Research

Content >>
Section1
Functional Foods คืออะไร?

Section2
ทำไมกำรยกระดับมำเป็น Functional Foods
ถึง น่ำสนใจ?

Section3
ในกำรยกระดับจำก Basic Foods
มำเป็น Functional Foods ต้อง
เตรียมตัวอย่ำงไร? รูจ
้ ก
ั ใครบ้ำง?

Background photo created by freepik


3
Krungthai Macro Research

ข้อควรรู้
ก่อนเป็น
FUNCTIONAL FOODS
1.Functional Foods คืออะไร? 2.ทำไม Functional Foods
ถึงน่ำสนใจ?

3X
อาหารเสริมสุขภาพเฉพาะด้านที่
เพิ่ ม สารอาหารที่เป็นประโยชน์

โปรตีน Profit อัตรากาไร


สูงกว่ำ
วิตามิน คอลลาเจน Basic Foods

Trend กาลังเติบโต
หรือ
Milk จากเทรนด์
สุขภำพ
น้าตาล โซเดียม

เกลือ
Opportunity $ Niche Market
ทาให้มี
โอกำส
ลด สารอาหารที่เป็นประโยชน์น้อย ทางธุรกิจอีกมาก

3.ควรรูจ้ กั ใครบ้ำง?

หน่วยงานรัฐและมหาวิทยาลัย บริษัท Functional Ingredients


ให้คาแนะนาด้าน R&D ให้คาแนะนาด้าน สารอาหาร
- รสชาติ - เทรนด์ตลาด
- การรักษาคุณสมบัติของสารอาหาร - พั ฒนาผลิตภัณฑ์
- ได้มาตรฐาน
Vectors graphics designed by freepik
5 Krungthai Macro Research

3 ประเด็นที่ต้องรูห
้ ากต้องการก้าวสู่ธุรกิจ
Functional Foods
Background photo created by freepik

ตลาด Functional Foods จะเป็นโอกาสหนึ่ งของ SMEs


ในการยกระดับไปสู่ธุรกิจอาหารที่มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งจะ
ช่วยสร้างความแตกต่างกั บคู่แข่งในตลาด และเพิ่ มอัตรา
ก าไรให้ กั บ ผู้ ป ระกอบการ ซึ่ ง ในบทความนี้ จ ะน าเสนอ
3 ประเด็ นที่ ผู้ประกอบการควรรู ้ ก่อนที่ จะเข้ามาในธุรกิ จ
Functional Foods ที่ จ ะเป็ น ตั ว ช่ ว ยให้ ผู้ ป ระกอบการ
ประสบความสาเร็จในตลาดนี้ได้ง่ายขึ้น
6 Krungthai Macro Research

1
Functional Foods คืออะไร?
ในโลกของอาหารแห่ ง อนาคต (Future Food) อาจจ าแนกระดั บ การสร้า ง
มู ลค่ าเพิ่ มในผลิ ตภั ณฑ์ อาหารออกเป็ น 3 กลุ่ ม คื อ Basic Foods, Functional
Foods แล ะ Medical Foods ซึ่ งก่ อนที่ ผู้ ป ระกอบการ จะก้ า วเข้ าสู่ ต ลาด
Functional Foods ควรเข้ า ใจลั ก ษณะเฉพาะของผลิ ต ภั ณ ฑ์ Functional
Foods เพื่อที่จะนามาปรับใช้กับสินค้าของตนเองได้อย่างเหมาะสม และเพื่ อให้
เข้ า ใจตลาดนี้ ม ากขึ้ น ในบทความส่ ว นนี้ จะอธิ บ ายนิ ย าม รวมทั้ ง ยกตั ว อย่ า ง
เปร ียบเทียบในแต่ละกลุ่มผลิตภัณฑ์ ดังนี้

ภำพที่ 1 ความแตกต่างของ Basic Foods Functional Foods และ Medical Foods


TYPE DESCRIPTION TARGET

MEDICAL คาแนะนาแพทย์
PATIENT
FOODS

สารอาหารที่เป็นประโยชน์

Vitamin Protein Collagen

FUNCTIONAL NICHE
FOODS
น้าตาล เกลือ โซเดียม

สารอาหารที่ประโยชน์น้อย

BASIC
MASS
FOODS

ที่มา : วิเคราะห์และรวบรวมข้อมูลโดย Krungthai Macro Research


Background photo & Vectors graphics created by freepik
7 Krungthai Macro Research

จากภาพที่ 1 Basic Foods เป็นอาหารที่ให้สารอาหารขั้นพื้ นฐานที่รา่ งกายต้องการ


จึงทาให้ผู้บร ิโภคทุกเพศ ทุกช่วงอายุ สามารถรับประทานได้ เช่น นม ขนมปัง และ
เคร่ อื งดื่ ม ข ณะที่ Functional Foods เป็ น อ าหารที่ ให้ คุ ณ ค่ าทางอ าหาร
เฉพาะเจาะจง เช่น ผู้ที่ออกกาลั งกายมี ความต้ องการสารอาหารจาพวกโปรตี น
เพื่ อสร้างกล้ามเนื้ อ ดั งนั้ น นม High Protein จึงเป็น Functional Foods ที่
ตอบสนองความต้ อ งการผู้ บ ร ิโภคกลุ่ ม นี้ ส่ ว น Medical Foods เป็ น อาหารที่
เหมาะสาหรับผู้ ป่วย ที่ ควรได้ รบ
ั คาแนะนาจากแพทย์ ตั วอย่างเช่น นมสาหรับ
ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ที่ทาหน้าที่ควบคุมปร ิมาณน้าตาลในเลือด เป็นต้น

Functional Foods1 มี นิ ย ามที่ แ ตกต่ า งกั น ในแต่ ล ะประเทศ แต่ โ ดยทั่ ว ไป


หมายถึ ง ผลิ ตภั ณฑ์ อาหารที่ ทาหน้ าที่ เฉพาะเจาะจงในการส่ งเสร ิมสุ ขภาพด้ าน
ต่าง ๆ เพิ่ มเติมจากคุณประโยชน์ ทางโภชนาการของอาหารทั่วไป (Basic Foods)
โดยเป็นการเพิ่มสารอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย หร ือบางงานว ิจัยครอบคลุม
ไปถึงการลดสารอาหารที่เป็นประโยชน์น้อยออกไป เช่น น้าตาล เกลือ

ลักษณะของ Functional Foods คือ


• มีสภาพทางกายภาพเป็นผลิตภัณฑ์อาหาร คือ ไม่อยูใ่ นรูปแคปซูล หรอเป็
ื น
ผงเหมือนยา และเป็นอาหารที่ได้หร ือดัดแปลงจากวัตถุดิบธรรมชาติ

• สามารถบร ิโภคเป็นอาหารประจาวัน ไม่ มีข้อจากัด เหมื อนยา หร ือบร ิโภคได้


ไม่จากัดปร ิมาณ และเวลา

• มีส่วนประกอบของสารอาหารที่ให้ผลโดยตรงในการทางานของระบบต่าง ๆ
ในร่างกาย

ซึ่ ง จากนิ ย ามดั ง กล่ า วข้ า งต้ น ท าให้ Functional Foods ต่ า งจาก Basic
Foods ซึ่ งเป็ น อาหารทั่ วไป ในขณะที่ Medical Foods ซึ่ งเป็ น อาหารทาง
การแพทย์ที่ควรใช้ตามคาแนะนาของแพทย์ ซึ่งแม้ไม่มีคุณสมบัติในการรักษาโรค
โดยตรง แต่ช่วยเพิ่ มประสิ ทธิภาพในการรักษา หร ือบรรเทาอาการของโรค เช่น
ผู้ ที่ เป็ น เบาหวาน ผู้ ที่ มี ภ าวะขาดสารอาหารรุ น แรง หร ือผู้ ต้ อ งการสารอาหาร
เพิ่ มขึ้ นหลั ง ผ่ า ตั ด และแม้ ธุ ร กิ จ Medical Foods จะเป็ น อี ก Sub-Sector
ที่ น่ า สนใจ เนื่ องจากเป็ น สิ น ค้ า ที่ มี มู ล ค่ า เพิ่ ม สู ง กว่ า ธุ ร กิ จ Basic Foods และ
Functional Foods รวมทั้ ง มี ผู้ ป ระกอบการรายใหม่ เ ข้ า มาแข่ ง ขั น ได้ ย ากกว่ า
แต่ เนื่ องจากเป็นธุ รกิ จ ที่ ต้อ งใช้ เทคโนโลยี และ R&D ขั้ น สู ง จึงยั งเป็ นข้ อ จากั ด
ของผู้ประกอบการ SMEs ในการเข้าสู่ตลาด ดังนั้ น การยกระดับของ SMEs จาก
ธุรกิจ Basic Foods ไปสู่ธุรกิจ Functional Foods จึงมีโอกาสมากกว่า

1จากบทความเรื่องผลิตภัณฑ์อาหารเพื่ อสุขภาพ.ของ ดร.ไพโรจน์ หลวงพิ ทักษ์ ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์


มหาวิทยาลัยมหิดล (2009)
8 Krungthai Macro Research

Functional Foods ในชีวต


ิ ประจำวัน?
นม : นมที่เป็น Functional Foods จะเพิ่มสารอาหารที่มีประโยชน์ หร ือลดสารอาหาร
บางประเภทเพื่ อตอบโจทย์ผู้บร ิโภคเฉพาะกลุ่ม อาทิ นม High Protein สาหรับ
ผู้ ที่ อ อกก าลั ง กายเป็ น ประจ า และต้ อ งการสร้า งกล้ า มเนื้ อ นม Lactose Free
สาหรับผู้แพ้นมวัว หร ือโยเกิรต
์ ไขมั นต่าผสมคอลลาเจน สาหรับผู้ที่ต้องการดูแล
น้ า หนั ก และบารุ ง ผิ ว พรรณ ขณะที่ Basic Foods ยั ง เป็ น การชู จุ ด ขายพื้ นฐาน
ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ น ม ซึ่ ง เป็ น แหล่ ง โปรตี น และแคลเซี ย มเพี ย งอย่ า งเดี ย ว ส่ ว น
Medical Foods จะเป็นนมผงสาหรับผู้ป่วยที่ เป็นโรคเบาหวาน ซึ่งต้องควบคุม
ระดับน้าตาลในเลือด

