You are on page 1of 5

บทที1่

ทำควำมรู้ จัก เมืองรอง


1.1เมืองรองหมำยถึงอะไร
แนวคิ ด โมเดลเศรษฐกิ จ สู่ ก ารพัฒ นาที่ ย งั่ ยื น (BCG Economy) แผนแม่ บ ทภายใต้ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ
ประเด็นการท่องเที่ยว นโยบายรัฐบาลในการสร้างรายได้จาก การท่องเที่ยวและการส่ งเสริ มท่องเที่ยวเมืองรอง
รวมถึงการทบทวนงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
1.2 แนวคิดว่ำด้ วยกำรพัฒนำทีย่ งั่ ยืน และหลักกำรท่องเทีย่ วอย่ำงยัง่ ยืน
คณะกรรมาธิ การโลกว่าด้วยสิ่ งแวดล้อมและการพัฒนา (World Commission on Environment and Development
[WCED], 1990, p. 43) หรื อที่ เรี ยกในอีกนามหนึ่ งว่าคณะกรรมาธิ การบรั นท์แลนด์ (Brundtland Commission)
กล่าวไว้วา่ การพัฒนาที่ยงั่ ยืน คือการพัฒนาที่ยงั่ ยืนเป็ นการพัฒนาที่สนองความ ต้องการของคนรุ่ นปั จจุบนั โดย
ไม่ลดทอนความสามารถของคนรุ่ นต่อมาที่ จะตอบสนองความต้องการของพวกเขา ทั้งนี้ การพัฒนาที่ ยงั่ ยืน
จะต้องทาให้ประชาชนมีคุณภาพชี วิตที่ดีข้ ึน มีระบบสังคมที่เป็ นสังคมธรรมรัฐ มีระบบ การพัฒนาเศรษฐกิจที่
มั่น คง ไม่ จ าเป็ นต้ อ งพึ่ ง พาความช่ ว ยเหลื อ จากภายนอก มี คุ ณ ภาพสิ่ งแวดล้ อ มที่ ดี ประชาชนรู ้ จ ัก ใช้
ทรัพยากรธรรมชาติอย่างรู ้คุณค่า โดยเฉพาะการใช้ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อเป็ นฐานในการ ผลิตเพื่อนาไปสู่ การ
เจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจ (Brundtland commission, 1987) นอกจากนี้องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม
แห่ งสหประชาชาติ (UNESCO) ยังเสนอเพิ่มเติ ม ว่าการพัฒนาที่ ยงั่ ยืนควรตั้งอยู่บน รากฐานทางวัฒนธรรมที่
ยึดถื อคุ ณค่า ของความเป็ นมนุ ษย์ด้วย (UNESCO, 2005, p. 14). (อ้างถึ งใน กระทรวง การท่องเที่ ย วและกี ฬา,
2562, น. 3-2-3-3) ทั้งนี้ หลักการโดยทัว่ ไปของการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน คือ จะต้องมี การอนุรักษ์และใช้ทรัพยากร
อย่างพอเหมาะ เพื่อสามารถใช้ประโยชน์จากทรัพยากร เหล่านั้นได้อย่างยืนยาว และมีการกระจายผลประโยชน์
ให้แก่ชุมชนหรื อผูท้ ี่เกี่ ยวข้อง รวมทั้งมีการร่ วมมือกันอย่างใกล้ชิดระหว่างผูท้ ี่ เกี่ยวข้องหรื อมีส่วนได้ส่วนเสี ย
เมื่ อนาหลัก การนี้ ม าปรั บ ใช้ก ับ การท่ องเที่ ย วอย่า งยัง่ ยืน (Sustainable Tourism) จึ ง เกิ ดเป็ นหลัก การสาคัญ 4
ประการ ดังนี้ (กระทรวงการท่องเที่ยวและกี ฬา, 2562 น.3-15) 1) การท่องเที่ยวแบบยัง่ ยืนต้องสร้ างความยัง่ ยืน
