You are on page 1of 25

1

กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ตอบโจทย์ แผนการปฎิรูปประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติ


และสิ ่ งแวดล้ อ ม ใน ข้ อ 3 หยุ ด ยั ้ งและป้ อ งกั น การทำลาย
Depament of National Praks,Wildlife and
ทรัพยากรป่าไม้เชิงพื้นที่
Plant Conservation ** ปัจจุบันมีพื้นที่อนุรักษ์ที่ได้ใช้ระบบนี้ทั้งหมด 204 แห่ง
สถาปนาเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2545 NCAPS กล้องบันทึกภาพแบบ real time
เว็บไซต์ : portal.dnp.go.th
อธิบดีกรมอทุยานคนแรก คือ ปลอด
ประสพ สัรสวดี ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการป้องกันและปราบปราม
อธิบดีกรมอทุยานคนล่าสุด คือ ธัญญา เนติธรรมกุล การลักลอบทำลายทรัพยากรในระบบ NCAPS
วิสัยทัศน์ : เพิ่มพื้นทีป่ ่าอนุรักษ์ให้ได้ร้อยละ 25 ของประเทศ 1. การวางแผนปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ
ภายใน ปี 2569 2. การบังคับใช้กฎหมาย
พันธกิจ 1. อนุรักษ์ คุ้มครองและฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า 3. อุปกรณ์และเทคโนโลยี
2. วิจัย พัฒนา และให้บริการด้านวิชากร 4.ความพร้อมของเจ้าหน้าที่
3. บริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่าโดย การแก้ไขปัญหาที่ดินราษฎรในเขตป่า
กระบวนการมีส่วนร่วมบนพื้นฐานเทคโนโลยีที่เหมาะสม
อนุรักษ์ ตาม มติเมื่อวันที่ 26 พ.ย.
4. ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุลและ
2561
ยั่งยืน
การแก้ ไ ขปั ญ หาที ่ อ ยู ่ อ าศั ย -ทำกิ น ในพื ้ น ที ่ ป ่ า ไม้ มี
***1362 กรมอุทยานฯ (รุกป่า ล่าสัตว์ ตัดไม้
กลุ่มเป้าหมาย 5 กลุ่ม หรือเรียกว่า รถไฟ 5 ขบวน
พบไฟป่า)
กลุ่มที่ 1 ชุมชนในเขตป่าสงวน/ลุม่ น้ำชั้น 3,4,5 ก่อน มติ ครม
***1310 กระทรวงทรัพยากรฯ (Green Call)
30 มิ.ย 41 ทำกินได้ไม่เกิน 30 ปี ตามนโยบาย คทช.
นโยบายเกี่ยวกับป่าไม้ กลุ่มที่ 2 ชุมชนในเขตป่าสงวน/ลุม่ น้ำชั้น 3,4,5 หลัง มติ ครม
การป้องกันรักษาป่า 4.0 30 มิ.ย 41 ให้ปลูกป่าเศรษฐกิจ 50% ของพื้นที่ แปลงรวม
1. SMART PATROL กลุ่มที่ 3 ชุมชนในเขตป่าสงวน/ลุม่ น้ำชั้น 1,2 ก่อนและหลัง
2. NCAPS มติ ครม 30 มิ.ย 41 ให้ปลูกป่า3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง
3. สายด่วน 1362 กลุ่มที่ 4 ชุมชนในเขตป่าอนุรักษ์
4. กระต่ายน้อยจับโจร ก่อน มติ ครม 30 มิ.ย 41 สำรวจการครอบครอง Ortho 45
5. ชุดเหยี่ยวดง ระหว่างปี 41- 17 มิ.ย 57
6. พญาเสือ คำสั่ง คสช. 64/57 ถ้าเป็นนายทุน (จับหมด)
Smart patrol System : ร ะ บ บ ลา ดต ระเวนที ่ เ ป็ น คำสั่ง คสช 66/57 ถ้าเป็นผู้มรี ายได้น้อยไม่จับ แจ้งเตือน
รูปแบบ มาตรฐานในการปกป้องรักษาทรัพยากรธรรมชาติที่มี ให้ออกจากพื้นที่ในเวลาที่กำหนด
มูลค่าสูงให้คงอยู่ในพื้นที่อนุรักษ์ทั่วโลก มีความทันสมัยโดยใช้ หลัง 17 มิ.ย 57 จับหมด ห้ามทำกิน ห้ามอยู่
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเสริมในการทำงานของเจ้าหน้าที่ กลุ่มที่ 5 ชุมชนในเขตพื้นที่ป่าชายเลน
2

