You are on page 1of 5

แบบ จ.

1-1
(Project Brief รายโครงการ)

การจัดทาแบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project Brief) ของทุกโครงการภายใต้งบประมาณของจังหวัด


แบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project Brief)

ประเด็นการพัฒนาจังหวัด ..................................................................
แผนงาน (เป็นโครงการภายใต้แผนงาน ตามแบบ จ.๑)

หัวข้อ รายละเอียด
๑. ชื่อโครงการ โครงการส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาอาชี พ ด้ า นการเพาะเลี้ ย งสั ต ว์ น้ า
ภายใต้ โ ครงการพั ช รสุ ธ าคชานุ รั ก ษ์ ใ นเขตพื้ น ที่ ป่ า รอยต่ อ
5 จังหวัดภาคตะวันออก
2. ความสาคัญของโครงการ ป่ารอยต่อ 5 จังหวัด ผืนป่าขนาดใหญ่ในภาคตะวันออก
หลักการและเหตุผล ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดจันทบุรี จังหวัดระยอง
จั ง ห วั ด ช ล บุ รี แ ล ะ จั ง ห วั ด ส ร ะ แ ก้ ว มี พื้ น ที่ ป ร ะ ม า ณ
1,363,323.05 ไร่ หรือประมาณ 2,181.32 ตารางกิโลเมตร
ซึ่งประกอบด้วยเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างฤๅไน เขตรักษาพันธุ์
สัตว์ป่าเขาสอยดาวอุทยานแห่งชาติเขาสิบห้าชั้น อุทยานแห่งชาติ
เขาคิฌชกูฏ และอุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวงจากข้อมูลจาก
การส้ า รวจ มี ก ารพบสั ต ว์ เ ลี้ ย งลู ก ด้ ว ยนมทั้ ง สิ้ น 144 ชนิ ด
นก 409 ชนิ ด สั ต ว์ ส ะเทิ น น้้ า สะเทิ น บก พบ 43 ชนิ ด
สั ต ว์ เ ลื้ อ ยคลาน พบ 121 ชนิ ด และปลาน้้ า จื ด ส้ า รวจพบ
94 ชนิด ซึ่งชนิดพันธุ์สัตว์ป่าที่ส้ารวจพบคิดเป็นร้อยละ 31.54
ของสัตว์ป่าที่พบในประเทศไทย จึงนับได้ว่าป่ารอยต่อ 5 จังหวัด
เป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพมากแห่งหนึ่ง อีกทั้งยัง
เป็ น แหล่ ง ที่ อ ยู่ อ าศั ย ของช้ า งป่ า อี ก จ้ า นวนไม่ น้ อ ย คาดว่ า มี
ประชากรช้างป่าจ้า นวนทั้งสิ้นราว 364 ตัว และแบ่งออกเป็น
10 ฝู ง ใหญ่ ขนาดประชากรในฝู ง มากกว่ า 20 ตั ว ขึ้ น ไป
จากข้ อ มู ล จากการประเมิ น ภาพถ่ า ยทางดาวเที ย มของส่ ว น
สารสนเทศด้ า นการอนุ รั ก ษ์ สั ต ว์ ป่ า ส้ า นั ก อนุ รั ก ษ์ สั ต ว์ ป่ า
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช (2558) พบว่า พื้นที่
ถิ่ น ที่ อ ยู่ อ าศั ย ที่ เ หมาะสมของช้ า งป่ า ที่ มี ค วามเหมาะสมมาก
ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างฤๅไน ซึ่งเป็น
พื้นที่ค่อนข้างราบ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยที่กล่าวถึงพฤติกรรม
และลักษณะถิ่นที่อยู่อาศัยของช้างป่าที่มักจะหลีกเลี่ยงการอาศัย
อยู่ในพื้นที่สูงชัน ซึ่งจะท้า ให้สิ้นเปลืองพลังงานในการด้า รงชีวิต
มากกว่าการอาศัย อยู่ในพื้นที่ราบ ประกอบกับปัจจัยแวดล้อม
ของพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สั ตว์ป่าเขาอ่างฤๅไนที่มีแหล่งน้้า แหล่ง
โป่ง และมีสภาพพื้นที่ป่าที่เหมาะสมมากต่อการใช้ประโยชน์ของ
ช้างป่าด้วย
แต่ ท ว่ า ในปั จ จุ บั น พื้ น ที่ ป่ า ได้ ถู ก รุ ก ล้้ า ทั้ ง บริ เ วณรอบ
ชายป่าและการบุกรุ กเข้ าไปในพื้นที่ ป่า เปลี่ ยนแปลงพื้น ที่ เ ป็ น
พื้นที่เกษตรกรรม ท้าให้ถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติของช้างป่าจึง
ลดลงเรื่อยๆ และเป็นการบีบบังคับให้ช้างป่าออกหากินนอกพื้นที่
ป่าอนุรักษ์ และเข้ามาหากินในพื้นที่เกษตรกรรมที่อยู่ชิดเขตพื้นที่
ป่า รวมถึงการที่ชุมชนมีแหล่งน้้าเพื่อการเกษตร ก็เป็นอีกปัจจัย
หนึ่ ง ในการดึ ง ดู ด การเข้ า มาใช้ ป ระโยชน์ ข องช้ า งป่ า และมี
แนวโน้ ม ที่ ช้ า งจะอยู่ ป ระจ้ า นอกพื้ น ที่ ป่ า อนุ รั ก ษ์ ต่ อ ไป
จึงกลายเป็นปัญหาความขัดแย้งระหว่างราษฎรในพื้นที่กับช้างป่า
ที่นับวันยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้นทุกที ซึ่งมีทั้งการที่ช้างป่าเข้ามา
ท้าลายพืชผลการเกษตร หรือท้า ร้ายราษฎรในพื้นที่ การตอบโต้
ของราษฎรที่ท้าร้ายช้างป่า ท้าให้เกิดความสูญเสียทั้งชีวิตคนและ
ช้างป่า และทรัพย์สินอื่นๆอีกมากมาย
ปั ญ หาช้ า งป่ า บุ ก รุ ก พื้ น ที่ เ กษตรกรรมของเกษตรกร
ในเขตอ้าเภอท่าตะเกียบ และอ้าเภอสนามชัยเขต เนื่องมาจาก
ภัยแล้งท้าให้ช้างป่าขาดแคลนแหล่งอาหารท้าให้มีการเคลื่อนย้าย
พื้นที่หากิน ลงมาที่แปลงเกษตรกรรมของประชาชน ท้าความ
เสียหายแก่พืชผลทางการเกษตรของเกษตรกร ก่อให้เกิดความ
ขั ด แย้ ง ระหว่ า งประชาชนในพื้ น ที่ ใ นการอยู่ ร่ ว มกั น กั บ ช้ า งป่ า
ใ นการนี้ พ ระบาท สมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ฯ ท รงแ ต่ ง ตั้ ง
คณะกรรมการเพื่ อ จั ด ท้ า โครงการอนุ รั ก ษ์ ช้ า งป่ า รอยต่ อ
5 จังหวัด ในภาคตะวันออกไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ และทรงรับ
เป็นประธานที่ปรึกษาโครงการฯ โดยพระราชทานชื่อโครงการฯ
ว่า “โครงการพัชรสุธา คชานุรักษ์” ซึ่งแปลว่า “น้้าทิพย์รักษาช้าง
ให้ แ ข็ ง แกร่ ง ยื น ยงดุ จ เพชร” ตามพระบรมราโชบายที่ จ ะให้
อนุรักษ์ช้างป่าและการอยู่ร่วมกันอย่างสมดุลระหว่างคนและช้าง
อย่างมีสุข และทรงสืบสาน รักษา ต่อยอด แนวพระราชด้าริของ
พระบาทสมเด็ จ พระบรมชนกาธิ เ บศร มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช
มหาราช บรมนาถบพิ ต ร ที่ พ ระราชทานไว้ ตั้ ง แต่ ปี 2562
เกี่ยวกับการจัดการความขัดแย้งของคนกับช้างป่า
เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2546 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงมีพระราช
เสาวนีย์กับพลตรีประยุทธ์ จันทร์โอชา ผู้บัญชาการกองพลทหาร
ราบที่ 2 รักษา พระองค์ ความตอนหนึ่งว่า “ขอให้ทหารดูแล