ทางเศรษฐกิ จ หมายถึ ง การท่องเที่ยวต้องสามารถ ตอบสนองความต้องการของของประชาชนในท้องถิ่ นได้
สามารถขจัดความยากจนและความล าบาก เพื่ อให้ ประชาชนในท้องถิ่ น มี ค วามเป็ นอยู่ที่ ดีข้ ึ น หรื อแม้แ ต่
ผูป้ ระกอบการที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ควรจะมีวิธีการดูแลรักษาสิ่ งแวดล้อมควบคู่ไปด้วย เช่น
การจัด การด้า นการโรงแรมจะต้อ งรวมค่ า ใช้จ่ า ยในการ บ าบัด น้ า เสี ย และการลดความเสื่ อ มโทรมของ
สิ่ งแวดล้อมในบริ เวณข้างเคี ยงด้วย 2) การท่องเที่ ยวแบบยัง่ ยืนต้องสร้ างความยัง่ ยืนทางสังคม หมายถึ ง การ
ท่องเที่ยวต้องสนับสนุ นให้ ประชาชนไม่ใช้ทรัพยากรอย่างฟุ่ มเฟื อยและอยูใ่ นขีดจากัดของทรัพยากรนั้น ๆ ที่จะ
รองรับได้ อีกทั้งยังมีการ ส่ งเสริ มและพัฒนารู ปแบบการนาของสี ยกลับมาใช้อีกเพื่อเป็ นการประหยัดและการ
สร้างสมดุลให้กบั ธรรมชาติ
ที่สามารถใช้ประโยชน์ได้ โดยความสัมพันธ์ดงั กล่าวต้องมัน่ คงยาวนานและต้องนาไปสู่ การกระจาย
ผลประโยชน์ในสังคมอย่างเป็ นธรรม 3) การท่องเที่ยวแบบยัง่ ยืนต้องสร้างความยัง่ ยืนทางวัฒนธรรม หมายถึ ง
การท่องเที่ยวที่ตอ้ งสนับสนุ น การรักษาวัฒนธรรมดัง่ เดิมของชุ มชน เพื่อสร้างความภาคภูมิใจแก่ชุมชนและไม่
ทาให้เกิ ดการเปลี่ ยนแปลงใด ๆ ต่อชุ มชน รวมทั้งเป็ นการสื บทอดวัฒนธรรมอันดี กบั คนรุ่ นหลังต่อไป 4) การ
ท่องเที่ยวแบบยัง่ ยืนต้องสร้ างความยัง่ ยืนทางสิ่ งแวดล้อม หมายถึ ง การท่องเที่ยวต้องมีการใช้ ทรัพยากรอย่าง
คุม้ ค่าและชาญฉลาดที่สุด มีการบารุ งรักษาและใช้งานที่อยูใ่ นขอบเขต หากใช้ทรัพยากรการ ท่องเที่ยวจนหมด
สิ้ นไปหรื อใช้จนเสื่ อมโทรมอาจทาให้คนรุ่ นหลังขาดโอกาสในการใช้ประโยชน์ต่อไป
2.2แนวคิดโมเดลเศรษฐกิจสู่ กำรพัฒนำทีย่ งั่ ยืน (BCG Economy)
สานักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรมแห่ งชาติ (2562) ได้ให้คานิยาม ของ BCG
Economy หรื อ เศรษฐกิ จชี วภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิ จสี เขียว (Bio-Circular-Green Economy) คือ
โมเดลเศรษฐกิจสู่ การพัฒนาที่ยงั่ ยืน ซึ่ งเป็ นแนวคิดการนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ นวัตกรรมไปยกระดับ
ความสามารถในการแข่งขันอย่างยัง่ ยืนให้กบั 4 อุตสาหกรรมเป้ าหมาย (S-curves) ได้แก่ อุตสาหกรรมเกษตร
และอาหาร อุตสาหกรรมพลังงานและวัสดุ อุตสาหกรรมสุ ขภาพและการแพทย์ และ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
และบริ การ โดยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมจะเข้าไปช่วยเพิ่ม ประสิ ทธิ ภาพให้กบั ผูผ้ ลิ ตที่เป็ นฐาน