Protein

Basic Foods Functional Foods Medical Foods


นม นมเพิ่ มโปรตีน นมสาหรับผู้ป่วยเบาหวาน

รู้หรือไม่ บร ิษัท Start Up ชื่อ Sleep Well เห็น Pain Point ในกลุ่มนักเดินทาง
และนั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ มั ก นอนไม่ ห ลั บ เมื่ ออยู่ ใ นสภาพแวดล้ อ มของการนอนที่ ไ ม่ คุ้ น เคย เช่ น บน
เคร่อื งบิน หร ือโรงแรม ทาให้พักผ่อนไม่เพียงพอและอาจเกิดเป็นความเคร ียด จึงได้คิดค้นผลิตภัณฑ์
นมกลิ่ น วนิ ล าที่ มี ส่ ว นผสมของน้ า ผึ้ ง และวาเลอเร ยี่ น ซึ่ ง เป็ น สมุ น ไพรที่ มี คุ ณ สมบั ติ ช่ ว ยในการ
ผ่อนคลายและช่วยให้ นอนหลับได้ง่าย หร ือ โทฟุ ซัง ซึ่งเป็นผู้ ประกอบการ SMEs ไทยที่ เป็นเจ้าแรก ๆ
ของนมถั่วเหลืองแบบพาสเจอไรส์ และได้ มีการพั ฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ เพื่ อตอบโจทย์ผู้บร ิโภคเฉพาะ
กลุ่มมากขึ้ น เช่น การเพิ่ มโปรตี น หร ือ การเพิ่ มงาดาซึ่งมี แคลเซียมสู ง ส่ ง ผลให้ ปัจจุ บัน โทฟุ ซัง มี
ส่วนแบ่งตลาดเป็นอันดับต้น ๆ ในตลาดนมถั่วเหลืองแบบพาสเจอไรส์ หร ือ บร ิษัท แดรโี่ ฮม ที่ มีการ
ว ิจัยและพั ฒนาผลิตภัณฑ์นม Bed Time Milk ซึ่งมี ระดับสารเมลาโทนิ นธรรมชาติสูง ช่วยให้นอนหลับ
สนิท ซึ่งปัจจุบันวางจาหน่ายในห้างสรรพสินค้า และซูเปอร์มาร์เก็ตชั้นนาของไทย

Vectors graphics designed by freepik


9 Krungthai Macro Research

ลูกอม : เน้นผลิตภัณฑ์ที่ปราศจากน้าตาล หร ือใช้สารแทนความหวานเป็นส่วนผสมแทน


หมำกฝรัง่ น้าตาล รวมทั้งการเพิ่มสารสกัดที่มีสารอาหารที่มีประโยชน์ เช่น ช็อกโกแลตที่มี
และช็อกโกแลต ส่ ว นผสมของโปรไบโอติ ก รวมทั้ ง ว ิตามิ น และแร่ธ าตุ ต่ าง ๆ เพื่ อตอบโจทย์
ผู้บร ิโภคที่ต้องการดูแลสุ ขภาพในเร่ อื งการย่อยและระบบขับถ่าย ขณะที่ Basic
Foods ยังเน้นเฉพาะความหลากหลายของรสชาติและวัตถุดิบ

Probiotic

Basic Foods Functional Foods


ช็อคโกแลต ช็อคโกแลตเพิ่ มโปรไบโอติก

รูห
้ รือไม่ บร ิษัท Morinaga ในญี่ปุ่น คิดค้นนวัตกรรมลูกอม Shield Lactic Acid Bacteria
ที่ ช่ ว ยป้ อ งกั น เชื้ อ แบคที เร ียที่ เป็ น สาเหตุ ข องโรคหวั ด เพื่ อทดแทนการใช้ ผ้ า ปิ ด ปากและช่ ว ยเพิ่ ม
ภูมิ ต้า นทานให้ กับ ร่า งกาย เนื่ อ งจากเห็ นโอกาสทางการตลาดจากการที่ คนญี่ ปุ่ นส่ วนใหญ่ ท างาน
หนัก ส่งผลให้รา่ งกายอ่อนแอ จึงนิยมใช้ผ้าปิดปากเพื่อป้องกันเชื้อแบคทีเร ียต่าง ๆ เข้าสู่รา่ งกาย

ซีเรียล : เป็นการอบแห้งเมล็ดธัญพืชที่มีประโยชน์หลายชนิด แล้วใส่สารอาหารที่มีประโยชน์


เพิ่มเติม เช่น ว ิตามิน และโปรไบโอติค ขณะที่ผู้ประกอบการ Basic Foods ใน
กลุ่มนี้จะเป็นผลิตภัณฑ์ธัญพืชที่แปรรูปขั้นต้น ทาให้ยังไม่มีมูลค่าเพิ่มมากนัก

Probiotic

Basic Foods Functional Foods


ซีเรียล ซีเรียลเพิ่ มโปรไบโอติก

รูห
้ รือไม่ ในช่วงปลายปี 2018 บร ิษัท Kellogg’s ได้ออกผลิตภัณฑ์ซีเร ียลแบบ 3 In 1 ซึ่งมี
ส่วนผสมทั้ งพร ีไบโอติกส์ โปรไบโอติกส์ และไฟเบอร์อยู่ด้วย เพื่ อขยายตลาดลูกค้าที่ ให้ ความสาคั ญกั บระบบ
การย่ อ ยอาหารโดยเฉพาะ ซึ่ งช่ ว ยสร้ า งความแตกต่ างจากซี เร ยี ลทั่ วไปในท้ องตลาด ที่ ปั จ จุ บั น
มีการแข่งขันกันอย่างรุนแรง

Vectors graphics designed by freepik


10 Krungthai Macro Research

ขนมปัง : เพิ่มคุณค่าของสารอาหารเพิ่มเติมในขนมปัง เช่น การผสมแคลเซียมและว ิตามิน


ในขนมปัง ซึ่งมีคุณค่าทางอาหารสูง ขณะที่ Basic Foods จะเป็นขนมปังแผ่น
และขนมปังใส่ไส้ท่ัวไป

Vitamins

Basic Foods Functional Foods


ขนมปัง ขนมป้งเพิ่ มวิตามิน

รู้ห รือ ไม่ ในปี 2015 แบร นด์ Marks and Spencer มี การ เพิ่ ม ว ติ ามิ น D ใน
ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข นมปั ง เนื่ องจากเล็ ง เห็ น ว่ า ผู้ บ ร ิโภคชาว UK ถึ ง 78% กั ง วลว่ า จะไม่ ไ ด้ ร ับ ว ิตามิ น ที่
เพียงพอในแต่ละวัน

เครื่องดื่ม : การเติ ม สารอาหารหร ือสารสกั ด ที่ มี ป ระโยชน์ ล งในเคร่ อื งดื่ ม เพื่ อตอบสนอง
ลูกค้ าเฉพาะกลุ่ ม เช่น น้าผลไม้ ผสมกรดอะมิ โ นจาเป็น เช่น น้าผลไม้ ผสมสาร
ลิ ว ซี น (leucine) และคร ีเอที น (Creatine) เพื่ อเสร ิมสร้า งกล้ า มเนื้ อ และ
ลดอาการบาดเจ็ บ จากการออกก าลั ง กาย ขณะที่ Basic Foods ในกลุ่ ม นี้
ส่วนใหญ่เป็นการผลิตน้าดื่ม หร ือผักผลไม้ท่ัวไป

Amino

Basic Foods Functional Foods


เครื่องดื่ม เครื่องดื่มเพิ่ มกรดอะมิโน

รู้ ห รื อ ไม่ Tech Startup ใ น ไ ท ย ที่ โ ฟ กั ส ด้ า น Food Biotechnology อ ย่ า ง


JuiceInnov8 มีการว ิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการลดน้าตาล (Sugar Reduction Technology) ใน
น้าผลไม้ 100% หร ือ บร ิษั ท เว ิลด์คลาสนิ วทร ิชั่น จากั ด ที่ว ิจัยและพั ฒนาสู ตรเคร่ อื งดื่ มให้ พลั งงาน
ชื่อ ดีเวอร์ เอนเนอร์จี้ เจล ที่มีส่วนประกอบจากสารอาหารจากธรรมชาติ 100% ที่ช่วยเสร ิมร่างกาย
นักกีฬาและผู้ที่ออกกาลังกายให้ดูดซึมได้ง่าย และเปลี่ยนเป็นพลังงานในร่างกายได้รวดเร็ว ซึ่งสินค้า
ดังกล่าวกลายเป็นกระแสไวรัลจากการนาไปใช้ฟ้ ืนฟู รา่ งกายให้นักฟุ ตบอลและโค้ชทีมหมู ป่า อะคาเดมี่
ที่อดอาหารเป็นเวลานาน
Vectors graphics designed by freepik
11 Krungthai Macro Research

ขนมปังกรอบ : เพิ่มสารอาหารที่มีประโยชน์ เช่น ขนมปังกรอบผสมผลไม้หร ือธัญพืชต่าง ๆ หร ือ


สแน็คบำร์ ผลิตเป็นสแน็คบาร์ที่มีโปรตีนสูง เพื่อให้สอดคล้องกับพฤติกรรมผู้บร ิโภคที่เร่งร ีบ
แต่ ยั ง ต้ อ งการเสร ิมสร้า งกล้ า มเนื้ อ ขณะที่ Basic Foods ในกลุ่ ม นี้ จ ะเป็ น
ผลิตภัณฑ์ขนมปังกรอบ ซึ่งมีส่วนผสมของแป้งและน้าตาลเป็นหลัก

