You are on page 1of 15

โครงงานวิชา

โครงงานวิชา
โครงงานวิชา
ประวัติศาสต
โครงงานวิชา
ประวัติศาสตร์
ร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
สารบัญ

01 02
ความหมายของภูมิปัญญาไทย การนำภูมิปัญญาไทยมาใช้แก้ไขปัญหาประเทศของพระบาท
สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร ผ่านโครงการพระราชดำริ
01
ความหมายของภูมิปัญญาไทย
01 ความหมายของภูมิปัญญาไทย

ภูมิปัญญาไทย
ความหมายภูมิปัญญาไทยหมายถึง ความรู้ ความ
สามารถ ทักษะและเทคนิคการตัดสินใจ ผลิตผล
งานของบุคคล อันเกิดจากการสะสมองค์-ความรู้ทุก
ด้านที่ผ่านกระบวนการสืบทอด พัฒนาปรับปรุง และ
เลือกสรรมาแล้วเป็ น อย่างดีสามารถแก้ไขปัญหา
และพัฒนาวิถีชีวิตของคนไทยได้อย่างเหมาะสมกับ
ยุคสมัย
01 ความหมายของภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทย มีลักษณะเป็ นองค์รวมและมีคุณค่าทางวัฒนธรรมเกิดขึ้นในวิถี
ชีวิตไทย ซึ่งเป็ นภูมิปัญญาท้องถิ่น อาจเป็ นที่มาขององค์ความรู้ที่งอกงามขึ้น
ใหม่ที่จะช่วยให้เกิดการเรียนรู้ แก้ปัญหาการจัดการและการปรับตัวในการ
ดำเนินวิถีชีวิตของคนไทย ภูมิปัญญาไทยมีความเด่นชัด หลายด้าน คือ
1. ด้านเกษตรกรรม ได้แก่ ความสามารถในการผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะ และเทคนิค ด้าน
การเกษตรกับเทคโนโลยี โดยการพัฒนาบนพื้นฐานคุณค่าดั้งเดิม ซึ่งคนสามารถพึ่งพาตนเอง
ในสภาวการณ์ต่าง ๆ เช่น การทำเกษตรแบบผสมผสานที่นอกจากการทำนาแล้ว ยังปลูกพืชผัก
เลี้ยงสัตว์เพื่อนำไปขายสร้างรายได้อีกด้วย

2. ด้านอุตสาหกรรมและหัตถกรรม ได้แก่ การรู้จักประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการ


แปรรูปผลผลิตเพื่อการบริโภคอย่างปลอดภัย ประหยัด และเป็นธรรม อันเป็นกระบวนการให้
ชุมชนท้องถิ่นสามารถพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจได้ ตลอดทั้งการผลิตและการจำหน่ายผลผลิตทาง
หัตถกรรม เช่น การทำเครื่องเรือนจากไม้ การทำเครื่องจักสานจากหวาย การทอเสื่อ การทอผ้า

3. ด้านการแพทย์ ได้แก่ ความสามารถในการจัดการป้ องกันและรักษาสุขภาพของคนใน


ชุมชนโดยเน้นให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองทางด้านสุขภาพและอนามัยได้ เช่น ยาจาก
สมุนไพร มีอยู่หลากหลาย อาทิ การใช้กะเพราเพื่อขับลม แก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้ อ การนวด
แผนโบราณ และการนวดประคบที่ใช้สมุนไพรประกอบการนวด การดูแลและรักษาสุขภาพ
แบบพื้นบ้าน
01 ความหมายของภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทย มีลักษณะเป็ นองค์รวมและมีคุณค่าทางวัฒนธรรมเกิดขึ้นในวิถี
ชีวิตไทย ซึ่งเป็ นภูมิปัญญาท้องถิ่น อาจเป็ นที่มาขององค์ความรู้ที่งอกงามขึ้น
ใหม่ที่จะช่วยให้เกิดการเรียนรู้ แก้ปัญหาการจัดการและการปรับตัวในการ
ดำเนินวิถีชีวิตของคนไทย ภูมิปัญญาไทยมีความเด่นชัด หลายด้าน คือ
4. ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ความสามารถเกี่ยวกับการ จัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทั้งการอนุรักษ์ พัฒนา และการใช้ประโยชน์จาก
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน เช่น การบวชป่ า การสืบชะตาแม่น้ำ
การทำแนวปะการังเทียม การอนุรักษ์ป่ าชายเลน การจัดการป่ าต้นน้ำและป่ าชุมชน

5. ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ความสามารถเกี่ยวกับการ จัดการ


ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทั้งการอนุรักษ์ พัฒนา และการใช้ประโยชน์จาก
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน เช่น การบวชป่ า การสืบชะตาแม่น้ำ
การทำแนวปะการังเทียม การอนุรักษ์ป่ าชายเลน การจัดการป่ าต้นน้ำและป่ าชุมชน

6. ด้านกองทุนและธุรกิจชุมชน ได้แก่ ความสามารถในการสะสมและบริหารกองทุนและ สวัสดิการ