การผลิ ตเดิ ม เช่ น เกษตรกรและชุ มชน ตลอดจนสนับสนุ นให้เกิ ด ผูป้ ระกอบการที่ผลิ ตสิ นค้าและบริ การที่มี
มูลค่าเพิ่มสู งหรื อนวัตกรรม ด้วยการนาเทคโนโลยีนวัตกรรมดิจิทลั สมัยใหม่ที่ช่วยทลายข้อจากัด ให้เกิดการก้าว
กระโดดของการพัฒนาต่อยอด และสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจ อย่างยัง่ ยืน กระจายรายได้ โอกาส และความ
มั่ง คั่ง แบบทั่ว ถึ ง (Inclusive Growth) ด้ว ยการใช้ โ มเดลเศรษฐกิ จ ใหม่ ที่ เ รี ย กว่ า “BCG Model” ซึ่ งมี ค วาม
สอดคล้องกับเป้ าหมายการพัฒนาที่ยงั่ ยืน (SDGs) และสอดรับกับ หลักการของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (SEP)
ซึ่ งเป็ นหลักสาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย สาหรับแนวทางในการดาเนินการสาคัญที่
เกี่ยวกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริ การ เป็ นการให้ ความสาคัญกับการท่องเที่ยวและเศรษฐกิจสร้างสรรค์
(Creative Economy) โดยมุ่งพัฒนาสู่ การท่องเที่ยวที่ ยัง่ ยืนด้วยการใช้จุดแข็งของความหลากหลายทางชี วภาพ
ความหลากหลายทางวัฒนธรรม และทุ นทางปั ญญา มาสร้ า งอัตลัก ษณ์ ข องตนเอง สร้ า งมู ล ค่ าเพิ่ ม ด้วยการ
กระจายแหล่งท่องเที่ยวสู่ เมืองรอง เน้นตลาดคุณภาพ สร้างมาตรฐาน ความ สะดวก สะอาด ปลอดภัย อัตลักษณ์
ของแต่ละพื้นที่ นาเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ บริ หารจัดการและดู แล ระบบนิ เวศอย่างเป็ นระบบ รวมถึ ง
การพัฒนาสู่ ระบบการท่องเที่ยวที่ยงั่ ยืนด้วยการ จัดทาระบบมาตรฐานการ ท่องเที่ยวที่ยงั่ ยืน การจัดทา National
Guideline ด้า นขี ดความสามารถในการ รองรั บ ของแหล่ ง ท่องเที่ ย ว จัดท าระบบบัญชี ต้นทุ นทรั พ ยากรและ
สิ่ งแวดล้อมในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวที่ สาคัญ รวมถึงการปรับ พฤติกรรมของนักท่องเที่ยว และการฟื้ นฟูแหล่ง
เสื่ อมโทรมทางธรรมชาติให้เป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิ งสร้างสรรค์ควบคู่กบั การบริ หารจัดการที่มีประสิ ทธิ ภาพสู ง
ในการรองรับนักท่องเที่ยวและป้ องกัน ปั ญหาความเสื่ อมโทรม ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม รวมทั้ง
การเตรี ยมความพร้อมของ ผูป้ ระกอบการเพื่อลดผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อการดาเนิ น
ธุ รกิ จ ทั้งนี้ ในการพัฒนาเศรษฐกิ จสร้ างสรรค์จะอยู่บนพื้นฐานของการสร้ าง การใช้องค์ความรู ้ และความคิด
สร้ างสรรค์ เชื่ อมโยงกับทุนทางปั ญญา ทุนทางวัฒนธรรม และความหลากหลายทางชี วภาพ เพื่อรังสรรค์เป็ น