Protein

Basic Foods Functional Foods


สแน็คบาร์ สแน็คบาร์เพิ่ มโปรตีน

รูห
้ รือไม่ บร ิษัท Exo เป็นบร ิษัท สตารท์อัพในอเมร ิกาออกผลิตภัณฑ์โปรตีนบาร์ที่
ผลิ ตจากจิ้ ง หร ีดซึ่ง มี โปรตี น สู ง โดยบร ิษั ท สามารถระดมทุ นจากนั ก ลงทุ นได้ 4 ล้ า นดอลลาร์สรอ.
(130 ล้ า นบาท) ในปี 2016 ขณะที่ บ ร ิษั ท BugMo ในญี่ ปุ่ น ก็ เ ปิ ด ตั วโปรตี น บาร์เ พื่ อสุ ข ภาพโดยใช้
โปรตีนจากผงจิ้งหร ีดบดละเอียดภายใต้ช่ ือ 'BugMo Cricket Bar' สาหรับผู้ที่เล่นกีฬาและผู้ที่ออก
กาลังกายเป็นประจา

Vectors graphics designed by freepik


12 Krungthai Macro Research

2
ทำไมกำรยกระดับมำเป็น Functional Foods
ถึง น่าสนใจ?
Krungthai Macro Research มองว่า Functional Foods จะช่วยยกระดับไปสู่
อาหารที่มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ทาให้มีอัตรากาไรที่ดีกว่า Basic Foods ขณะที่ตลาดซึ่ง
กาลั ง เติ บโตจากการให้ ความส าคั ญกั บการมี สุ ขภาพที่ ดี (Health & Wellness)
ของผู้ บ ร ิโภคในยุ ค ปั จ จุ บัน และแนวคิ ด ที่ ว่ า การป้ อ งกั น โรคดี ก ว่า การรัก ษาโรค
นอกจากนี้ ยังมีช่องว่างทางการตลาดอีกมาก จากการที่ตลาดมีลักษณะเป็น Niche
market เพื่ อตอบสนองพฤติ ก รรมผู้ บ ร ิโภคเฉพาะกลุ่ ม มาก ขึ้ น รวมไปถึ ง
Functional Foods เป็นหนึ่งในอุตสาหกรรม S-Curve ที่ภาครัฐให้การสนั บสนุ น
โดยเฉพาะผู้ประกอบการ SMEs จึงเป็นโอกาสของผู้ประกอบการในการเข้าไปเจาะ
ตลาดซึ่งผู้ประกอบการรายใหญ่ยังเข้าไม่ ถึง และยังไม่ มีผู้ประกอบการรายใดเป็น
ผู้นาตลาดอย่างชัดเจน
13 Krungthai Macro Research

1. เพรำะ Functional Foods ช่วยยกระดับไปสู่อำหำรที่มี


มูลค่ำเพิ่ มสูงขึ้น ทำให้มีอต
ั รำกำไรที่ดีกว่ำ Basic Foods
Krungthai Macro Research มองว่า Functional Foods จะเป็นโอกาสของ
SMEs เนื่ องจากจะช่ว ยยกระดั บ ไปสู่ อาหารที่ มีมูล ค่ า เพิ่ มสู ง ขึ้ น ทั้ งยัง ช่ว ยสร้า ง
ความแตกต่ า งจากคู่ แ ข่ ง และลดการแข่ ง ขั น ที่ รุ น แรงในตลาด Basic Foods
นอ กจากนี้ ยั ง ช่ ว ยเพิ่ มอั ตราก าไร ให้ กั บธุ ร กิ จ โดย พ บว่ า อั ต ราก าไรข อ ง
ผู้ ป ระกอบการในต่ า งประเทศที่ ท าธุ ร กิ จ Functional Foods จะสู ง กว่ า ธุ ร กิ จ
Basic Foods ถึ งเกือบ 3 เท่ า2 โดยผู้ประกอบการ Basic Foods จะมี อัตรากาไร
เฉลี่ ยอยู่ที่ 2.8% ขณะที่ ผู้ประกอบการ Functional Foods จะมี อัตรากาไรเฉลี่ ย
สูงถึง 7.3%

ภำพที่ 2 อัตรากาไรของผู้ประกอบการในต่างประเทศที่ทาธุรกิจ Functional Foods จะสูงกว่าธุรกิจ Basic


Foods ถึงเกือบ 3 เท่า

“ 3X “
7.3%

2.8%

Functional foods basic foods


ที่มา : วิเคราะห์โดย Krungthai Macro Research โดยใช้ข้อมูลอัตรากาไรสุทธิเฉลี่ย 5 ปีย้อนหลัง จาก www.reuters.com

นอกจากนี้ จะเห็ น ได้ ว่ า ในตลาด Functional Foods มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ห ลากหลาย


ประเภทเพื่ อตอบสนองกลุ่ม ลูกค้ า ที่ ต่างกั น และในแต่ ล ะประเภทนั้ นก็ มี ร าคาที่
แตกต่ างกั น ไป สะท้ อ นให้ เห็ นว่ า เทรนด์ ข องตลาดมี ผลต่ อราคาผลิ ตภั ณฑ์ เช่ น
ผลิ ตภั ณฑ์ นม กลุ่ มนมไขมั น 0% ที่ มีราคาแทบไม่ แตกต่ างจากนมพร้อมดื่ มทั่ วไป
คือ 27 บาท/กล่อง ในขณะที่นม High Protein มี ราคาสูงกว่านมพร้อมดื่มทั่วไป คือ
อยู่ที่ 63 บาท/กล่อง

ภำพที่ 3 เปรียบเทียบราคานมแต่ละประเภท
ราคาต่อกล่อง: บาท

BASIC FUNCTIONAL
63
40 50
27 27

นม นมไขมัน 0% Lactose Free นมทีทาให้หลับง่าย High Protein

ที่มา : วิเคราะห์โดย Krungthai Macro Research


หมายเหตุ : สารวจจากนมยี่ห้อ ดัชมิลล์ และ Dairy home แต่เนื่องจากในท้องตลาดผลิตภัณฑ์แต่ละประเภทมีปริมาตรที่
แตกต่างกัน เพื่ อให้สามารถเปรียบเทียบราคาได้ Krungthai Macro Research จึงคานวณราคาต่อกล่องที่ปริมาตร 350
มิลลิลิตร
2กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการคานวณมาจากบริษัทที่ทาธุรกิจอาหารรายใหญ่ของโลกจานวน
10 บริษัท ประกอบด้วยบริษัทที่ทาธุรกิจ Functional
Fooods ได้แก่ Danone ,Grupo Bimbo, PepsiCo ,Kellogg ,Nestle และบริษัทที่ทาธุรกิจ Basic Foods ได้แก่ Tyson Foods ,JBS
,Cargill ,Pilgrim's Pride ,Kraft Heinz
14 Krungthai Macro Research

ดังนั้น ผู้ประกอบการควรศึกษาเทรนด์ ตลาดด้ วย เนื่ องจากความเต็มใจที่ จะจ่าย


(Willingness to Pay) ของผู้บร ิโภค Functional Foods มีความแตกต่างกันใน
แต่ละผลิตภัณฑ์ โดยพบว่า ผลิตภัณฑ์ที่ตอบสนองความต้องการของคนกลุ่มใหญ่
(Mass) เช่ น นมไขมั น ต่า หร ือ ขนมปั งเสร ิมว ิตามิ น จะมี ร าคาไม่ แ ตกต่ า งจาก
Basic Foods มากนั ก ในทางกลั บ กั น อาหารที่ ต อบสนองของผู้ บ ร ิโภคที่ ค วาม
ต้องการเฉพาะกลุ่ม (Niche) เช่น โปรตีนบาร์ หร ือ นม High protein เป็นกลุ่มที่มี
ราคาสู งกว่า Basic Foods มากถึ ง 200–400% การพิ จารณาความต้ องการของ
ตลาดจึ ง เป็ น สิ่ ง ส าคั ญ ที่ จ ะท าให้ ผู้ ป ระกอบการมี โ อกาสประสบความส าเร็จ ใน
ตลาด Functional Foods มากขึ้น

ภำพที่ 4 ความเต็มใจที่จะจ่าย (Willingness To Pay) ของผู้บริโภคใน Functional Foods


Vectors graphics designed by freepik

เทียบราคา Functional Foods กับ


Basic Foods ใน Category เดียวกัน
238%

โปรตีนบาร์
Functional นม High
Foods 187%
183% Protein
ราคาสูงกว่า
Basic Foods 151%

ขนมปัง
ผสมธัญพื ช
นมช่วยการนอนหลับ
นม Lactose free

ราคา
100% 112%
ใกล้เคียงกัน 100%

ขนมปังเสริม
นม Low fat วิตามิน
BASIC FOODS

MASS NICHE

ที่มา : วิเคราะห์โดย Krungthai Macro Research


15 Krungthai Macro Research

2. เพรำะตลำด Functional Foods กำลังเติบโต


จากการให้ความสาคัญกับการมีสุขภาพที่ดี (Health& Wellness) ของผู้บร ิโภค
ในยุคปัจจุบัน และแนวคิดที่วา่ การป้องกันโรคดีกว่าการรักษาโรค จากค่าใช้จ่ายใน
การรัก ษาโรคที่ มี ร าคาสู ง 4 ท าให้ ผู้ บ ร ิโภคมองหาอาหารที่ ช่ ว ยเสร ิมสุ ข ภาพ
เฉพาะด้ า นมากขึ้ น ส่ ง ผลดี ต่ อ การเติ บ โตของตลาด Functional Foods โดย
Euromonitor ประเมิ นว่าตลาด Functional Foods ของโลกมี มูลค่าประมาณ
1.8 แสนล้ านดอลลาร์สรอ. และคาดว่าในปี 2018-2022 จะเติ บโตเฉลี่ ยปีละ 5%
สาหรับไทยคาดว่าตลาด Functional Foods ยังมี ศักยภาพในการเติบโตได้อีกมาก
ซึ่ ง Euromonitor ประเมิ นว่ า มู ล ค่ า ตลาด Functional Foods ในไทยอยู่ ที่
ประมาณ 68,000 ล้านบาท และคาดว่าในปี 2018-2022 จะเติบโตเฉลี่ยประมาณ
ปีละ 4%