การตรวจสอบการครอบครองที่ดนิ นั้นใช้ภาพถายทาง 2. มั่นคงด้านน้ำ


อากาศออรโธส มาตราส่วน 1 : 4,000 และระวางแผนที่ภมู ิ 3. ลดมลพิษให้มีคุณภาพดีขึ้น
ประเทศ มาตราสวน 1:50,000 4. ลดก๊าซเรือนกระจก รับมือกับภัยพิบัติ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 รมว.ทส. ได้ ก ล่ า วถึ ง การกำหนดแผนปฏิ บ ั ต ิ ก ารโดย
(2559-2564) มีทั้งหมด 10 ยุทธศาสตร์ โดยยุทธศาสตร์ที่ แบ่งเป็น 4 มาตรการ คือ
เกี่ยวข้องกับป่าไม้คือ มาตรการที่ 1.การจัดการป่าไม้เพื่อการอนุรักษ์
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อ การป้องกันรักษาป่า 4.0
การพัฒนาอย่างยั่งยืน - ศปก.พป (ชุดเหยี่ยวดง พญาเสือ ฉลามขาว)
สัดส่วนพื้นที่ป่าเป็น 40% - SMART PATROL
- ป่าอนุรักษ์ 25% - NCAPS
- ป่าเศรษฐกิจ 15% - กระต่ายน้อยจับโจร
- พื้นที่ป่าชายเลนเพิ่มจาก 1.53 ล้านไร่ > 1.58 - สายด่วน 1362
วัตถุประสงค์ มาตรการที่ 2.การจัดการป่าไม้เพื่อการสนับสนุนการพัฒนา
1. รักษา ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและมีการใช้ประโยชน์ ประเทศ - อุทยานสีเขียว
อย่างยั่งยืนและเป็นธรรม - การศึกษาวิจัย
2. สร้างความมั่นคงด้านน้ำของประเทศ และบริหารจัดการ มาตรการที่ 3.การจัดการป่าไม้เพื่อเศรษฐกิจและสังคม
ทรัพยากรน้ำทั้งระบบให้มีประสิทธิภาพ การแก้ไขปัญหาต่าง ๆ
3. บริหารจัดการสิ่งแวดล้อม และลดมลพิษให้มีคุณภาพดีขึ้น - การจัดการที่ดิน (การแก้ไขปัญหาที่ดินราษฎรใน
4. พัฒนาขีดความสามารถในการลดก๊าซเรือนกระจกและ เขตป่าอนุรักษ์)
การปรั บ ตั ว เพื ่ อ ลดผลกระทบจากการเปลี ่ ย นแปลงสภาพ - การบริหารอุทยานทางทะเล
ภูมิอากาศ และการรับมือกับภัยพิบัติ - แก้ไขปัญหาช้างป่า
- แก้ไขปัญหาคนกับสัตว์
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (2561-2580)
- โครงการป่าในเมือง
วิ ส ั ย ทั ศ น์ “ประเทศไทยมี ค วามมั ่ น คง มั ่ ง คั ่ ง ยั ่ ง ยื น เป็ น
มาตรการที่ 4. การปฏิรูปการจัดการป่าไม้เพื่อความยั่งยืน
ประเทศพั ฒ นาแล้ ว ด้ ว ยการพั ฒ นาตามหลั ก ปรั ช ญาของ
- การลงทะเบี ย นต้ น ไม้ ผ ่ า นระบบ E-tree ให้ กั บ
เศรษฐกิจพอเพียง”
ประชาชน เพื่อส่งเสริมการค้าไม้ และการลงทุนกระตุ้นการ
มีทั้งหมด 6 ยุทธศาสตร์ โดยด้านที่เกี่ยวกับป่าไม้คือ
ปลูกป่า
ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่
เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 3 เกาะติด 3 ปฏิบัติการ สปก พื้นที่ป่า
พื้นที่สีเขียว 55% ของประเทศไทย เกาะติดพื้นที่ ปฏิบัติทันที
- ป่าธรรมชาติ 35 % เกาะติดประชาชน ปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม
- สวนป่า 15 % เกาะติดกระบวนการ ปฏิบัติโดยใช้เครือข่ายภาค ปชช
- สวนสาธารณะ ป่าไม้ในเมือง 5 % ศปก. พป.: ศูนย์ปฏิบัติการพิทักษ์/เพื่อการบรูณาการ
วัตถุประสงค์ ปฏิบัติงานของชุดปฏิบัติงานพิเศษ 3 กรม
1. รักษา ฟื้นฟู - พยัคฆ์ไพร กรมป่าไม้
- พญาเสือ/เหยี่ยวดง กรมอุทยาน
3

- ฉลามขาว กรมทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง พื้นที่ที่มีความสวยงามเหมาะแกการสงวนรักษาไว้ให้เป็น