ผลิตภัณฑ์หรื อบริ การรู ปแบบใหม่ที่มีมูลค่าเพิ่มสู ง สามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มลูกค้าเป้ าหมายใน
อุ ตสาหกรรมเกษตรและอาหาร อุ ตสาหกรรมพลังงานและวัส ดุ อุ ตสาหกรรมสุ ขภาพและการแพทย์ และ
เชื่ อมโยงกับการท่องเที่ยวผ่านระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ได้ อาทิ การให้ประสบการณ์กบั นักท่องเที่ยวผ่านการ
ท่องเที่ยวเชิ งอาหารไทย การท่องเที่ยวเชิ งกีฬา การท่องเที่ยวเชิ งสุ ขภาพที่เชื่ อมโยงกับการแพทย์แผนไทย การ
ท่องเที่ ยวเชิ งศิ ลปและวัฒนธรรม การท่ องเที่ ย วเชิ ง เกษตร เป็ นต้น รวมถึ ง การพัฒนาเพื่ อส่ งออกสิ นค้า และ
บริ การเหล่านี้ ผ่านของขวัญของฝากที่สร้ างสรรค์อย่างมีอตั ลักษณ์ การจัดการด้านระบบและมาตรฐานที่กากับ
ธุ รกิ จที่เกี่ ยวข้องทัว่ โลก เช่ นเดี ยวกับการมีสมาพันธ์ทางด้านกี ฬา การจัดมหกรรมระดับโลก เป็ นต้น ส่ งเสริ ม
และร่ วมมื อกับภาคธุ รกิ จการท่องเที่ ยว ได้แก่ โรงแรม ร้ านอาหาร และธุ รกิ จบริ การ ในการสร้ างนวัตกรรม
ดิจิทลั รองรับการเข้าสู่ สังคมผูส้ ู งอายุที่จะส่ งผลกระทบโดยตรงกับการท่องเที่ยวในอีก 5-10 ปี ข้างหน้า
2.3แผนแม่ บทภำยใต้ ยุทธศำสตร์ ชำติ ประเด็นกำรท่ องเทีย่ ว
แผนแม่ บ ทภายใต้ยุท ธศาสตร์ ช าติ ประเด็ นการท่ องเที่ ย ว ได้ใ ห้ค วามส าคัญกับ การรั ก ษาการเป็ นจุ ดหมาย
ปลายทางของการท่องเที่ยวระดับโลก โดยจะต้องพัฒนาการท่องเที่ยวทั้งระบบ มุ่งเน้นนักท่องเที่ยวกลุ่ม คุณภาพ
สร้ า งความหลากหลายด้า นการท่ องเที่ ย วให้ส อดคล้องกับ ความต้องการของนักท่ องเที่ ยว และมุ่ง เน้น การ
พัฒนาการท่ องเที่ ย วในสาขาที่ มีศ กั ยภาพ แต่ ยงั คงรั ก ษาจุ ดเด่ นของประเทศด้า นขนบธรรมเนี ย ม ประเพณี
วัฒนธรรม อัตลักษณ์ ความเป็ นไทย ตลอดจนให้คุณค่ากับสิ่ งแวดล้อมและการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน
ตลอดจนการให้ ค วามส าคัญกับ กระจายการท่ องเที่ ย วทั้ง ในมิ ติข องพื้ นที่ และรายได้สู่ ชุ ม ชน ตลอดจนการ
พัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน เพื่อมุ่งสู่ “เป้ าหมายสู งสุ ดของการท่องเที่ยวในการเป็ นเครื่ องมือในการลด ความ
เหลื่อมล้ าของสังคมไทย” โดยแผนแม่บทด้านการท่องเที่ยว ประกอบด้วย 6 แผนย่อย ดังนี้
1) การท่องเที่ยวเชิ งสร้างสรรค์และวัฒนธรรม สร้างสรรค์คุณค่าสิ นค้าและบริ การการท่องเที่ยว มุ่งเน้น
การใช้องค์ความรู ้ และนวัตกรรม ผนวกกับจุดแข็งในด้านความหลากหลายทางทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรม
และวิถีชีวิต เพื่อสร้ างคุ ณค่าให้กบั สิ นค้าและบริ การด้านการท่องเที่ยวที่ตอบสนองพฤติกรรม ความต้องการ