ภำพที่ 5 พฤติกรรมของผู้บริโภคทั่วโลกกาลังมองหาอาหารที่ช่วยเสริมสุขภาพเฉพาะด้าน

ประเทศพั ฒนาแล้ว ประเทศไทย


32% ของผู้บริโภคใน 81% ของผู้บริโภคใน
สหภาพยุโรปมองว่าปริมาณ เมืองใหญ่บริโภค
คอลเลสตอรอลในอาหารมี Functional Foods
ผลมากต่อการตัดสินใจซื้อ and Drinks อย่างน้อย
(Nielsen) 1 ครัง
้ ต่อสัปดาห์
(สถาบันอาหาร)
46% ของผู้บริโภค
น้าผลไม้ในสหรัฐฯ อยากให้
เพิ่ มสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อ 79% ของผู้บริโภค
สุขภาพเพิ่ มเติม ในเมืองใหญ่ต้องการมี
(สถาบันอาหาร) โภชนาการที่ดีขึ้น
(Mintel, 2018)
ประเทศกาลังพั ฒนา
53% ของผู้บริโภค 38% ของผู้บริโภค
ชาวจีนที่มีบุตรตั้งแต่อายุ คนไทยมองหาผลิตภัณฑ์
4-12 ปี ต้องการซื้ออาหาร อาหารเพื่ อบารุงสมอง
และเครื่องดื่มที่ช่วยเสริม (Mintel, 2018)
พั ฒนาการทางสมอง
(Mintel, 2019)

ที่มา : รวบรวมข้อมูลจากสถาบันอาหาร, Nielsen 2015, Mintel 2018

4จากการสารวจค่าใช้จ่ายในการรักษาโรคโดยประมาณในโรงพยาบาลเอกชน พบว่า โรคมะเร็งระยะลุกลาม (ผ่าตัดใหญ่มะเร็ง + เคมีบาบัด)


มีค่า ใช้ จ่ ายในการรัก ษา 900,000 บาท โรคหั วใจ (การผ่ าตั ดเปลี่ ย นลิ้ น หั วใจ ท าทางเบี่ ย งหลอดเลื อ ดหั ว ใจ) มีค่ าใช้ จ่ายในการรักษา
900,000-1,200,000 บาท หรือโรคกรดไหลย้อน (การผ่าตัดหูรูดกระเพาะอาหาร) มีค่าใช้จ่ายในการรักษา 80,000-100,000 บาท
16 Krungthai Macro Research

นอกจากนี้ ผู้บร ิโภคที่ใส่ใจในสุขภาพส่วนใหญ่ยังไม่สามารถเชื่อมโยงได้ว่า อาหาร


แต่ ละประเภทมี ส่ วนประกอบของสารอาหารที่ ให้ผลโดยตรงในการทางานของ
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายอย่างไร สะท้อนว่า Functional Foods อาจสามารถเข้าถึง
ผู้บร ิโภคที่ ใส่ ใจสุ ขภาพได้ มากกว่า Basic Foods โดยจากรายงาน Food and
Health Survey 2018 ของ The International Food Information Council
(IFIC) พบว่ า มี ผู้ บร ิโภคในสหรัฐ ฯ เพี ย ง 4 คน ใน 10 คน ที่ รู ้ว่ า อาหารแต่ ล ะ
ประเภทมี ส่วนประกอบของสารอาหารที่ ให้ ผ ลโดยตรงในการท างานของระบบ
ต่าง ๆ ของร่างกาย

ภำพที่ 6 มีผู้บริโภคไม่ถึงครึ่งที่รูว้ า่ อาหารแต่ละประเภทมีส่วนประกอบของสารอาหารที่ให้ผลโดยตรงในการ


ทางานของระบบต่าง ๆ ของร่างกาย

38%
รูว้ า่ อาหารแต่ละ
ประเภทมีสารอาหาร
อะไร

ที่มา : Food and Health Survey 2018 ของ The International Food Information Council (IFIC)
17 Krungthai Macro Research

3. Functional Foods มีท่ีวำ่ งในตลำดให้จบ


ั จองอีกมำก
Krungthai Macro Research มองว่า ตลาด Functional Foods ยังมี ช่องว่าง
ทางการตลาดอีกมาก เนื่องจากเป็นตลาดที่ มี ลักษณะเป็น Niche market เพื่ อ
ตอบสนองพฤติ ก รรมผู้ บ ร ิโภคเฉพาะกลุ่ ม จึ ง เป็ น โอกาสของผู้ ป ระกอบการ
SMEs ในการเข้าไปเจาะตลาดซึ่งผู้ประกอบการรายใหญ่ยังเข้าไม่ ถึง และยังไม่ มี
ผู้ ป ระกอบการรายใดเป็ น ผู้ น าตลาดอย่ างชั ด เจน อี ก ทั้ ง เนื่ องจากผู้ บ ร ิโภคใน
กลุ่ ม นี้ ใ ห้ ค วามส าคั ญกั บ คุ ณ ค่ า และประโยชน์ ข องสารอาหารที่ ไ ด้ ร ับ มากกว่ า
ปัจจัยทางด้ านราคา จึงยอมจ่ายในราคาที่ แพงกว่า ท าให้ ผู้ประกอบการ SMEs
สามารถหลีกเลี่ยงการแข่งขันด้านราคากับผู้ประกอบการรายใหญ่ได้

ห า ก ดู แ น ว โ น้ ม จ า ก ร า ย ง า น Food and Health Survey 2018 ข อ ง The


International Food Information Council (IFIC) จ ะ พ บ ว่ า Health
Benefits จากอาหาร 3 อันดับแรก ที่ผู้บร ิโภคในสหรัฐฯ มองหามากที่สุด ได้แก่
กลุ่ ม หั ว ใจและหลอดเลื อ ด กลุ่ มควบคุ ม น้ า หนั ก และกลุ่ ม ที่ ใ ห้ พลั ง งาน
ตามลาดับ ขณะที่ในไทย Functional Foods หมวดที่ น่าจับตามองส่ วนใหญ่ ยัง
สอดคล้ อ งกั บ เทรนด์ ใ นต่ า งประเทศ ได้ แ ก่ กลุ่ ม ที่ ใ ห้ พ ลั ง งาน กลุ่ ม ควบคุ ม
น้ า หนั ก แ ล ะกลุ่ มเ ส ร ิม ภู มิ คุ้ ม กั น (BOX1 : มุ ม ม องจากผู้ เชี่ ย วชาญด้ าน
Consumer Health Nutrition) ส่ ว นหนึ่ งมาจากผู้ บ ร ิโภคไทยในปั จ จุ บั น มี
ความเข้าใจมากขึ้นเกี่ ยวกับว ิธีการดูแลสุขภาพตั วเอง โดยเฉพาะในการควบคุม
น้า หนั ก และการออกกาลั งกาย ขณะที่ ไลฟ์ส ไตล์ ข องผู้ บร ิโภคที่ ต้ องเผชิญ กั บ
มลพิ ษ ความเคร ียดจากการทางานหนั ก แต่ต้องการทางเลื อกที่ ไม่ ใช่ยา จะช่วย
ผลักดันให้ Functional Foods ในหมวดที่ช่วยภูมิค้ม
ุ กันมีความน่าสนใจยิง่ ขึ้น
18 Krungthai Macro Research

ภำพที่ 7 ตลาด Functional Foods ยังมีช่องว่างทางการตลาดอีกมาก เนื่องจากเป็นตลาดที่มีลักษณะเป็น


Niche market

ลดอาการ
บาดเจ็บหลัง
แข่ง ลดไขมันและ
น้าตาลในเลือด

ชะลอความแก่ ช่วยสมาน
และทาให้อายุ แผล
ยืนขึน
้ ให้พลังงาน ชะลอการ
และสร้าง เสื่อมของ
กล้ามเนื้อ กระดูก
บารุงสายตา

เพิ่ มความจาและ
บารุงสมอง ช่วยให้ห่น
ุ ควบคุมน้าหนัก ช่วยในการ
Fit & Firm ขับถ่าย

ทาให้
เสริม อารมณ์ดี ช่วยระบบ
พั ฒนาการ การย่อย
สาหรับเด็ก
เสริม
เล็ก
ภูมิค้ม
ุ กันใน
ช่วยให้ ร่างกาย
หลับง่าย

หมวดประสาทและสมอง หมวดย่อยอาหารและระบบขับถ่าย

หมวดที่ให้พลังงานและควบคุมน้าหนัก หมวดหัวใจและหลอดเลือด หมวดกระดูกและข้อ

หมวดสายตา หมวดผิวพรรณ หมวดเสริมภูมิคุ้มกัน

ที่มา : วิเคราะห์และรวบรวมข้อมูลโดย Krungthai Macro Research


19 Krungthai Macro Research

4. เพรำะ Functional Foods เป็นหนึ่งในอำหำรแห่งอนำคต


ที่ภำครัฐต้องกำรส่งเสริม
Krungthai Macro Research มองว่า จากการที่ธรุ กิจ Functional Foods เป็น
หนึ่งในอาหารแห่งอนาคตซึ่งเป็นอุตสาหกรรมเป้าหมายในกลุ่ม S-Curve จึงทาให้
ได้รบ
ั ประโยชน์ จากการส่ งเสร ิมการลงทุนของภาครัฐ โดยเฉพาะผู้ประกอบการ
SMEs ซึ่ง เป็ นกลุ่ม เป้ าหมายหลั ก ที่ จ ะได้ ร ับการสนั บสนุ น ผ่ า นมาตรการต่ า ง ๆ
เพื่อผลักดันให้ GDP อุตสาหกรรมอาหารของไทยบรรลุตามเป้าหมายที่ 1.35 ล้าน
ล้ านบาท ภายในปี 2026 เช่น การสนั บสนุ นการว ิจัย และพั ฒนานวัตกรรมโดย
ร่วมกับหน่วยว ิจัยจากภาครัฐหร ือสถาบันการศึกษา การให้สิทธิ ประโยชน์ สาหรับ
ผู้ ลงทุนด้ านอาหารอนาคต อาทิ การยกเว้นภาษี เง ินได้ นิติบุคคล 8 ปี ไม่ จากั ด
วงเง ิน และลดหย่อนได้อีก 50% เพิ่ มเติมอี ก 5 ปี เป็นต้ น หร ือการสนั บสนุ นให้
เกิ ด ปั จ จั ย เอื้ อ เพื่ อให้ เ กิ ด การลงทุ น ในประเทศ เช่ น World Food Valley ซึ่ ง
ประกอบด้วย พื้ นที่นิคมอุ ตสาหกรรม โรงงานต้นแบบ One-Stop-Services &
Incubation Center และ Food Academy และโครงการเมื อ งนวั ต กรรม
อาหาร (Food Innopolis) ซึ่ ง หากเป็ นไปตามที่ ภ าครัฐตั้ ง เป้ า หมายไว้ คาดว่ า
ภายในปี 2021 จะมี ผู้ประกอบการอาหารที่ มีนวัต กรรมอาหารประมาณ 9,000
ราย และมี Food Tech Startup 100 ราย4