ชุมชน สร้างความมั่นคงให้แก่ชีวิตความเป็นอยู่ของสมาชิกในกลุ่ม เช่น การจัดการกองทุน ของชุมชน
ในรูปของสหกรณ์ออมทรัพย์ รวมถึงความสามารถในการจัดสวัสดิการในการประกัน คุณภาพชีวิตของ
คนให้เกิดความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม โดยการจัดตั้งกองทุน สวัสดิการรักษา
พยาบาลของชุมชน และการจัดระบบสวัสดิการชุมชน
01 ความหมายของภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทย มีลักษณะเป็ นองค์รวมและมีคุณค่าทางวัฒนธรรมเกิดขึ้นในวิถี
ชีวิตไทย ซึ่งเป็ นภูมิปัญญาท้องถิ่น อาจเป็ นที่มาขององค์ความรู้ที่งอกงามขึ้น
ใหม่ที่จะช่วยให้เกิดการเรียนรู้ แก้ปัญหาการจัดการและการปรับตัวในการ
ดำเนินวิถีชีวิตของคนไทย ภูมิปัญญาไทยมีความเด่นชัด หลายด้าน คือ
7. ด้านภาษาและวรรณกรรม ในแต่ละภาคจะมีภาษาถิ่นแตกต่างกัน เช่น ดอกบานไม่รู้โรย ภาษา
ถิ่นเหนือเรียกว่า ดอกตะล่อม ภาษาถิ่นอีสานเรียกว่า ดอกสามปี เที่ยว ภาษาถิ่นใต้เรียกว่า ดอกกุน
หยี ซึ่งการอนุรักษ์ภูมิปัญญาด้านภาษาและวรรณกรรมทำได้หลายวิธี เช่น การจัดทำ สารานุกรม
ภาษาถิ่น การปริวรรตหนังสือโบราณ การฟื้ นฟูการเรียนการสอนภาษาถิ่นของท้องถิ่น ต่าง ๆ รวม
ถึงการอนุรักษ์วรรณกรรมท้องถิ่น เช่น ขุนช้างขุนแผน ไกรทอง การะเกด ชาละวัน โคลงนิราศ
8. ด้านปรัชญา ศาสนา ประเพณี ได้แก่ ความสามารถประยุกต์และปรับใช้หลักธรรม คำสอนทาง
ศาสนา ปรัชญาความเชื่อ และประเพณีที่มีคุณค่าให้เหมาะสมต่อบริบททางเศรษฐกิจ สังคม เช่น
การถ่ายทอดวรรณกรรมคำสอน การบวชป่ าเพื่อรักษาความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ ไม่ให้ถูก
ทำลาย หรือการทำบุญประทายข้าวของชาวอีสาน ซึ่งหลังจากหมดฤดูเก็บเกี่ยวข้าวแล้ว ชาวนาจะ
แบ่งข้าวเปลือกมาถวายทำบุญแก่วัด ซึ่งถือเป็นมงคลสูงสุด

9. ด้านโภชนาการ เนื่องจากประเทศไทยมีความอุดมสมบูรณ์ ในแต่ละท้องถิ่นจึงนำวัตถุดิบ ที่มี


สรรพคุณทางยามาประกอบอาหาร เช่น ภาคเหนือมีแกงฮังเล ไส้ถั่ว น้ำพริกอ่อง ขนมจีนน้ำเงี้ยว
ภาคกลางมีข้าวคลุกกะปิ ขนมจีนน้ำพริก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีส้มตำปลาร้า เนื้อแดดเดี่ยว
ลาบ ซุบหน่อไม้ และภาคใต้มีแกงเหลือง แกงไตปลา
สารบัญ

01 02
ความหมายของภูมิปัญญาไทย การนำภูมิปัญญาไทยมาใช้แก้ไขปัญหาประเทศของ
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดช
มหาราช บรมนาถบพิตร ผ่านโครงการพระราชดำริ
02
การนำภูมิปัญญาไทยมาใช้แก้ไขปัญหาประเทศของพระบาท
สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร ผ่านโครงการพระราชดำริ
02 การนำภูมิปัญญาไทยมาใช้แก้ไขปัญหาประเทศของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ผ่านโครงการพระราชดำริ

การนำภูมิปัญญาไทยมาใช้แก้ไขปัญหาประเทศ
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรง ให้
ความสําคัญต่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงชีวิตความเป็นอยู่ของ
ประชาชน ความเป็นนักพัฒนาผนวกกับพระอัจฉริยภาพของพระองค์ได้ก่อให้เกิดโครงการ
ต่างๆ เพื่อพัฒนา ความเป็นอยู่ของราษฎรมากมาย โครงการพระราชดำริของพระบาท
สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร นั้นมีหลาย
โครงการ อาจแบ่งเป็นประเภทต่าง ๆได้ดังนี้
02 การนำภูมิปัญญาไทยมาใช้แก้ไขปัญหาประเทศของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ผ่านโครงการพระราชดำริ

โครงการด้านการพัฒนาแหล่งน้ำ มีทั้งโครงการพัฒนาแหล่งนํ้าเพื่อการชลประทาน โครงการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อไว้ใช้อุปโภคบริโภค โครงการอนุรักษ์ต้นน้ำลำธาร


