You are on page 1of 23

ทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙

ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”


"...การพัฒนาประเทศจาเป็นต้องทาตามลาดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐาน
คือ ความพอมี พอกิน พอใช้ ของประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบื้องต้นก่อน
โดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชา
เมื่อได้พื้นฐานมั่นคง พร้อมพอควร และปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้าง
ค่อยเสริมความเจริญ และฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลาดับต่อไป..."
พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศ
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วันที่ 18 กรกฎาคม 2517

“…ทฤษฎีใหม่ ยืดหยุ่นได้
และต้องยืดหยุ่นเหมือนชีวิตของเราทุกคนต้องมียืดหยุ่น…”
พระราชดารัสในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศ
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ณ สวนสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี จังหวัดเพชรบุรี
เมื่อวันที่ 14 กรกฏาคม 2541

ทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”


กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
“ศาสตร์พระราชา” คือ องค์ความรู้ที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศ
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงค้นพบถูกทดลองมาแล้ว
อย่างเป็นระบบมากกว่า 4,000 แห่ง และได้รับการเรียกขานว่า “ทฤษฎี”

ศาสตร์ ทฤษฎี

ศาสตร์ หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือกฎที่จัดไว้อย่างเป็นระบบ ทฤษฎี คือ สมมติฐานที่ได้รับการตรวจสอบและทดลองหลาย


ศาสตร์ หมายถึง กระบวนการและกิจกรรมที่ทาให้ได้ความรู้ ครั้งหลายหน จนสามารถอธิบายข้อเท็จจริง สามารถคาดคะเน
ที่สามารถทดสอบได้ ทานายเหตุการณ์ทั่วๆ ไปที่เกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์นั้นอย่าง
ศาสตร์ ทีพ่ ระองค์ทรงค้นพบถูกทดลองมาแล้ว ถูกต้อง และมีเหตุผลเป็นที่ยอมรับของคนทั่วไป จึงเป็นผลให้
อย่างเป็นระบบ ที่เรียกว่า science หรือ ศาสตร์ สมมติฐานกลายเป็นทฤษฎี

ทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”


กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
เปรียบเทียบการบริหารจัดการน้าระหว่าง “แบบเก่า” กับ “แบบใหม่”
ทฤษฎีเก่า ทฤษฎีใหม่
การเก็บน้าตามฤดูกาลไว้ใน การสร้างพื้นที่รองรับน้าในพื้นที่ของตนเองเพื่อใช้ในการเกษตร โดยไม่ต้องรอ
ที่รองรับน้า เช่น เขื่อน/อ่างเก็บน้า น้าตามฤดูกาลจากเขื่อน/อ่างเก็บน้า ด้วยการยอมปรับพื้นทีท่ าการเกษตร
และใช้ประโยชน์จากน้าโดยรอให้ 20 – 30% สร้างเป็นพื้นที่รองรับน้า จะทาให้มีนาเพี ้ ยงพอต่อการทาเกษตร
น้าผ่านทางคลองชลประทาน ในพื้นที่ของตนเอง ที่เรียกพื้นที่รองรับน้าเป็นภาษาทั่วไปว่า ขุดสระน้า
ไปยังพื้นที่เกษตรนั้น ขุดหนองน้า ทาโคก สร้างฝาย ขุดคลองไส้ไก่ และสามารถปั้น/สร้างคันนา
ซึ่งเป็นการใช้น้าร่วมกันในทั่วทุก ให้มีขนาดใหญ่ เพื่อปลูกพืช ผักเกษตรอื่นๆ ไว้รับประทานได้
พื้นที่รองรับน้า

ทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”


กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
ประโยชน์ของทฤษฎีใหม่
ทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จ
การสร้าง “คันนา” ช่วยกั้นน้าหลาก พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙
ไม่ให้ไหลท่วมในพื้นที่เกษตร ประยุกต์สู่
คันนาที่สูง ทาให้มีน้าขังในนามาก
ปลาและสัตว์น้าก็ได้มาอาศัย

ข้าวจะโตไวและงอกงาม
จากปุ๋ยธรรมชาติ คือ ขี้ปลา
เมื่อมีปลา มีสัตว์น้าอาศัย ก็จะช่วยกันดูแลพืช
คอยกินแมลง และวัชพืชที่ก่อกวนต้นข้าวในนา
ช่วยประหยัดยาฆ่าย่า ยาฆ่าแมลง
สุขภาพดี มีพืช ผัก ปลอดสารพิษ
ไว้รับประทานในครอบครัว

ทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”


กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
คือ การทาเกษตรกรรมที่ถูกพัฒนาจากบรรพบุรุษ
โดยการปรับเปลี่ยนจากฐาน จากดิน จากอารยธรรม
จากบริบทของพื้นที่ จากวัฒนธรรมความเป็นอยู่
ซึ่งเป็นการพัฒนาแบบไม่มีที่สิ้นสุด