ภำพที่ 8 อุตสาหกรรมเป้าหมายในกลุ่ม S-curve

Robotics Medical Hub Aviation Biofuels and Functional


Biochemical Foods
Seed new
Growth
Engines
New Medical
Sectors Foods

Organic
Strengthen Foods
Existing
Sectors

Next Smart Affluent Agriculture Food for Novel Foods


Generation Electronics Medical & and the Future
Automotive Wellness Biotechnology
Tourism

ที่มา: ประมวลจากกระทรวงอุตสาหกรรม , Mckinsey 2016

4 อ้างอิงจากเป้าหมายของภาครัฐตามแผนกลยุทธ์พัฒนาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป ปี 2017-2026
20 Krungthai Macro Research

BOX 1 มุมมองจากผูเ้ ชีย


่ วชาญด้าน
Consumer Health Nutrition

คุณอนรรฆพั นธุ์ ดั่นเจริญ


Business Development & Marketing Manager
Lonza (Thailand) Co., Ltd

เทรนด์อะไรของ Functional Food ที่จะมาอย่างชัดเจนในอีก 1-2 ปี


ข้างหน้า ?

หมวดที่ น่ าจับตามองจะเป็ นหมวด Sport Nutrition และ Weight Management


้ ้ั งในด้ านการออกกาลั งกาย และความ
เนื่ องจากในยุคนี้ มี Influencer มาให้ความรูท
นิ ย มที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ในการกิ น อาหารสุ ข ภาพเฉพาะกลุ่ ม ที่ เ กี่ ย วกั บ การดู แ ลน้ า หนั ก เช่ น
Low Carb, High Protein, Ketogenic Diet, Intermitted Fasting, High Fiber,
Paleo Diet, Water Fasting ท าให้ ผู้ ป ระกอบการมี โ อกาสขยายตลาดได้ อี ก มาก
เพื่ อ ตอบโจทย์ความต้ องการสารอาหารที่ ไม่ เ หมื อ นกั น นอกจากนี้ ภาษี น้า ตาลที่ จ ะ
เก็บเพิ่มมากขึ้นในช่วงปลายปีนี้ จะส่งผลให้ผู้ผลิตปรับสูตรโดยการลดปร ิมาณน้าตาล
ลง และดึงดูดผู้บรโภค
ิ โดยการพัฒนาสินค้า Functional มากขึ้น

นอกจากสรรพคุณของตั วสารสกั ดเอง ผู้ บ ร ิโภคเร มิ่ ตระหนั กถึ ง เร่อื ง Clean Label
ซึ่ งครอบคลุ ม ความหมายในวงกว้ า ง เช่ น ปราศจากสี สั งเคราะห์ สารกั น บู ด
(Preservative) สารให้ความหวาน ฮอร์โมน GMO รวมทั้ งรู ท
้ ี่ มาที่ ไปของสิ นค้าและ
สารสกั ด (Traceability) เพื่ อ แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง คุ ณ ภาพ ความเชื่ อ ถื อ ได้ เป็ น ต้ น
จะเป็นสิ่งที่ผู้บรโภคพิ
ิ จารณาเพิ่มขึ้น

แล้วผู้ประกอบการ SME จะเข้าไปในตลาดนีไ้ ด้จริงหรือ ?

ได้ แน่ นอน เนื่ อ งจากเจ้าใหญ่ จะเน้ นไปในการพั ฒนาสิ นค้าที่ เป็น Multi-Personal
Use คือ ใช้ได้สาหรับทุกเพศ ทุกวัย แต่ขณะที่ปัจจุบัน เราจะเห็นคนพู ด ถึงแนวคิด
“Personalized”, “On Demand”, “Just For Me” เป็นที่แพร่หลายในทุก ๆ ธุรกิจ
เช่ น เดี ย วกั บ ธุ ร กิ จ Functional Foods ซึ่ ง มี ห ลายหมวดหมู่ ตั้ ง แต่ สมอง ตา ข้ อ
กระดู ก ภู มิ คุ้ม กั น ความสวยงาม น้ า หนั ก ส่ ว นเกิ น หั ว ใจ และอายุ กั บ ไลฟ์ส ไตล์ ที่
เปลี่ ย นแปลงไปในปั จ จุ บั น จึ ง ต้ อ งการสารอาหารที่ แ ตกต่ า งกั น ไป ท าให้ ต ลาดมี
ลั ก ษณะเป็ น Fragmented Market หร ือ ตลาดแยกย่ อ ย ส่ ง ผลให้ ผู้ ป ระกอบการ
รายใหญ่ ไ ม่ ส ามารถลงมาเล่ น ได้ ในทุก ตลาด จึง เป็ น โอกาสของ SMEs ที่ จะมองหา
ช่ อ งว่ า งของความต้ อ งการของผู้ บ ร ิโภคในแต่ ล ะหมวดของสุ ข ภาพ หร ือแตก ไลน์
สินค้าจากผลิตภัณฑ์หลักของตัวเอง
21 Krungthai Macro Research

ผู้ประกอบการ SMEs ที่ยังเป็น Basic Foods จะเริ่มอย่างไร ?

ผู้ประกอบการ SMEs อาจเรมิ่ จากการว ิเคราะห์ทิศทางตลาดควบคู่กันไปกับโอกาสที่จะ


นามาประยุกต์ใช้กับผลิตภัณฑ์หลักของตน เมื่อได้ตลาดเป้าหมายว่าจะเจาะตลาดไปยัง
ผู้บร ิโภคที่ดูแลสุขภาพใน Function ไหนแล้ว จึงเลือก Functional Ingredient ที่มี
สรรพคุ ณ ส่ ง ผลต่ อ ประสิ ท ธิ ผ ลของร่า งกาย เช่น การส่ งเสร ิมภู มิคุ้ม กั น ช่ว ยลดการ
อั ก เสบ เน้ น การใช้ ไ ขมั น มาให้ พ ลั ง งาน หร ือช่ ว ยปรับ สมดุ ล ความดั น รวมทั้ ง เลื อ ก
กลุ่มเป้าหมายตามช่ว งอายุ หร ือตามพฤติก รรมของผู้ บร ิโภค ผู้ ประกอบการที่ เ รมิ่ ต้ น
จาก Basic foods อาจต้องทาความเข้าใจในเร่อื ง Functional Ingredient เพิ่มขึ้นเพื่อ
มาพั ฒนาสิ นค้ า เช่น ทาไมต้องมี การเสร ิมแอลคาร์นิทีน หร ือทาไมต้องใส่ ว ิตามิ นบี 3
หรอการใช้
ื ส่วนผสมหลายตัวช่วยเสรมฤทธิ
ิ ์กันอย่างไร สามารถนามาประยุกต์กับสินค้า
ตัวเองได้หรอไม่
ื ส่วนผสมของผู้ผลิตนี้ต่างจากอีกเจ้าอย่างไร หร ือ Ingredient ตัวไหน
ที่กาลังมาแรงในตลาดของแต่ละหมวดหมู่ของผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ที่สาคัญการเป็น
Strategic Partnership กับมหาว ิทยาลัยหร ือหน่ วยงานภาครัฐ รวมทั้งการร่วมมือกับ
Health Ingredient Producer ที่ มี ค ว า ม น่ า เ ชื่ อ ถื อ ใ น ด้ า น ง า น ว จ
ิ ั ย จ ะ ช่ ว ย ใ ห้
ผู้ประกอบการ SMEs ประสบความสาเร็จในตลาดนี้ได้ง่ายขึ้น

บริษัท Lonza ทาธุรกิจด้านไหนบ้าง ?

Lonza สว ิสเซอร์แลนด์ เป็ นบร ิษั ทยาและเทคโนโลยี ชี ว ภาพ ผู้ ผลิ ต L-Carnitine และ
Vitamin B3 อันดับ 1 ของโลก มี ความเชี่ยวชาญในด้ าน Health Ingredients ที่ช่วยดูแล
สุขภาพ เช่น UCII คอลาเจนไทพ์ ทู ที่ช่วยส่ งเสร ิมสุขภาพข้อเข่า L-Optizinc สั งกะสี ที่มี
การดูดซึมได้เร็ว Resistaids ไฟเบอร์ที่เกิดจากการหมักจากเปลือกต้นลาชจากอเมร ิกา
เหนื อที่ มี ส่ ว นช่ ว ยเพิ่ ม ภู มิ ต้ า นทานโรค Optiberry ส่ ว นผสมของเบอรร ี่ 6 ชนิ ด ที่
ครอบคลุมสุ ขภาพหลายด้ าน เช่น การมองเห็น ลดไขมั นเลวในเลื อด Super Citrimax
สารสกัดจากส้มแขกที่มีส่วนช่วยลดความอยากอาหาร Seditol สารสกัดที่มีส่วนผสมของ
เปลือกแมคโนเลีย ช่วยส่งเสรมด้
ิ านการนอนหลับ เป็นต้น
22 Krungthai Macro Research

3
ในกำรยกระดับจำก Basic Foods มำเป็น
Functional Foods ต้อง เตรียมตัว
อย่างไร? รูจ
้ ก
ั ใครบ้าง?
Krungthai Macro Research มี Checklist เพื่อให้ผู้ประกอบการมีแนวทางใน
การเตร ียมตัวเพื่อก้าวเข้าสู่การยกระดับผลิตภัณฑ์เป็น Functional Foods และ
แนะนาให้ทาความรู จ
้ ักและเป็น Partnership กับหน่ วยงานที่ มีความเชี่ยวชาญ
ซึ่งประกอบด้วย 1) ผู้ผลิต Functional Ingredients และ 2) หน่วยงานว ิจัยจาก
ภาครัฐหร ือสถาบั นการศึ กษา ในการช่วยทา R&D เพื่ อ ลดความเสี่ยงในการทา
R&D เอง และยังช่วยให้สามารถพั ฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพตรงความต้องการ
ของตลาดได้ง่ายขึ้น
23 Krungthai Macro Research