นักท่องเที่ยว และสร้างทางเลือกของประสบการณ์ใหม่ ๆ ให้กบั นักท่องเที่ยว
2) การท่องเที่ยวเชิงธุ รกิจ ส่ งเสริ มให้ไทยเป็ นจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวเชิงธุ รกิจ ครอบคลุม การ
จัดประชุ มและนิ ทรรศการ การจัดงานแสดงสิ นค้า การจัดกิ จกรรมการท่องเที่ยวเป็ นรางวัล การจัด การแข่งขัน
กีฬาระดับนานาชาติ การท่องเที่ยวเชิ งกี ฬา รวมถึ งการพักผ่อนระหว่างหรื อหลังการประกอบธุ รกิ จหรื อการทา
กิจกรรมต่าง ๆ อันเป็ นการดึงดูดกลุ่มนักเดินทางเพื่อธุ รกิจและนักท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ อีกทั้ง ส่ งเสริ มให้การจัด
งานธุ รกิ จและกิ จกรรมต่าง ๆ เป็ นการสนับสนุ นการพัฒนากลุ่มอุตสาหกรรมเป้ าหมายของ ประเทศ เป็ นเวที
แลกเปลี่ยนองค์ความรู ้และเทคโนโลยีที่นาไปสู่ การสร้างสรรค์นวัตกรรม รวมถึงการสร้างเวที เจรจาการค้าและ
การลงทุนของธุ รกิจที่เกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมเป้ าหมาย
3) การท่องเที่ยวเชิงสุ ขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทย พัฒนาและยกระดับมาตรฐาน การท่องเที่ยว
เชิงสุ ขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทย ทั้งสิ นค้าบริ การ บุคลากร ผูป้ ระกอบการ และแหล่ง ท่องเที่ยวตลอด
ห่ วงโซ่ คุณค่าการท่องเที่ยว เน้นสร้ างความแตกต่างและความเป็ นเอกลักษณ์ ความเป็ นไทย ร่ วมกับการใช้องค์
ความรู ้ และภู มิปัญญาไทยต่อยอดกับความคิ ดสร้ างสรรค์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ นวัตกรรม เพื่อสร้ าง
มูลค่าเพิม่ ให้กบั สิ นค้าและบริ การ
4) การท่องเที่ยวสาราญทางน้ า ส่ งเสริ มการท่องเที่ยวทางน้ าให้เป็ นอีกทางเลือกหนึ่ งของการ ท่องเที่ยว
ไทย เป็ นแหล่งสร้ างรายได้ใหม่ให้กบั ประเทศ โดยคานึ งถึงความยัง่ ยืนของแหล่งท่องเที่ยวและการมี ส่ วนร่ วม
ของชุมชน ครอบคลุมการท่องเที่ยวทางทะเลและชายฝั่ง และการท่องเที่ยวในลุ่มน้ าสาคัญ โดยการ ปรับปรุ งและ
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน สาธารณู ปโภค และสิ่ งอ านวยความสะดวกในการท่องเที่ยวทางน้ าให้ได้ มาตรฐาน
สร้ างสรรค์กิจกรรมการท่องเที่ยวที่หลากหลาย ตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยว รวมถึง บริ บทของ
พื้นที่และชุมชนในพื้นที่
5) การท่องเที่ ยวเชื่ อมโยงภู มิภาค ยกระดับ ให้ประเทศไทยเป็ นศู นย์กลางการเชื่ อมโยงเส้ นทางการ
ท่ องเที่ ย วภายในภู มิ ภาคอาเซี ย น โดยใช้ป ระโยชน์ จากที่ ต้ งั ทางภู มิ ศ าสตร์ แผนการลงทุ นพัฒนาโครงข่ า ย