นโยบายการปลูกป่าของอส. เลือกพันธุ์ไม้ที่เคยขึ้นอยู่เดิมใน แหล่งคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
พื้นที่เป็นอันดับแรก ให้ปลูกคละกันไม่น้อยกว่า 5 ชนิด สวนรุกขชาติ (Arboretum)
มติ ครม ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับป่าไม้ - รวบรวมพันธุ์ไม้ ไม้ยืนต้นที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ
มติ ครม. เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2535 - ไม้นั้นอยู่ในท้องถิ่นนั้น ๆ
จําแนกเขตและมาตรการการใช้ประโยชน์ทรัพยากรและ - ไม่แยกเป็นหมวดหมู่
ที่ดินป่าไม้ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ แบ่งเป็น 3 เขต ดังนี้ สวนพฤกษศาสตร์ (Botanical garden)
1. เขตพื้นที่ปา่ ไม้เพื่อการอนุรักษ์ (Conservation Zone : C) - รวบรวมไม้มีค่าทางเศรษฐกิจ
2. เขตพื้นที่ปา่ ไม้เพื่อเศรษฐกิจ (Economic Zone : E) - พันธุ์ไม้ต่างชาติและท้องถิ่น
3. เขตพื ้ น ที ่ ป่ า ไม้ เ พื ่ อ การเกษตรกรรม (Agricultural - จัดเป็นหมวดหมู่
Zone : A) - สวยงามและหายาก
มติ ครม. เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 พื้นที่สงวนมณฑล
เห็นชอบมาตรการและแนวทางแก้ไขปัญหาที่ด ิ น ใน ในประเทศไทยมี 4 แห่ง
พื้นทีป่ า่ ไม้ แบ่งเป็น 2 ด้าน 1. สะแกราช (กระทรวงวิทย์ฯ)
1. ด้านการจัดการทรัพยากรที่ดินและป่ าไม้ (ป่าสงวน 2. ห้วยคอกม้า (กรมอุทยานฯ)
ป่า ป่าอนุรักษ์ตามกฎหมาย ป่าตาม มติ ครม ต่าง ๆ) 3. ห้วยทาก (กรมอุทยาน)
2. ด้านการป้องกันพื้นที่ปา่ และอื่น ๆ 4. ป่าชายเลน จ.ระนอง (ทช)
พื้นที่อนุรักษ์ เตรียมประกาศ 2 แห่ง : เชียงดาว และ ตะรุเตา
IUCN แบ่งประเภทพื้นที่อนุรักษ์ไว้ 6 ประเภท การประกาศพื้นที่อนุรักษ์
I Wildemess (ป่าเปลี่ยวอนุรักษ์) พระราชกฤษฎีกา/กฎหมาย
II National Park การจัดการเพื่อการคุ้มครองป้ องกันระบบ อุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ไม้หวงห้าม ของป่า
นิเวศและนันทนาการพื้นที่ทางบก/ทะเล จัดขึ้น เพื่อป้องกัน หวงห้าม สัตว์ป่าสงวน
รักษาความมั่นคงทางนิเวศของระบบนิเวศในระบบนิเวศใด กฎกระทรวง
ระบบนิเวศหนึ่ง เพื่อคนรุ่นปัจจุบันและอนาคต ไม่มีการใช้ ป่าสงวนแห่งชาติ สัตว์คุ้มครอง เขตห้ามล่าสัตว์ป่า
ประโยชน์หรือครอบครอง เปิดโอกาสให้มีการใช้ประโยชน์ด้าน
ประกาศของรัฐมนตรี
วิ จ ั ย ศึ ก ษาหาควารู ้ และนั น ทนาการที ่ ส อดคล้ อ งกั บ
สัตว์ป่าคุ้มครองที่เพาะพันธุ์ สัตว์ป่าควบคุม
สภาพแวดล้อมและวัฒนธรรมท้องถิ่น
มติ ครม/นโยบาย
III Natural Monument (อนุเสาวรีธรณี)
วนอุทยาน สวนรุกขชาติ สวนพฤกษศาสตร์
IV Wildlife Sanctuary (เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า)
V Protected landscape
VI Resource Reserve Area
**ประเทศไทย อุทยานแห่งชาติอยู่ใน II , ขสป อยู่ใน IV
วนอุทยาน อุทยานแห่งชาติ
4

ความหมายตาม พรบ อุทยานแห่งชาติ 2562 “พื้นที่ที่มีความ 3. กลุ่ม อช. หมู่เกาะสุรินทร์ หมู่เกาะสิมิลัน-อ่าวไทย