CHECKLIST
1) สารวจความต้องการของตลาด
ศึกษาผ่านเว็บไซด์ เช่น
http://www.nutritionaloutlook.com/trends-business
https://www.mintel.com/

2) ศึกษาสารอาหารที่สามารถตอบสนองความ
ต้องการของผู้บริโภค
ศึกษาผ่านเว็บไซด์ หรือ หนังสือเกี่ยวกับสารอาหาร
เช่น Performance Nutrition(2016) ของ Kevin Currell
หรือ Clinical Sports Nutrition (Australia Healthcare
Medical) (2015)ของ Louise Burke และ Vicki Deakin

3) ขอรับคาปรึกษา เพื่ อทา R&D


ติดต่อ หน่วยงานรัฐ สถาบันการศึกษา
และ บริษัท Functional ingredient

จากบทที่แล้วจะเห็นได้ว่า ในปัจจุบันผู้บร ิโภคมีความต้องการที่หลากหลาย ดังนั้ น


ในขั้ นตอนแรก การสารวจตลาดจึงเป็นเคร่อื งมื อสาคัญที่ จะทาให้ผู้ประกอบการ
เข้ า ใจความต้ อ งการของผู้ บ ร ิโภคมากขึ้ น โดยศึ ก ษาผ่ า นเทรนด์ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ น
ต่างประเทศก็เป็นทางเลือกหนึ่ งที่จะทาให้ผู้ประกอบการเข้ าใจและมี แนวทางใน
การก าหนดเป้ า หมายในการพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ ต อบโจทย์ ค วามต้ อ งการของ
ผู้ บ ร ิโภคได้ เมื่ อผู้ ป ระกอบการเห็ น ถึ ง ความต้ อ งการของกลุ่ ม เป้ า หมายแล้ ว
จากนั้นขั้นตอนถัดไป คือ ศึกษาว่าสารอาหารอะไรที่ช่วยเสร ิมสุขภาพในตลาดกลุ่ม
ดังกล่าว เช่น หากสนใจในตลาด Functional Foods กลุ่มที่ให้พลังงานสาหรับ
ผู้ ที่ออกกาลั งกาย อาจเรมิ่ จากหนั งสื อที่ เกี่ ยวข้ องกั บ สารอาหารในกลุ่มดั งกล่ า ว
เ ช่ น Clinical Sports Nutrition (Australia Healthcare Medical) (2015)
ของ Louise Burke และ Vicki Deakin เป็ น ต้ น และขั้ น ตอนสุ ด ท้ า ยที่ ส าคั ญ
ที่ สุ ด คื อ การขอรับ ค าปร ึกษาจากหน่ ว ยงานรัฐ สถาบั น การศึ ก ษา หร ือ บร ิษั ท
Functional Ingredient ที่ จ ะช่ ว ยให้ ผู้ ป ระกอบการท า R&D ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ให้
“อร่อย มีประโยชน์ และได้มาตรฐาน”
24 Krungthai Macro Research

เป็น Functional Foods ต้องรูจ


้ ก
ั ใครบ้ำง ?
ในเบื้องต้ นผู้ ประกอบการ SMEs รายเล็ก ๆ ยังคงต้ องศึ กษาและทาความเข้ าใจ
การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการผลิตอาหาร ให้ได้ตามมาตรฐานสานั กงาน
คณะกรรมการอาหารและยา และหน่ ว ยงานที่ เกี่ ยวข้ อง เนื่ อ งจากพบว่ าปั ญหา
สาคัญที่ทาให้ผู้ประกอบการ Basic Foods ไม่ สามารถยกระดับตัวเองมาสู่ธุรกิจ
Functional Foods ได้ มาจากการผลิตที่ไม่ได้มาตรฐาน รวมทั้งเกิดส่วนสูญเสีย
ระหว่างกระบวนการผลิตมาก และเนื่ องจากการว ิจัยและพั ฒนาผลิ ตภั ณฑ์ เ ป็น
หั วใจส าคั ญที่ จะช่วยผู้ ประกอบการยกระดั บ ผลิ ตภั ณฑ์ จาก Basic Foods เป็ น
Functional Foods ไ ด้ ดั ง นั้ น ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร จึ ง ค ว ร จ ะ รู ้ จั ก แ ล ะ เ ป็ น
Partnership กับผู้เชี่ยวชาญ 2 กลุ่ม ดังนี้

1) ผู้ผลิต Functional Ingredients


ส่ ว นใหญ่ เป็ น บร ิษั ท แม่ จ ากต่ า งประเทศ ซึ่ ง ในการเลื อ กที่ จ ะเป็ น Partner กั บ
Functional Ingredients รายใด อาจพิ จารณาเบื้ องต้ น จากชื่ อเสี ย งและความ
เชี่ยวชาญของประเภทสารอาหาร ซึ่งแตกต่างกันในแต่ละบร ิษัท เช่น Lonza เป็น
ผู้ น าสารอาหารประเภท L-Carnitine และ Vitamin B3 รวมทั้ ง พิ จ ารณาจาก
รายชื่อลูกค้าที่ผู้ผลิต Functional Ingredients เคยให้บร ิการในช่วงที่ผ่านมา

ภำพที่ 9 ผู้ผลิต Functional Ingredient และ ตัวอย่างสารอาหาร

Vitamins
Omega-3 Vitamin C
Carotenoids

L-Carnitine
Protein Beta Glucan
Vitamin B3
25 Krungthai Macro Research

รวมถึ ง ผู้ ป ระกอบการยั ง ควรศึ ก ษาคุ ณ ประโยชน์ ต่ อ ร่า งกายในด้ า นต่ า ง ๆ ของ
สารอาหารแต่ละชนิ ด (Box 2 : มาทาความรู จ
้ ักกั บประโยชน์ ของสารอาหารแต่ ละ
ชนิด) เพื่อที่จะพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ตรงกับความต้องการของกลุ่มลูกค้าเป้าหมายได้

BOX 2 มาทาความรูจ้ ก
ั กับประโยชน์ของ
สารอาหารแต่ละชนิด
ประสาทและสมอง กล้ามเนื้อ
เช่น Omega-3, เช่น Proteins, Amino
Antioxidants, Amino Acids ,Minerals,
Acids Vitamins

หัวใจและหลอดเลือด สายตา
เช่น Omega-3, เช่น Vitamins,
phytosterols, Fibre, Minerals, Omega 3
Antioxidants

กระดูกและข้อ ผิวพรรณ
เช่น Minerals, Vitamins, เช่น Vitamins,
Protein, Amino Acids, Collagen, CoQ10
Antioxidants, Botanicals

ควบคุมน้าหนัก ภูมิค้ม
ุ กัน
เช่น Herb Extracts, เช่น Vitamins, Minerals
Fibre, Proteins, Fatty
Acids

ย่อยอาหารและระบบ
ขับถ่าย
เช่น Fiber, Probiotics

ที่มา: รวบรวมข้อมูลจาก The Journal Nutrition และ www.fooddive.com

Vectors graphics designed by freepik


26 Krungthai Macro Research

2) หน่วยงำนวิจย
ั จำกภำครัฐหรือสถำบันกำรศึกษำ
หน่ ว ยงานว ิจั ย จากภาครัฐ หร ือสถาบั น การศึ ก ษาที่ เ ชี่ ย วชาญ และสามารถให้
คาปร ึกษาเกี่ยวกับการทา R&D มี หลายแห่ง เช่น ภาคว ิชาเทคโนโลยีทางอาหาร
คณะว ิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาว ิทยาลัย สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์
อาหาร มหาว ิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันโภชนาการ มหาว ิทยาลั ยมหิดล และ
สถาบั น อาหาร ซึ่ ง ผู้ ป ระกอบการอาจเลื อ กพิ จ ารณาเบื้ อ งต้ น จากผลงานว ิจั ย
ในช่วงที่ผ่านมา จานวนผลิตภัณฑ์ที่ว ิจัยและพัฒนาจนออกสู่ตลาดในเชิงพาณิ ชย์
รวมทั้งเง่ อื นไขในการสนับสนุนเง ินทุน

ตัวอย่ำงงำนวิจย
ั จำกสถำบันกำรศึกษำ

น้าผลไม้น้าตาลต่าจากผลไม้ 100%
• ใช้นวัตกรรม ออโตโคนั สสตาร์ทเตอร์ ที่ เปลี่ ยนน้าตาลในน้าผลไม้
ให้เป็นน้าตาลที่ดีต่อสุขภาพ พร้อมทั้งเปลี่ยนกรดบางตัวให้มีความ
เปรยี้ วลดลง จึงทาให้ น้าผลไม้ มีความหวานสมดุลกั บความเปรยี้ ว
ในขณะที่ส่วนประกอบอื่น ๆ ในน้าผลไม้ยังคงอยู่
• กระบวนการนี้มีความปลอดภัย ต้นทุนต่า และไม่ซับซ้อน
• สามารถปรับใช้ได้กับน้าผลไม้ทุกชนิด

เครื่องปรุงโซเดียมต่า
• ลดปร ิมาณโซเดี ยมและน้าตาลลงประมาณ 40-78% โดยใช้เกลื อ
โปแทสเซี ย มแทนโซเดี ย มและใช้ ส ารทดแทนความหวานแทน
น้าตาลทาให้ผลิตภัณฑ์ยังคงรสชาติ
• ผลงานว ิจั ย พบว่ า อาหารรสเค็ ม มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ โรคความดั น
โลหิ ต สู ง รวมทั้ ง เป็ น ปั จ จั ย สู่ โ รคอื่ น ๆ เช่ น อั ม พฤกษ์ อั ม พาต
ดังนั้ น ผลิตภั ณฑ์โซเดียม และน้าตาลต่า จึงเหมาะกับผู้มีความดั น
โลหิตสูง และผู้ที่รก ั สุขภาพ