“โคก หนอง นา โมเดล” ศาสตร์พระราชา ทฤษฎี การปฏิบัติ


แบ่งเป็น 3 ระดับ : ปรัชญา บันได ขั้น ๙
ทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
ทฤษฎีบันได ๙
สู่ความยั่งยืนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
ขั้น

ทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”


กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
ทฤษฎีบันได
๙ ขั้น
สู่ความพอเพียง
ขั้นพื้นฐาน 1 – 4 ขั้นแรก สร้างได้ดว้ ยการ
1 “ปลูกป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง”
พอกิน “เงินทองเป็นของมายา ข้าวปลาสิของจริง”
2
สามารถแก้ไขปัญหา
ความยากจน
พอใช้ หนี้สิน
ปลูกไม้ให้พอใช้ มีสมุนไพรรักษาโรค
3 ปลู ก ไม้
ใ ห้
พ ออยู ่ คื อ มี ไม้ สาหรั บ สร้
า ง
ทรัพยากรเสื่อมโทรม
พออยู่ ขาดแคลนน้า
ที่อยู่อาศัย ให้ร่มเงา ประโยชน์ของ
4 ป่าเหล่านี้ ทาให้เกิดความ พอร่มเย็น ภัยแล้ง
พอร่มเย็น

5
บุญ 7 “ใช้ภมู ปิ ญั ญาในการเก็บรักษา
“ยิ่งทายิง่ ได้
6 ยิง่ ให้ยงิ่ มี” เก็บ และสร้างมูลค่าเพิ่ม”
ทาน

ขั้นก้าวหน้า 8 “มั่งคั่ง ยั่งยืน” ค้าขายด้วยคุณค่า จากการ


5 - 9 ขั้น ขาย เพิ่มมูลค่า สามารถถ่ายทอดเรื่องราวดี ๆ
ส่งผลต่อให้ผู้บริโภคกินอย่างมีจิตสานึก
9
เครือข่าย “การสร้ างเครือข่ายเชื่อมโยงกัน” “การสร้างพลัง”
เพื่อขยายผลความสาเร็จตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

ความรู้ + คุณธรรม
ทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
เกษตรทฤษฎีใหม่ : หลักการออกแบบพื้นที่ด้วยภูมิสังคม

พื้นที่ลุ่มน้า /
หลุมขนมครก
1 ถาด มีหลายหลุม

1 แปลง
1 หลุม โคก หนอง นา โมเดล
ทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
ภูมิสังคม

ภูมิ สังคม
กายภาพ วัฒนธรรม
ดิน น้า ลม ไฟ ความเชื่อ
ภูมิปัญญา
หลักการออกแบบพื้นที่ด้วยภูมิสังคม : สังคม สาคัญกว่า ภูมิ เพราะฉะนั้นต้องออกแบบตามคนอยู่
(วัฒนธรรมการกิน การอยู่ที่แตกต่างกัน พืช ผักที่กินแตกต่างกัน ความต้องการย้าของพืช ผัก ต่างกัน)

ทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”


กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
การออกแบบหลุมขนมครก โคก หนอง นา
ต้องคานึงถึงตัวแปรสาคัญ คือ “ดิน น้า ลม ไฟ และ คน”
ทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
หลักการออกแบบพื้นที่ด้วยภูมิสังคม
หัวใจสาคัญคือ
รู้จักดิน เตรียมพื้นที่ ความต้องการของ “คน”
รู้ลักษณะของดิน เพื่อใช้ประโยชน์ ออกแบบตามความต้องการ
และรู้วิธีปรับปรุงดิน
น้า จากทิศทางลม ไฟ และวิถีชีวิต
ความเป็นอยู่ของคน

ดิน รู้จักรักษาน้า (ฝน)


จากธรรมชาติ ลม สารวจทิศทาง
ของดวงอาทิตย์ คน
การรู้จักทางน้าเข้าออก ในแต่ละฤดู
เพื่อวางตาแหน่งหนองน้า เพื่อใช้ประโยชน์จากแสงแดด
ที่เหมาะสม

ทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”


กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
ขุดหนอง มาถมทา “โคก”
และโคกควรอยู่ทางทิศตะวันตก

บน “โคก” ให้ปลูกป่า 3 อย่าง


ประโยชน์ 4 อย่าง ควรปลูกไม้ 5 ระดับ
ไม่สูง ไม้กลาง ไม้เตี้ย เรี่ยดิน และพืชหัว

ทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”


กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
การเก็บน้าด้วยโคก หนอง นา โมเดล
การเก็บน้าจากธรรมชาติ (น้าฝน) ไว้ใช้ประโยชน์ในรูปแบบต่าง ๆ

ทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”


กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
การเก็บน้าด้วยโคก หนอง นา โมเดล

1. โคก : การเก็บน้าบนโคก
โดยการเอาดินที่ขุดหนองมาถมเป็นโคก การเก็บ
น้าคือเก็บไว้บนดินในระบบรากของต้นไม้ การ
ปลูกต้นไม้บนโคกควรปลูกไม้ 5 ระดับ ไม่น้อย
กว่า 21 ชนิด และน้าที่ถูกเก็บไว้จะช่วยสร้าง
ความชุ่มชื้นให้กับดิน

ทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”


กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
การเก็บน้าด้วยโคก หนอง นา โมเดล

2. หนอง : การขุดหนองน้า
ต้องคานึงถึงปริมาณน้าฝนและขนาดของพื้นที่
และต้องขุดให้คนโค้ง มีระดับตื้นลึกแตกต่างกัน
ต้องมีการคานวณปริมาตรน้าเพื่อให้เพียงพอ
ต่อการใช้ประโยชน์

ทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”


กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
การเก็บน้าด้วยโคก หนอง นา โมเดล

3. นา : การเก็บน้าในนา
ทาได้ด้วยการยกหัวคันนาขึ้นสูง นาที่ทาก็เป็น
นาน้าลึก ทาให้มีผลผลิตดี บนหัวคันนาสามารถ
ปลูกพืชผัสวนครัวนาไปขายได้ เปรียบเหมือนมี
“หัวคันนาทองคา”

ทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”


กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
การเก็บน้าด้วยโคก หนอง นา โมเดล

4. คลองไส้ไก่ :
คือลาคลองเล็ก ๆ ที่คดเคีย้ วไปมาอยู่ในพื้นที่
เป็นการจัดการน้าเพื่อให้น้าเดินทางในพื้นที่
เกษตรอย่างทั่วถึง และถ้ามีบ่อพักน้าเป็นระยะ
จะทาให้น้าซึมได้อย่างทั่วถึง เป็นการลดภาระ
การรดน้า

ทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”


กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
การเก็บน้าด้วยโคก หนอง นา โมเดล

5. ฝายชะลอน้า :
สร้างขึ้นเพื่อดักตะกอนจากคลองไส้ไก่ หรือ
ทางน้าต่าง ๆ ฝายจะช่วยลดความแรงของน้า
และดะกอน และยังนาตะกอนที่ได้มาทาปุ๋ย
หมักได้อีกด้วย

ทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”


กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
โคก หนอง นา พลิกฟื้นพื้นที่แล้ง
“พระอาจารย์สังคม ธนปัญโญ” เห็นความทุกข์ เห็นความแห้งแล้ง ความลาบาก
ทุกข์ยากของคน จึงได้ใช้หลัก “อริยสัจ 4 คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค” และได้นอ้ มนา
แนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาเป็นแนวทางปฏิบัตใิ ห้เกิดทางพ้นทุกข์

ยายทา คุณวันทา บุญปัญญา เกตรกร คุณสงคราม ขุนสิริ ไม่เชื่อว่า


คนแรกของ จ.สุรินทร์ ที่ทาการเกษตรแบบ เกษตรทฤษฏีใหม่ และการทาไร่ ทานา
โคก หนอง นา ปี 2516 เป็นคนมุง่ มั่น แบบผสมผสาน จะทาให้ยงั่ ยืน
ร่าเริงแจ่มใส แต่คนในครอบครัวไม่เห็นด้วย จนกระทั่งเห็นผลที่เกิดขึ้นจริงในพืน้ ที่

คุณสาเริง สีโกตะเพชร ชาวจังหวัดสุรินทร์


เชื่อมั่นในอาชีพเกษตรกรรมว่าจะเป็นอาชีพ
ที่สร้างความมั่นคงให้ชีวิตได้ และเชื่อว่า
โคก หนอง นา คือแนวคิดที่ทาให้ชาวบ้าน
เข้าใจและปฏิบตั ิตามได้ง่ายขึน้
ทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
คุณบุสดี ขุนสิริ เกษตรทีร่ ักในการทาเกษตร
โดยมีครอบครัวสนับสนุน เห็นด้วย และ วิถีชีวิตที่แตกต่าง
ร่วมกันพัฒนาพืน้ ทีต่ ามแบบ โคก หนอง นา

คุณจารัส คางาม มีพอกินพอใช้จากการทาเกษตร


และเผื่อแผ่แบ่งปัน พืช ผล ให้เพื่อนบ้าน
ด้วยความตระหนักคิดว่า “การสร้างความดี คือแนวทางที่ทาให้อยู่รอดและอยู่ได้
มีแต่คุณ จะช่วยหนุนนาให้สุขทุกคืนวัน”

คุณคานึง อารีเอื้อ ช่างซ่อมจักรยายน


คิดมาตลอดว่าการทานา ก่อให้เกิดหนีส้ ิน
จนได้มาลงมือทา และเปลี่ยนความคิด
มาเป็นเกษตรกร จนยึดเป็นอาชีพหลักในปัจจุบนั
คก หนอง นา
คุณณัชยา แก้วมาลา อดีตสาวโรงงาน
มเดล
เชื่อมั่นในอาชีพเกษตรกรรม ไม่มีเงินเดือน
ไม่มีเงินใช้ แต่มีกินทุกเดือน และมีกินทุกวัน

ทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”


กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
ที่มาของข้อมูล : เกษตรทฤษฎีใหม่ (1 - 8)
ทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙
ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”

You might also like