โดดเด่ น สวยงามทางธรรมชาติ เ ป็ น พิ เ ศษหรื อ มี ค วาม 4. กลุ่มป่าแก่งกระจาน
หลากหลายทางชี ว ภาพ ระบบนิ เ วศ ทรั พ ยากรธรรมชาติ 5. อช.หาดเจ้าไหม-เขตห้ามล่าสัตว์ป่าหมู่เกาะลิบง
สิ่งแวดล้อมและสัตว์ป่าหรือพืชป่าประจำถิ่นที่หายากหรือใกล้ 6. อช.หมู่เกาะอ่างทอง
สูญพันธุ์ ฯลฯ” วัตถุประสงค์ของอุทยานแห่งชาติ
อุทยานแห่งชาติในประเทศไทย มีทั้งหมด 155 แห่ง 1. เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
- ประกาศแล้ว 133 แห่ง New อช.ดอยจง จังหวัด ลำพูน 2. เพื่อเป็นแหล่งศึกษา ค้นคว้า วิจัยทางวิชาการ
- เตรียมการ 22 แห่ง (เตรียมการล่าสุด อช.ถ้ำขุนน้ำนางนอน) 3. เพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยว พักผ่อน หย่อนใจ
อุทยานแห่งแรก ประเทศไทย : อช.เขาใหญ่ 18/9/2505 หลักเกณฑ์
โลก : Yellowstone 1/3/1872 (2415) 1. ต้องมีพื้นที่ไม่น้อยกว่า 10 ตารางกิโลเมตร **
อช.เขาใหญ่ ครอบคลุม : นครราชสีมา ปราจีนบุรี นครนายก 2. เป็ น พื ้ น ที ่ ท ี ่ มี ท รัพ ยากรธรรมชาติ อุ ด มสมบู ร ณ์ มี
สระบุรี เอกลั ก ษณ์ มี ป ระวั ต ิ มี ค ุ ณ ค่ า ในทางด้ า น
อุทยานทางทะเลแห่งแรก : อช.สามร้อยยอด ประวัติศาสตร์หรือมนุษย์ศาสตร์
อุทยานที่ใหญ่ที่สุด : แก่งกระจาน 3. เป็ น พื ้ น ที ่ เ หมาะสมต่ อ ต่ อ การท่ อ งเที ่ ย ว พั ก ผ่ อน
อุทยานที่เคยเป็นที่จองจำนักโทษ : อุทยานแห่งชาติตะรุเตา หย่อนใจ หรือการศึกษาวิจัย
จำนวนนักท่องเที่ยว ปีงบประมาณ 2562 ขั้นตอนการประกาศจัดตั้งอุทยานแห่งชาติ
1) อช. เขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด 1. อส.เสนอร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดพื้นที่ดังกล่าว
2) อช. ถ้ำหลวง-ขุนน้ำนางนอน เป็นอุทยานแห่งชาติ
3) อช. เขาใหญ่ 2. ครม พิจารณาอนุมัติให้หลักการ ส่งเรื่องให้สำนักงาน
4) อช. เขาคิชณกูฎ คณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจสอบความถูกต้อง
5) อช. หาดนพรัตน์ธารา-เกาะพีพี 3. สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา พิจารณาแก้ไขร่าง
อุทยานแห่งชาติในรัชกาลที่ 10 พระราชกฤษฎีกาและรายละเอียดแผนที่
1. อช. ขุนสถาน 4. อส. ดำเนินการแก้ไขให้ถูกต้องแล้วส่งคืนสำนักงาน
2. อช. ธารเสด็จ คณะกรรมการกฤษฎีกา
3. อช. เจ็ดสาวน้อย 5. สำนั ก งานคณะกรรมการกฤษฎี ก าตรวจสอบ แจ้ ง
4. อช. แม่ตะไคร้ เลขาธิการ ครม เพื่อแจ้งให้ อส รังวัด พิมพ์แผนที่ท้ายพระราช
5. อช. หมู่เกาะเภตรา กฤษฎีกาเพื่อนำเสนอ ครม
6. อช. ดอยจง (ล่าสุด) เงินรายได้
อุทยานแห่งชาติที่เป็น มรดกอาเซียนประกาศใหม่ : อุทยาน เงินที่กรมอุทยานฯ /สำนักอุทยาน/สบอ/อุทยานได้รับเป็น
แห่งชาติ หาดเจ้าไหม-เขตห้ามล่าสัตว์ ป่าหมู่เกาะลิบ ง และ กรรมสิทธิ์นอกเหนือจากเงินงบประมาณรายจ่าย
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง 1. ค่าบริการ >> ค่าตอบแทนความสะดวกต่างๆใน อช
มรดกอาเซียน 2. ค่าธรรมเนียม >> อนุญาตให้เดำเนินกิจกรรมใน อช
มีทั้งหมด 37 แห่ง ในประเทศไทยมี 6 แห่ง 3. ค่าตอบแทน >> อนุญาตพักอาศัยใน อช
1. อช. เขาใหญ่ 4. เงินที่มีผู้บริจาค
2. อช. ตะรุเตา
5