คมนาคมทั้ง ทางถนน ราง น้ า และอากาศ และกรอบความร่ วมมื อกับ ประเทศเพื่อนบ้า น เพื่ อการเชื่ อมโยง
เส้นทางการท่องเที่ยวภายในประเทศ อนุ ภูมิภาค และอาเซี ยน บนฐานอัตลักษณ์ เดี ยวกัน เพื่อส่ งเสริ มให้เป็ น
จุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวร่ วมกัน 6) การพัฒนาระบบนิ เวศการท่องเที่ยว พัฒนาปั จจัยแวดล้อมให้เอื้อต่อ
การยกระดับ ขี ดความสามารถ การแข่ ง ขันด้า นการท่ องเที่ ย วและการจัดการท่ องเที่ ย วอย่า งยัง่ ยืนเพื่ อสร้ า ง
มูลค่าเพิ่มให้กบั การท่องเที่ยวไทย
6) การพัฒนาระบบนิ เวศการท่องเที่ ยว พัฒนาปั จจัยแวดล้อมให้เอื้อต่อการยกระดับขีดความสามารถ
การแข่งขันด้านการท่องเที่ยวและการจัดการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืนเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กบั การท่องเที่ยวไทย
2.4 นโยบำยรัฐบำลในกำรสร้ ำงรำยได้ จำกกำรท่องเทีย่ วและกำรส่ งเสริมท่องเที่ยวเมืองรอง
ค าแถลงประกอบงบประมาณรายจ่ า ยประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 ของพลเอก ประยุท ธ์ จัน ทร์ โ อชา
นายกรัฐมนตรี แถลงต่อสภาผูแ้ ทนราษฎร รัฐบาลได้กาหนดให้ “การสร้ างรายได้จากการท่องเที่ยว” เป็ น 1 ใน
11 เรื่ อง ภายใต้งบประมาณรายจ่า ยบู รณาการ โดยในการสร้ างรายได้จากการท่ องเที่ ย ว งบประมาณทั้ง สิ้ น
4,653.8 ล้านบาท เพื่อให้การท่องเที่ ยวเป็ นกลไกในการขับเคลื่ อนเศรษฐกิ จของประเทศ โดยมี เป้ าหมายเพิ่ม
รายได้จากการท่องเที่ยวและมี อตั ราการขยายตัวของการลงทุนในอุตสาหกรรมและบริ การภาคการท่องเที่ยว
เพิ่มขึ้น ส่ งเสริ มการท่องเที่ยวภายในประเทศควบคู่ไปกับการฟื้ นฟูแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ส่ งเสริ มให้มี
การปรับรู ปแบบและสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่การท่องเที่ยว สร้างความหลากหลายให้การท่องเที่ยว และเพิ่มมูลค่า
ให้แก่สินค้าและบริ การทางสุ ขภาพ พัฒนาภาคการท่องเที่ยวทั้งระบบโดยมุ่งเน้นที่เชิ งคุณภาพมากกว่าปริ มาณ
พัฒนาและปรับปรุ งแหล่งท่องเที่ยวเมืองหลักและเมืองรองให้สอดคล้องกับบริ บทของพื้นที่ พัฒนา โครงสร้าง
พื้นฐานด้านคมนาคม และสิ่ งอานวยความสะดวกเพื่อเชื่ อมโยงต่อเนื่ องไปยังภูมิภาคพัฒนาความ ปลอดภัยและ
การอานวยความสะดวกให้กบั นักท่องเที่ยว พัฒนาบุคลากรและผูป้ ระกอบการด้านการท่องเที่ยว ในทุกระดับ ลด
ความเหลื่ อมล้ าโดยกระจายรายได้จากการท่องเที่ยวสู่ ชุมชน และให้ความสาคัญกับการ พัฒนาการท่องเที่ยว
อย่างยัง่ ยืน (สานักเลขาธิ การนายกรัฐมนตรี , 2564)

You might also like