โครงการผลิต ในด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งโครงการพระราชดำริเกี่ยวกับการพัฒนา แหล่งน้ำที่สำคัญ เช่น

1) โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา มีจุดเริ่ม ต้นจากที่พระบาทสมเด็จ


พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
เสด็จ พระราชดำเนินไปทอดพระเนตรสภาพน้ำเสียในพื้นที่ หลาย
แห่ง พระองค์จึงนำแนวคิดจาก “หลุก” ซึ่งเป็ น อุปกรณ์วิดน้ำเข้านา
อันเป็ นภูมิปัญญาชาวบ้านมา พัฒนาเป็ น “กังหันน้ำชัยพัฒนา” ขึ้น
เพื่อเป็ นการเติม ออกซิเจนในน้ำเสีย โดยเริ่มทดลองใช้เป็ นครั้งแรก
ใน พ.ศ. 2532
กังหันน้ำชัยพัฒนา
02 การนำภูมิปัญญาไทยมาใช้แก้ไขปัญหาประเทศของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ผ่านโครงการพระราชดำริ

โครงการด้านการพัฒนาแหล่งน้ำ มีทั้งโครงการพัฒนาแหล่งนํ้าเพื่อการชลประทาน โครงการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อไว้ใช้อุปโภคบริโภค โครงการอนุรักษ์ต้นน้ำลำธาร


โครงการผลิต ในด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งโครงการพระราชดำริเกี่ยวกับการพัฒนา แหล่งน้ำที่สำคัญ เช่น

2) โครงการฝนหลวง คือ การจัดการ ทรัพยากรน้ำในชั้นบรรยากาศ


มาใช้ โดยการนำ ไอนําในบรรยากาศมากลั่นตัวเป็ นละอองน้ำจน
เกิด เป็ นเมฆ จากนั้นจึงเร่งให้เมฆรวมตัวกันหนาแน่น จนเกิดเป็ นฝน
ตกลงมา โครงการนี้ช่วยให้เกิด ความชุ่มชื้นในพื้นที่และเพิ่มน้ำให้
แก่แหล่งน้ำ ผิวดินและแหล่งน้ำใต้ดิน ทำให้สามารถแก้ไข ปัญหา
ฝนแล้งได้

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล
อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร กับเครื่องบินทำ
02 การนำภูมิปัญญาไทยมาใช้แก้ไขปัญหาประเทศของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ผ่านโครงการพระราชดำริ

โครงการด้านการเกษตร

โครงการการเกษตรที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรริเริ่มต้นในพระตำหนักสวนจิตรลดาเป็ นที่ทดลองตั้งแต่ พ.ศ.


2505 มีนวัตกรรมหลายอย่าง เช่น การปลูกข้าวทดลอง ป่ าไม้สาธิต การเพาะพันธุ์ปลานิล และระบบผลิตน้ำเย็นด้วย
พลังงานแกลบ นอกจากนี้ยังมีโครงการแปรรูปผลิตภัณฑ์เกษตรต่าง ๆ และทฤษฎีใหม่ในการบริหารจัดการที่ดินและน้ำเพื่อ
เกษตรในที่ดินขนาดเล็ก เป็ นแนวทางในการพัฒนาชุมชนและรักษาสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ เป็ นโครงการที่มีความคิด
นวัตกรรมและยังได้นำรายได้มาพัฒนาต่อไปด้วย
02 การนำภูมิปัญญาไทยมาใช้แก้ไขปัญหาประเทศของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ผ่านโครงการพระราชดำริ

โครงการด้านสิ่งแวดล้อม

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงเห็นความสำคัญของการอนุรักษ์สิ่ง


แวดล้อมเป็ นอย่างยิ่ง ทรงเสนอแนวพระราชดำริ “ป่ า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง” คือการปลูกป่ า 3 อย่าง ได้แก่ ป่ าสำหรับ
นำไม้มาใช้สอย ป่ าสำหรับ เป็ นไม้ผลรับประทานได้ และป่ าสำหรับเป็ นเชื้อเพลิง โดยได้ประโยชน์ 4 อย่าง ได้แก่ นำไม้มา
ใช้สอยได้ นำไม้ผลมารับประทานได้ เป็ นป่ าไม้สำหรับเศรษฐกิจ และใช้ป่ าไม้เป็ นการช่วยอนุรักษ์ดินและน้ำพระบาท
สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ยังให้ความ สำคัญกับเรื่องของดินอีกด้วย เพราะ
ดินมีความสำคัญต่อการเพาะปลูกของเกษตรกร โครงการที่ สำคัญ เช่น ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจาก
พระราชดำริ อำเภอพนมสารคาม จังหวัด ฉะเชิงเทรา เป็ นศูนย์ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการอนุรักษ์น้ำและดิน ศูนย์ศึกษาการ
พัฒนาพิกุลทอง อันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส เป็ นศูนย์ศึกษาวิธีแก้ปัญหา
ขอบคุณสำหรับการรับชมและรับฟังครับ/ค่ะ!

Thank you for watching and listening!

You might also like