5. ค่าปรับ จากกระทำความผิดใน พ.ร.บ. อุทยาน 1. สวนรุกขชาติเซตวัน จ. แพร่


*** ม.30 เงินค่าบริการหรือค่าตอบแทน ให้แบ่งกับ อบต ในที่ 2. สำนักหน่วยจัดการต้นน้ำ (เขาน้อย) จ.น่าน
อช. ตั้งอยู่ ให้ในอัตราไม่เกิน 10% ของเงินที่ได้มา 3. โครงการป่าสิรเิ จริญวรรษ จ.ชลบุรี
งบเงินรายได้ของอุทยานแห่งชาติ 5 ประเภท การจัดลำดับของความสำคัญของอุทยานแห่งชาติ
1. ประเภท ก < 10% งบอบต ปัจจัยในการพิจารณา 6 ด้าน
2. ประเภท ข 20% งบบริหารจัดการอุทยาน 1. ด้านกายภาพ
3. ประเภท ค 50% งบบำรุงรักษาอุทยานแห่งชาติ 2. ด้านชีวภาพ
4. ประเภท ง 10% งบพัฒนาบุคลากร 3. ด้านความเสี่ยง
5. ประเภท จ 15% งบสำรอง 4. ด้านความสำคัญ/ความเป็นสากล
5. ด้านนันทนาการ/การท่องเที่ยว
เส้นทางศึกษาธรรมชาติ 6. ด้านความซับซ้อนในการบริหารจัดการ
1. เส้นทางแบบวงกลม มีการจัดลำดับ 3 กลุ่ม ได้แก่
2. เส้นทางกลมแฝดติดกัน กลุ่ม A มีความสำคัญมาก 32 แห่ง เขาใหญ่ ทับลาน ปางสีดา
3. เส้นทางตรง เขื่อนศรี แก่งกระจาน เขาแหลม เอราวัญ กุยบุรี ผาแต้ม ภูกระดึง
- เส้นทางศึกษาธรรมชาตินั้นควรมีความชันไม่เกิน 10 % กลุ่ม B มีความสำคัญสูง 42 แห่ง ตาพระยา น้ำตกพลิ้ว คลอง
- หากเกิน 25% ให้ทำเป็นขั้นบันได ลาน ไทรโยค ภูหินร่องกล้า
- ระยะทางเดิน 800-1600 เมตร กลุ่ม C มีความสำคัญปานกลาง 81 แห่ง
ประเภทป้ายในอุทยานแห่งชาติ อุทยานทางธรณี (Geopark) : พื้นที่ที่มีความสำคัญและโดด
1. ป้ายบอกทาง เด่นทางธรณีวิทยา ธรรมชาติวิทยา และวัฒนธรรม มีเรื่องราว
2. ป้ายบังคับ ที่เชื่อมโยงคุณค่าของผืนแผ่นดินกับวิถีชีวิตชุมชนที่อาศัยอยู่ใน
3. ป้ายสถานี พื้นที่ซึ่งมีการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
4. ป้ายสื่อความหมาย ***อุทยานทางธรณีสตูล เป็นที่แรกของประเทศไทย (อช.หมู่
การแบ่งเขตในอุทยาน เกาะเภตรา)
1. เขตบริการ
ลุ่มน้ำ Watershed
2. เขตนันทนาการ
3. เขตสงวน ลุ่มน้ำ พื้นที่ที่อยู่เหนือจุด ๆ หนึ่งบนลำธาร
4. เขตหวงห้าม = เขตป่าเปลี่ยว ทำหน้าที่รองรับน้ำฝนและลำเรียงน้ำฝนจาก
ส่วนที่เหลือ (ต้นไม้ เก็บไว้ในดิน ซึมผ่านชั้น
ศักยภาพในการรองรั บนั กท่อ งเที ่ย ว (CC) มีปัจจัย
หินใต้ดิน) โดยลำเรียงน้ำสู่ลำธารทั้งผิวดินและใต้ดิน เป็นหน่วย
ดั งต่ อ ไปนี ้ นิ เ วศ จิ ต วิ ท ยา สั งคม สิ ่ งอำนวยความสะดวก
ของพื้นที่ที่ล้อมไปด้วยสันปันน้ำ
กายภาพ
ต้นน้ำ พื้นที่อยู่ตอนบนของภูเขาเป็นพื้นที่ที่มีความลาดชัน
ป่าในเมือง มีทั้งหมด 105 แหล่ง กรมป่าไม้ 31 แห่ง กรม
ไปถึงสันเขา เป็นส่วนหนึ่งของลุ่มนน้ำ
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 20 แห่ง ของกรมอุทยานมี 54
รูปร่างของลุ่มน้ำ
แห่ง เปิดไปแล้ว 51 แห่ง
1. รูปผัด (Fan-shaped watershed)
เตรียมเปิดใหม่ในปี 62 อีก 3 แห่ง ได้แก่
2. รูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า (Retangulaer-shaped watershed)
6