โดยก่อนที่จะเรมิ่ พู ดคุย ขอรับคาปร ึกษาเพื่ อพั ฒนาผลิตภัณฑ์กับหน่ วยงานว ิจัย


ผู้ประกอบการควรศึกษาและทาความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับเร่อื งต่อไปนี้5

 กำรรักษำรสชำติ สี กลิ่น เช่น ในการใช้สารให้ ความหวานทดแทนน้าตาล


การใช้เกลือโปแตสเซียมคลอไรด์ทดแทนเกลือโซเดียมคลอไรด์ หร ือการ
ใช้โปรตีนพื ชทดแทนโปรตีนจากเนื้ อสัตว์ เป็นต้น จาเป็นต้องรู ห
้ น้ าที่ของ
สารอาหารนั้ น ๆ ในอาหาร โดยสารที่ ใ ช้ ท ดแทนนั้ นควรจะมี ห น้ า ที่
ที่ใกล้เคียงกับน้าตาล เกลือ หร ือไขมั น เนื่ องจากน้าตาลในอาหารมี หน้ าที่
ให้ ความสมดุลของกลิ่นรสในอาหาร (Flavor Balance) ให้ สี (ปฏิกิร ิยา
Maillard Reaction) ให้ปร ิมาตร (Volume) กับอาหาร เป็นต้น ในขณะ
ที่ เกลื อมี หน้ าที่ ที่ สาคั ญ คื อ การให้ ก ลิ่ นรสในอาหาร นอกจากนี้ ไขมั น มี
หน้ าที่ ในการให้ กลิ่ นรส ให้ ความเป็นคร ีม (Creaminess) ให้เนื้ อสั มผั ส
(Texture) และเกี่ ยวกั บเสถี ยรภาพของอิ มั ล ชัน ในอาหาร จึ งเป็นความ
ท้าทายของผู้ ประกอบการที่ ต้องคงลั กษณะ รสชาติ สี กลิ่ น ให้ ใกล้ เคี ยง
กับผลิตภัณฑ์อาหารเดิม

5อ้างอิงจากบทสัมภาษณ์ ผศ.ดร. กิติพงศ์ อัศตรกุล ภาควิชาเทคโนโลยีทางอาหาร คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


27 Krungthai Macro Research

 กำรรักษำเสถียรภำพ (Stability) ของสารอาหารระหว่างกระบวนการผลิต


ก่อนถึงมือผู้บร ิโภค เนื่องจากการเติมสารต่าง ๆ ที่มีประโยชน์ ต่อร่างกาย
เช่ น ใยอาหาร (Fiber) สารพฤกษเคมี (Phytochemical) พร ีไบโอติ ก
(Prebiotic) สารต้านอนุ มูลอิ สระ (Antioxidant) เป็นต้น อาจเกิ ดการ
สูญเสียหร ือการเปลี่ยนแปลงระหว่างกระบวนการผลิตหร ือการเก็บรักษา
และส่ งผ ลต่ อ กา ร อ อ กฤท ธิ์ ท างชี วภาพ ผู้ ปร ะกอ บการจึ งต้ อ งใ ห้
ความส าคั ญ กั บ การรั ก ษาเสถี ย รภาพของสารเชิ ง หน้ าที่ ก่ อ นถึ ง มื อ
ผู้ บ ร ิโภค โดยปั จ จุ บั น เทคโนโลยี ใ นการรั ก ษาคุ ณ ค่ า ของสารอาหาร
ก้ า วหน้ า ไปมาก เช่ น เทคโนโลยี Encapsulation ซึ่ ง เป็ น กระบวนการ
สร้างชั้นป้องกันสารสาคัญนั้ น ๆ จากปฏิกิร ิยา หร ือสภาพแวดล้อมต่าง ๆ
(รายละเอียดเพิ่มเติมอยู่ใน BOX 3 : การป้องกันสารอาหารเชิงหน้ าที่ให้ยังคง
มีประสิทธิภาพด้วยกระบวนการเอนแคปซูเลชัน (Encapsulation))

โดยสรุป Functional Foods เป็นตลาดที่ผู้ประกอบการ SMEs มีโอกาสประสบ


ความส าเร็จ ได้ ไ ม่ย าก จากเทรนด์ ข องผู้ บ ร ิโภคที่ มี ค วามต้ อ งการเฉพาะกลุ่ม มากขึ้ น
ท าให้ ผู้ ป ระกอบรายย่ อ ยสามารถเจาะตลาดซึ่ ง ผู้ ป ระกอบการรายใหญ่ ยั ง เข้ า ไม่ ถึ ง
เพียงผู้ประกอบการต้องมีความเข้าใจความต้องการของผู้บร ิโภค และสารอาหารเบื้องต้น
รวมทั้งร่วมมือกับผู้เชี่ยวชาญทั้งภาครัฐและเอกชนเพื่อทา R&D อย่างไรก็ดี เป็นที่แน่นอน
ว่าในอนาคตจะมีผลิตภัณฑ์ Functional Foods ใหม่ ๆ ออกสู่ตลาดอย่างต่อเนื่อง เพื่อ
ตอบสนองความต้องการของผู้บร ิโภคที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ผลก็คือ Life Cycle ของ
แต่ละผลิตภัณฑ์ที่ออกสู่ตลาดอาจไม่ยาวนัก ดังนั้น ผู้ประกอบการจึงต้องให้ความสาคัญ
กับการทา R&D อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งตระหนักอยูเ่ สมอว่าผู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง
ได้อย่างรวดเร็วจะเป็นผู้นาในตลาดนี้ได้อย่างยัง่ ยืน
28 Krungthai Macro Research

การป้ อ งกั น สารอาหารเชิ ง หน้ า ที่ ใ ห้


BOX 3 ยังคงมีประสิทธิภาพด้วยกระบวนการ
เอนแคปซูเลชัน (Encapsulation)

โดย ผศ.ดร. กิติพงศ์ อัศตรกุล


ภาควิชาเทคโนโลยีทางอาหาร
คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ Functional Foods จะต้องมีการเติมสารต่าง ๆ ที่มีประโยชน์ ต่อร่างกายลง


ไปในอาหาร อย่างไรก็ ตาม สารเหล่านี้ อาจเกิดการสูญเสียหร ือการเปลี่ยนแปลงระหว่างกระบวนการ
ผลิ ต หร ือการเก็ บ รัก ษา ซึ่ ง ส่ ง ผลต่ อ การออกฤทธิ์ ท างชี ว ภาพ ดั ง นั้ น จะท าอย่ า งไรที่ จ ะป้ อ งกั น
สารอาหารเชิงหน้ าที่ (FunctionalIngredient) ในระหว่างกระบวนการผลิตให้มีเสถียรภาพของสารเชิง
หน้ า ที่ ก่ อ นถึ ง มื อ ผู้ บ ร ิโภค ซึ่ ง เทคโนโลยี เ อนแคปซู เ ลชั น (Encapsulation) จะช่ ว ยตอบโจทย์
ในเร่อื งนี้

แอนแคปซูเลชัน (Encapsulation) คืออะไร?

เอนแคปซู เ ลชัน (Encapsulation) คื อ กระบวนการที่ สร้า งชั้นป้อ งกั น (Barrier)


ซึ่ ง มี ส ารส าคั ญ หร ือสารออกฤทธิ์ ชี ว ภาพ (Bioactive Compound) เช่ น สารต้ า น
ออกซิเดชันหรอสารต้
ื านการเจรญของจุ
ิ ลินทรย์ี ที่อยู่ภายใน โดยชั้นป้องกันนี้ สามารถ
ป้ อ งกั น ปฏิ กิ ร ิยาต่ า ง ๆ ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ นกั บ สารส าคั ญ นั้ น ๆ รวมถึ ง ป้ อ งกั น จาก
สภาพแวดล้ อ มต่ า ง ๆ เช่ น อุ ณ หภู มิ ค่ า ความกรด-ด่ า ง และอากาศ (ออกซิ เ จน)
เป็ น ต้ น นอกจากนี้ เอนแคปซู เ ลชั น ยั ง สามารถควบคุ ม การปลดปล่ อ ยสารส าคั ญ
ภายใต้ภ าวะที่ เ หมาะสม ปั จจุ บัน มี ว ิธี สาหรับ การทาเอนแคปซู เลชั นหลากหลายว ิธี
โดยว ิธีที่ เ หมาะสมต่ อ การท าเอนแคปซู เ ลชัน นั้ น ขึ้น อยู่ กับ ชนิ ดของสารส าคั ญ ที่ อ ยู่
ภายในชั้ น ป้ อ งกั น และผลิ ต ภั ณ ฑ์ สุ ด ท้ า ยที่ มี ส ารส าคั ญ อยู่ ภ ายในชั้ น ป้ อ งกั น
(Capsule) รวมทั้ งการเลื อ กสารที่ ใ ช้ ท าชั้ น ป้ อ งกั น (Capsule Wall Material)
ยังส่ งผลต่อสารส าคัญที่ ถู กหุ้ มไว้ (Encapsulated Substance) ส่ ว นสารที่ ใช้ ในการ
ท าชั้ น ป้ อ งกั น ส่ ว นใหญ่ คื อ โปรตี น และคาร์โ บไฮเดรต โดยสารที่ ใ ช้ ท าชั้ น ป้ อ งกั น
เหล่านี้ จะส่งผลต่อลักษณะของผลิตภัณฑ์สุดท้าย เช่น ขนาด รูปร่าง และโครงสร้าง
ของแคปซู ล ซึ่ง สามารถบอกถึ งเสถียรภาพระหว่างกระบวนการผลิ ต การเก็บ และ
การบร ิโภค ภายใต้ ส ภาพแวดล้ อ มภายนอก ส าหรั บ ตั ว อย่ า งในการเทคโนโลยี
เอนแคปซู เ ลชั น (Encapsulation) ได้ แ ก่ การท าเอนแคปซู เ ลชั น โพรไบโอติ ก
(จุลินทรย์ี ที่มีประโยชน์ต่อร่างการคนเมื่อบรโภคในปร
ิ มาณที
ิ ่เพียงพอ) ในผลิตภัณฑ์
อาหารหลากหลายชนิ ด เพื่ อเป็นการป้องกั นการถูกทาลายของโพรไบโอติกระหว่าง
การเก็ บ รัก ษาหร ือการขนส่ ง หร ือป้ อ งกั น การเกิ ด สารพิ ษ หร ือสารที่ ไ ม่ ต้ อ งการ
ซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางเคมีระหว่างการเก็บรักษา
29 Krungthai Macro Research