เรื่องป่าไม้และน้้า โดยเฉพาะพื้นที่ป่ารอยต่อ 5 จังหวัด และป่า
เขาใหญ่ ขอให้ทหารและกรมป่าไม้ รวมทั้งส่วนราชการอื่น ๆ
ปลูกฝังแนวคิดให้กับประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่อยู่ร่วมกับป่า
อย่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน โดยไม่เข้าไปรบกวนป่า ตลอดจน
พั ฒ นาอาชี พ ให้ กั บ ประชาชนให้ มี ร ายได้ เ พิ่ ม ขึ้ น ด้ ว ย จาก
พระราชด้าริและพระราชเสาวนีย์ดังกล่าว กรมประมง ได้ร่วม
ด้ า เนิ น โครงการอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรป่ า ไม้ ใ นพื้ น ที่ ป่ า รอยต่ อ
5 จังหวัด (ภาคตะวันออก) อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ ตั้งแต่
พ.ศ. 2548 โดยได้ ด้ า เนิ น กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม และพั ฒ นา
การเพาะเลี้ยงสัตว์น้า โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาให้ราษฎรมี
ความรู้และทักษะในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า ซึ่งจะท้าให้ราษฎรมี
อาหารโปรตีนบริโภคมากขึ้นและสามารถเลี้ยงเพื่อจ้าหน่าย เป็น
การเพิ่ ม รายได้ ใ ห้ แ ก่ ค รั ว เรื อ นอี ก ทางหนึ่ ง โดยมี เ ป้ า หมาย
ด้ า เนิ น การจั ง หวั ด ละ 50 ครั ว เรื อ นต่ อ ปี ในพื้ น ที่ เ ป้ า หมายที่
ก้าหนด 2 ประเภทคือหมู่บ้านเร่งด่วนการพัฒนา และหมู่บ้าน
พัฒนาปกติ ซึ่งจังหวัดฉะเชิงเทรามี พื้นที่เป้าหมาย 19 หมู่บ้าน
ประกอบด้วย หมู่บ้านเร่งด่วนการพัฒนา 5 หมู่บ้าน และหมู่บ้าน
พัฒนาปกติ 14 หมู่บ้าน
จากข้ อ จ้ า กั ด ของโครงการอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรป่ า ไม้
ในพื้นที่ป่ารอยต่อ 5 จังหวัด (ภาคตะวันออก) อันเนื่องมาจาก
พระราชด้ า ริ ที่ มี ก ารระบุ พื้ น ที่ ด้ า เนิ น การ ท้ า ให้ ผู้ ที่ ไ ด้ รั บ
ผลกระทบจากช้างป่าและมีพื้นที่อยู่นอกพื้นที่เป้าหมายที่ก้าหนด
ไม่ ส ามารถเข้ า ร่ ว มโครงการได้ ส้ า นั ก งานประมงจั ง หวั ด
ฉะเชิงเทรา จึงได้จัดท้า โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพด้าน
การเพาะเลี้ ย งสั ต ว์ น้ า ภายใต้ โ ครงการพั ช รสุ ธ าคชานุ รั ก ษ์
ในเขตพื้นที่ป่ารอยต่อ 5 จังหวัดขึ้นเพื่อบรรเทาความเดือดร้อน
ให้ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากช้างป่า
3. วัตถุประสงค์ของโครงการ 3.1 เพื่อสนองพระบรมราโชบายและพระราชด้าริตามโครงการ
พัชรสุธาคชานุรักษ์
3.2 เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนให้ราษฎรที่ได้รับผลกระทบจาก
ช้างป่า
3.3 เพื่อสร้างเสริมอาชีพทางเลือกให้เกษตรกรให้มีรายได้เพิ่มขึ้น
3.4 เพื่อบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้ง
ภาครัฐและเอกชน
4. ตัวชี้วดั และค่าเป้าหมาย 4.1 เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ด้านการเพาะเลี้ ยง
สัตว์น้า จ้านวน 100 ราย