***หลั ก การจั ดการลุ ่ มน้ ำ : (2Q+T) ปริ ม าณน้ำ เพียงพอ ต้องควบคุมตามหลักการอนุรกั ษ์ดิน น้ำ ความชัน 25-35%
คุณภาพตามความต้องการอัตราการไหลสม่ำเสมอ ควบคุมการ ชั้น 4 : ถูกแผ้วถางเพื่อกิจกรรมพืชไร่ส่วนใหญ่ 6- 25% แต่
พังทลายของดินและลดภัยบัติ หากใช้พื้นที่เพื่อการเกษตรกรรม ต้องเป็นบริเวณที่มี
Discharge : ปริมาณการไหลของน้ำต่อหน่วยเวลา (ลบ.ม/วิ) ความลาดชันไม่เกิน 28 เปอร์เซ็นต์
**ปรัชญาการจัดการลุ่มน้ำ ชั้น 5 : ถูกแผ้วถางทำนา ทำได้ทุกกิจกรรม ความชัน < 6%
1. เก็บน้ำไว้ในดิน เก็บดินอยู่กับที่ มติ ครม 2 มิ.ย. 2530 : กำหนด 1A 1B 2 เป็นพื้นที่ต้นน้ำลำธาร
2. ลดปริมาณน้ำหลาก เพิ่มปริมาณน้ำในฤดูแล้ง มติ ครม 30 มิ.ย. 41 : กำหนด 1A 1B 2 เป็นพื้นที่ป่าอนุรักษ์
ลุ่มน้ำในประเทศไทย มี 4 ระดับ **ดังนั้น 1A 1B 2 เป็นทั้งพื้นที่ต้นน้ำลำธารและพื้นที่ป่าอนุรักษ์
1. ลุ่มน้ำหลัก มี 25 ลุ่มน้ำ ป่าเสื่อมโทรม มีสถานภาพเป็นป่าไม้รา้ งหรือทุ่งหญ้าหรือเป็น
2. ลุ่มน้ำสาขา มี 254 ลุ่มน้ำ ป่าที่ไม่มีไม่มีค่าขึ้นอยู่เลยหรือมีไม้มคี ่าลักษณะสมบูรณ์เหลืออยู่
3. ลุ่มน้ำย่อย เป็นส่วนน้อยและป่านั้นยากที่จะฟื้นคืนดีตามธรรมชาติได้
4. ลุ่มน้ำพัฒนา หลักเกณฑ์และเงื่อนไขของป่าเสื่อมโทรม
- ลุ่มน้ำทีใ่ หญ่ที่สุด ลุ่มน้ำมลู 1. เป็นป่าที่มีไม้มีค่าอยู่น้อย,ยากที่จะฟื้นคืนตามธรรมชาติ
- ลุ่มน้ำเจ้าพระยาครอบคลุมมากที่สุด 19 จังหวัด DBH 50-100 cm ไม่เกิน 8 ต้น/ไร่
- ลุ่มน้ำแม่โขง มีลุ่มน้ำสาขามากที่สุด 37 สาขา DBH > 100 cm ไม่เกิน 2 ต้น/ไร่
ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ ไม้หนุ่ม 14.14-50 cm สูง < 2 m ไม่เกิน 25 ต้น/ไร่
การแบ่ งเขตพื ้ น ที ่ ล ุ ่ ม น้ ำ ตามลั ก ษณะทางกายภาพและ 2. ถ้าป่าดังกล่าวในข้อ 1 อยู่ในพื้นที่ ลุ่มน้ำ 1A 1B 2 ไม่
ศักยภาพทางอุทกวิทยาและทรัพยากรธรรมชาติ เป็นป่าเสื่อมโทรม
มติ ครม 27 ก.ค. 2525 กำหนดหลักเกณฑ์ในการกำหนด แนวทางในการบริหารจัดการ
ชั้นลุ่มน้ำ 6 ประกาศดังนี้ กำหนดจากแผนที่ 1 : 50,000 วางแผนการใช้ที่ดิน
1. ความชัน (Slope) วางแผนการใช้ทรัพยากรและการอนุรักษ์
2. ความสูง (Elevation) การควบคุมมลพิษและสิ่งแวดล้อม
3. ลักษณะภูมิประเทศ (Land form) การฟื้นฟูระบบนิเวศต้นน้ำ
4. ลักษณะดิน (Soil) การปลูกฟื้นฟูระบบนิเวศต้นน้ำ ≥ 5 ชนิด 200 ต้น/ไร่
5. ลักษณะปฐพี (Geology) การปรับปรุงระบบนิเวศต้นน้ำ 5 ชนิด 25 ต้น/ไร่
6. สภาพป่าที่เหลืออยู่ในปัจจุบัน
ระดับชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ มีทั้งหมด 5 ระดับ
ชั้น 1 :พื้นทีส่ งวนไว้เป็นต้นน้ำลำธาร มีความชัน > 60% กรมอุ ท ยานฯ แบ่ ง พื ้ น ที ่ ด ำเนิ น การฟื ้ น ฟู ฟ ื ้ น ที ่ ต ้ น น้ ำ
1A สภาพป่าสมบูรณ์ ออกเป็น 3 ประเภท
1B ส่วนใหญ่เป็นป่าที่ถูกทำลาย 1.พื้นที่ต้นน้ำเสียหายมาก
ชั้น 2 : ทำไม้ และเหมืองแร่ได้แต่ต้องมีการควบคุม ความชัน 2.พื้นที่ต้นน้ำเสียหายน้อย
35-60% กิ จ กรรมทางด้ า นการเกษตรกรรม ควร 3.พื้นที่ต้นน้ำล่อแหลมต่อการบุกรุกและเกิดไฟป่า
หลีกเลี่ยงอย่างเด็ดขาด เกณฑ์ประเมิน ต้นน้ำเสียหายมาก ต้นน้ำเสียหายน้อย
ชั้น 3 : ทำไม้และเหมืองแร่ ปลูกพืชกสิกรรมประเภทไม้ยืนต้น DBH 14.14-50 cm ไม่เกิน 25 ต้น/ไร่ > 25-100 ต้น/ไร่
7