ทั้งนี้ เทคนิ คในการทาเอนแคปซูเลชัน (Encapsulation) ที่นิยมใช้ในอุตสาหกรรมอาหารใน


ปัจจุบันมี 3 ว ิธี ได้แก่

1. การทาแห้งแบบพ่ นฝอย (Spray Drying) คือ การทาแห้งแบบพ่นฝอยสารละลายอิมัลชันที่มี


ส่วนผสมของสารที่ใช้ทาชั้นป้องกันและสารสาคัญ โดยการทาแห้งแบบนี้ จะส่งผลแคปซูลมีขนาด
เล็กหรอเร
ื ยกว่
ี าไมโครแคปซูล (Microcapsule) ว ิธีนี้เป็นว ิธีที่ค่าใช้จ่ายไม่สูง และใช้เวลาน้ อย
และเป็ น ว ิธี ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง ในการท าเอนแคปซู เ ลชั น สารต่ า ง ๆ เช่ น สารหอมระเหย
สารให้สี ว ิตามิน และโพรไบโอติก เป็นต้น

2. Phase Separation หรือ Coacervation ว ิธีนี้เป็นการเตร ียมแคปซูลที่มีการใช้กันอย่าง


แพร่หลาย โดยว ิธี นี้มีหลั กการ คือ การเปลี่ ยนแปลงสภาวะการละลายของระบบคอลลอยด์
ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยสองวั ฏ ภาค คื อ ภาคของสารส าคั ญ หร ือสารแก่ น (Core Material) และ
วัฏภาคของสารที่ใช้ทาชั้นป้องกัน (สารหุ้ม) ส่งผลให้สารที่ใช้ทาชั้นป้องกันแข็งตัวและสามารถ
ห่อหุ้มสารสาคัญไว้ได้

3. Polymerization คื อ การเชื่อ มต่ อ สารของโมโนเมอร์ห ร ือโพลิ เ มอร์ส ายสั้ น ที่ บ ร ิเวณผิ ว


ของแคปซู ลและทาให้เกิดเปลื อกของโพลิเมอร์ที่สามารถห่อหุ้มสารสาคัญหร ือสารแก่นไว้ได้
โมโนเมอร์ส่ ว นใหญ่ ที่ ใ ช้ จ ะอยู่ ใ นกลุ่ ม Isocyanates และ Acid Chlorides โดยสามารถใช้
โมโนเมอร์ชนิ ดเดียวหร ือหลายชนิ ดร่วมกันได้ โดยเรมิ่ ต้นจากการละลายโมโนเมอร์ในวัฏภาค
น้าที่มีสารสาคัญ (ของเหลว) กระจายตัวอยู่ จากนั้ นเติมสารห่อหุ้มเพื่อเร่งให้เกิด กระบวนการ
Polymerization เพื่อสร้างผนังแคปซูล ข้อดีของว ิธีนี้ คือ ได้อนุภาคแคปซูลขนาดเล็ก

ดังนั้น การพัฒนาผลิตภัณฑ์ Functional Foods โดยใช้เทคนิ คเอนแคปซูเลชันจึงจาเป็นต้อง


พิจารณาคุณสมบัติของสารสาคัญว่ามีคุณสมบัติอย่างไร รวมถึงคุณสมบัติและชนิ ดของสารที่
ใช้ ทาชั้น ป้ องกั น เพื่ อที่ จะสามารถเลื อกว ิธี เอนแคปซู เลชั นได้ อ ย่ างเหมาะสม ซึ่ งจะสามารถ
รัก ษาคุณ สมบั ติที่ มีป ระโยชน์ ของสารสาคัญ จากภาวะการผลิ ตต่ าง ๆ และการเก็ บ รัก ษาได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
30 Krungthai Macro Research

หน่วยงานวิจย
ั จากภาครัฐหรือสถาบันการศึกษา
01
ภาควิชาเทคโนโลยีทางอาหาร คณะวิทยาศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
http://foodtech.sc.chula.ac.th

02
สถาบันอาหาร (NFI)
http://www.nfi.or.th

03
สถาบันวิจย
ั และพั ฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร (IFRPD)
http://www.ifrpd.ku.ac.th

04
สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
http://www.nu.mahidol.ac.th

Link คุณภาพ มาตรฐาน และความปลอดภัยของอาหาร


01
to สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.)

the
http://www.fda.moph.go.th
02

Network
สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)
http://www.acfs.go.th

ผู้จาหน่าย Health Ingredients ในไทย


01
Lonza
https://www.lonza.com
02
BJC Specialties Co., Ltd.
https://www.bjc.co.th
03
DPO Thailand Ltd.
http://www.dpointernational.com

04
Food Ingredient Technology Ltd.
https://www.fit-biz.com
ทุนสนับสนุน
01
ITAP
https://itap.nstda.or.th
คณะผู้จด
ั ทำ >>
ดร.พชรพจน์ นันทรามาศ
ผู้อานวยการฝ่ายอาวุโส Global Business Development and Strategy

ดร.พชรพจน์ เป็นนั กเศรษฐศาสตร์ที่มีความเชี่ยวชาญในด้านเศรษฐกิจ


การเง น
ิ และการธนาคาร ปั จ จุ บั น เป็ น ผู้ น าที ม Krungthai Macro
Research ก่ อ น ร่ ว ม ง า น กั บ ธ น า ค า ร ก รุ ง ไ ท ย ด ร . พ ช ร พ จ น์ มี
ประสบการณ์ ทางานที่ ธนาคารไทยพาณิ ชย์ และยังเคยเป็น Assistant
Professor of Economics ที่ San Diego State University ประเทศ
สหรัฐ อเมร ิกา ท างานว ิจั ย ด้ า นเศรษฐกิ จ มหภาคและการเง ินระหว่ า ง
ประเทศ มี ผลงานทางว ิชาการตีพิมพ์ ใน Journal of International
Money and Finance นอกจากนั้ น ยังเคยฝึกงานที่ธนาคารกลางของ
สหรัฐฯ (Fed)

ดร.พชรพจน์ จบการศึ กษาปร ิญญาตร ี (เกียรติ นิยมอันดับหนึ่ ง) สาขา


เศรษฐศาสตร์ จาก มหาว ิทยาลั ยธรรมศาสตร์ และ ปร ิญญาเอก สาขา
เศรษฐศาสตร์ จาก University of Michigan, Ann Arbor ประเทศ
สหรัฐอเมร ิกา

อภินันทร์ สู่ประเสริฐ

รองผู้อานวยการฝ่าย Business Risk and Macro Research

อภิ นั น ทร์ มี ป ระสบการณ์ ใ นการว ิจั ย ธุ ร กิ จ และอุ ต สาหกรรมมากกว่ า


10 ปี ปั จ จุ บั น ดู แ ลว เิ คราะห์ ก ลุ่ ม ธุ ร กิ จ เกษตร และเกษตรแปรรู ป
โดยก่ อนหน้ าอภิ นันทร์มีประสบการณ์ ว ิจัยในหลากหลายอุ ตสาหกรรม
เช่น ธุรกิจค้าปลีก ธุรกิจสื่อสารและโทรคมนาคม รวมทั้งธุรกิจปิโตรเคมี

อภินันทร์ จบการศึกษาปร ิญญาตร ี สาขาการเง ินและการธนาคาร จาก


จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาว ิทยาลั ย และปร ิญญาโททางบร ิหารธุ ร กิ จ (MBA)
มหาว ิทยาลัยธรรมศาสตร์
ดร.กิตติพงษ์ เรือนทิพย์
Senior Economist

ดร. กิตติพงษ์ มี ประสบการณ์ ทางานว ิจัย เศรษฐศาสตร์ด้านการพั ฒนา


แรงงาน และการเง น
ิ โดยมี ค วามเชี่ ย วชาญในการประยุ ก ต์ ท ฤษฎี
เ ศ ร ษ ฐ มิ ติ จุ ล ภ า ค แ ล ะ ข้ อ มู ล ค รั ว เ ร อื น ก่ อ น เ ข้ า ร่ ว ม ง า น กั บ
ธนาคารกรุ งไทย เคยเป็นนั กว ิจัย ที่ Economic Intelligence Center
(EIC) ธนาคารไทยพาณิ ช ย์ สถาบั น ว ิจั ย เพื่ อการพั ฒ นาประเทศไทย
(TDRI) และ Nagoya University และยั ง เคยเป็ น อาจารย์ พิ เ ศษที่
Mahidol University International College (MUIC)

ดร.กิ ต ติ พ งษ์ จบการศึ ก ษาปร ิญญาตร ี สาขาเศรษฐศาสตร์ จาก


มหาว ท
ิ ยาลั ย ธรรมศาสตร์ ปร ิญญาโท Development Economics
จาก University of East Anglia สหราชอาณาจักร และ ปร ิญญาเอก
ด้ านเศรษฐศาสตร์ จากมหาว ิทยาลั ยหอการค้ าไทย โดยเป็นนั กศึ กษา
แลกเปลี่ ยนที่ Massachusetts Institute of Technology (MIT)
สหรัฐอเมร ิกา ภายใต้ทุนโครงการปร ิญญาเอกกาญจนาภิเษก

กัญญาณัฐ รังสิยเวคิน

Analyst

กั ญ ญาณั ฐ มี ป ระสบการณ์ ท างานด้ า นการบั ญ ชี การเง น


ิ และเคย
ฝึกงานเป็นผู้ช่วยนักว ิจัยที่มหาว ิทยาลัยธรรมศาสตร์

กั ญญาณั ฐ จบการศึ ก ษาระดั บ ปร ิญญาตร ี (เกี ย รติ นิ ย มอั น ดั บ สอง)


จากคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาว ิทยาลัยธรรมศาสตร์

You might also like