4.2 ผู้เข้าร่วมโครงการน้าความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการพัฒนาอาชีพ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
4.3 เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถถ่ายทอดความรู้ให้แก่
ผู้อื่นได้ร้อยละ 70
4.4 เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการ มีรายได้เพิ่มขึ้น ไม่น้อ ยกว่ า
30,000 บาท
5. พืน้ ที่เป้าหมาย หมู่บ้านคชานุรักษ์ อ้าเภอท่าตะเกียบ และอ้าเภอสนามชัยเขต
จังหวัดฉะเชิงเทรา
6. กิจกรรมหลัก 6.1 ประชาสัมพันธ์ สร้างการรับรู้แก่เกษตรกรผู้สนใจเข้าร่วม
โครงการ ชี้แจงวัตถุประสงค์ และรับสมัครเกษตรกรผู้เข้าร่วม
โครงการด้วยความสมัครใจ มีความพร้อมด้านสถานที่ มีความ
มุ่งมั่นในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม
6.2 อบรมให้ความรู้ด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าที่เหมาะสมกับ
พื้นทีใ่ ห้ผู้เข้าร่วมโครงการ
6.3 สนับสนุนปัจจัยด้านการเกษตรให้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ
6.3.1 กระชังบก รายละ 1 กระชัง
6.3.2 ลูกพันธุ์กบ รายละ 1,000 ตัว
6.3.3 อาหารกบ เบอร์ 1 รายละ 1 กระสอบ
6.4 ติดตามให้ค้าแนะน้าผู้เข้าร่วมโครงการ
6.1 กิจกรรมหลักที่ 1 งบประมาณ 300,720 บาท
งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ กลุ่มบริหารจัดการด้านการประมง ส้านักงานประมง
ผู้รับผิดชอบ จังหวัดฉะเชิงเทรา
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
6.2 กิจกรรมหลักที่ 2 -
งบประมาณ
ผู้รับผิดชอบ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
7. หน่วยงานดาเนินงาน ส้านักงานประมงจังหวัดฉะเชิงเทรา
8. ระยะเวลาในการดาเนินงาน เดือนตุลาคม 2563 ถึงเดือนกันยายน 2564
9. งบประมาณ งบประมาณ 300,720 บาท
แหล่งที่มาของงบประมาณ งบพัฒนาจังหวัดฉะเชิงเทรา
10. ผลผลิต (Output) 10.1 เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ด้านการเพาะเลี้ยง
สัตว์น้า จ้านวน 100 ราย
10..2 ผู้เข้าร่วมโครงการน้าความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการพัฒนา
อาชีพไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
10.3 เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถถ่ายทอดความรู้ให้แก่
ผู้อื่นได้ร้อยละ 70
10.4 เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการ มีรายได้เพิ่มขึ้ นไม่น้อยกว่า
30,000 บาท
๑1. ผลทีค่ าดว่าจะได้รบั 11.1 ผลกระทบจากการถูกช้างป่าท้าลายพืชผลการเกษตรของ
(Outcome) เกษตรกรลดลง
11.2 เกษตรกรมีอาหารโปรตีนบริโภค และมีรายได้เสริมจาก
การจ้าหน่ายผลผลิต
11.3 แก้ปัญหาช้างป่า ให้คนกับช้างอยู่ร่วมกันได้ สภาพแวดล้อม
และสังคมดีขึ้น
11.4 เกิดการบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้ง
ภาครัฐและเอกชน

You might also like