DBH 50-100 cm ไม่เกิน 8 ต้น/ไร่ > 8 ต้น/ไร่ 2529 ลุ่มน้ำยม,น่าน 2534 ลุ่มน้ำภาคตะวันออก
DBH >100 cm ไม่เกิน 2 ต้น/ไร่ > 2 ต้น/ไร่ 2531 ลุม่ น้ำมูล,ลุมน้ำชี 2538 ภาคตะวันตก กลาง
รูปแบบฟื้นฟู ปลูกฟื้นฟู การปลูกปรับปรุง อีสาน เหนือ แม่น้ำป่าสัก
ฝายต้นน้ำ สารสนเทศภูมิศาสตร์
ฝายต้นน้ำ สิ่งก่อสร้างขวางหรือกั้นทางน้ำซึ่งปกติมักกั้นลำ
Geo informatice ศาสตร์สารสนเทศเน้นบูรณาการ
ห้วยลำธารขนาดเล็กในบริเวณที่เป็นต้นน้ำ
ฝายต้นน้ำ มี 3 ประเภท
ด้านการสำรวจ การทำแผนที่วิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่
1. ฝายต้นน้ำถาวร ประกอบไปด้วย 3S
2. ฝายต้นน้ำกึ่งถาวร 1. RS (Remote sensing) การสำรวจระยะไกล
3. ฝายต้นน้ำแบบผสมผสาน หรือ ฝายแม้ว 2. GPS (Global Positioning System) ร ะ บ บ ร ะ บุ
มี 3 ประเภทย่อย ตำแหน่งบนพื้นโลก หรืออาจจะใช้คำว่า GNSS (GPS เป็นหนึ่ง
1) ฝายผสมผสานแบบทิ้งหิน ใน GNSS) GNSS : Glodal navigation sattlelite system
2) ฝายผสมผสานแบบคอกหมู GPS : ระบบระบุพิกัดของเมริกา ประเทศไทยใช้รับระบบนี้
3) ฝายผสมผสานแบบภูมปิ ัญญาชาวบ้าน GLONASS : ระบบระบุพิกัดของรัสเซีย
Gallileo : ระบบระบุดาวเทียมของสภาพยุโรป
ฝายแบบผสม ฝายกึ่งถาวร ฝายถาวร
ช่วงลำห้วย First order Second order Third order
3. GIS (Geographic Information System) ระบบ
วัสดุ กิ่งไม้ หินเรียง คอนกรีต สารสนเทศภูมิศาสตร์
หลักเกณฑ์ในการเลือกสร้างฝาย องค์ประกอบของ GIS
1. วัตถุประสงค์ 1.Hardware 5.Method
2. ลักษณะลำธาร 2.Software
3. ลักษณะภูมิประเทศ 3.Data
4. ลักษณะการใช้ที่ดิน 4.People
5. การมีส่วนร่วมของชุมชน UTM : Universal Transverse Mercator
***ฝายพระราชทานแห่งแรก คือ ฝายห้วยน้ำงุม ระดับพิกัดในแผนที่
หญ้าแฝก (Vetiver Grass) Geographic Coordinate (องศา,ลิปดา)
1. แฝกกลุ่ม/แฝกหอม (Vertiveria zizanioides) Projected Coordinate (X,Y)
2. แฝกดอน (Vertiveria nemoralis) Indian 1975
**สายพันธุ์หญ้าแฝกที่ทนเค็ม 2 สายพันธุ์ คือ ราชบุรี ประจวบฯ WGS 1984
การปลูกหญ้าแฝก Thailand : มีแผนที่ 3 ชุด
1. ระยะระหว่างต้น L708 : ระวางแผนที่ขนาด 10x15 ลิปดา
a. กล้าแฝกเปลือยราก ระยะห่างระหว่างต้น 5 ซม L7017 : ระวางแผนที่ขนาด 15x15 ใช้ระบบ Indian 1975
b. กล้าแฝกถุง (กอ) ระยะห่างระหว่างกอ 10 ซม L7018 : ระวางแผนที่ขนาด 15x15 ใช้ระบบ WGS 1984
2. ระยะห่างระหว่างแถว ไม่เกิน 2 เมตร แผนที่ : การแสดงลักษณะพื้นผิวโลก การย่อขนาดสถานที่ลง
มติ ครม ในการกำหนดลุ่มน้ำ บนกระดาษ สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อแสดงลักษณะของ
2528 ลุ่มน้ำปิง,วัง 2532 ลุ่มน้ำภาคใต้ พื้นผิวโลกและจำลองลงบนแผนราบ
8

ส่วนประกอบของแผนที่ *** ดาวเทียมที่ใช้สำรวจจุด Hotspot : Aqua,Terra ,NOAA19


1. ชื่อแผนที่ 2. ขอบระวาง Suomi NPP
3. ทิศทาง 4. สัญลักษณ์ ชนิดของไฟป่า
5. มาตรส่วน 1. ไฟใต้ดิน (Ground fire) : ดับยาก/ป่าพรุ
ดาวเทียมสำรวจทรัพยากรป่าไม้ 2. ไฟผิวดิน (Surface fire) : พบมากที่สุด
Landsat Thaichote Sentinal-2 3. ไฟเรือนยอด (Crown fire) : เกิดในพวกป่าสน
องค์ประกอบไฟ หรือสามเหลี่ยมไฟ ประกอบไปด้วย
2516-2549 2556-2560 2561 1. เชื้อเพลิง
*** Sentinal-2 ดาวเทียมที่ใช้สำรวจป่าไม้ 2561 2. ออกซิเจน
เส้นชัน้ ความสูง เส้นหลัก 100 เมตร เส้นลอง 20 เมตร 3. ความร้อน
ประเทศไทยมีแผนที่ทั้งหมด 830 ระวาง รูปร่างของไฟ : มี 7 รูปร่าง
ระบบการบันทึกข้อมูล Smart patrol : Mist (เก่า) 1. หัวไฟ (Head) ส่วนที่ไฟนลุกลามไปตามทิศทางลม เป็น
Smart patrol program (ใหม่) ส่วนที่มีอัตราลุกลามเร็วที่สุด ความรุนแรงและอันตรายมากที่สุด
โครงการปรับปรุงแผนที่แนวเขตทีด่ ินของรัฐแบบบูรณาการ 2. หางไฟ (Rear) ทิศทางตรงข้ามกับหัวไฟ ไหม้สวนลม
(One Map) ใช้แผนที่ 1 : 4000 เป็นมาตราส่วนเดียวกัน ลุกลามอย่างช้าๆเป็นส่วนที่ควบคุมได้ง่าย
จังหวัดที่เป็นเส้นแบ่ง Zone 47/48 3. ปีกไฟ (Flanks) ส่วนของไฟป่าที่ไหม้ตั้งฉากหรือขนาน
1. จันทบุรี 6. ขอนแก่น กับทิศทางหลักของหัวไฟ
2. ราจีนบุรี 7. เลย 4. นิ้วไฟ (Finger) ส่วนของไฟที่เป็นแนวยาวแคบๆ
3. สระแก้ว 8. หนองบุวลำพู 5. ขอบไฟ (Edge) ขอบเขตไฟนั้นๆในช่วงเวลาหนึ่ง
4. นครราชสีมา 9. นราธิวาส 6. ง่านไฟ (Bay) ส่วนของขอบไฟที่อยู่ระหว่างนิ้วไฟ
5. ชัยภูมิ 7. ลูกไฟ (Jump Fire or Spot fire) เกิดจากการสะเก็ด
ขนาดของภาพถ่ายทางอากาศ : 9x9 นิ้ว ไฟหลักถูกพัดให้ปลิวไปตามแนวไฟ
ค่าการสะท้อนแสงจากภาพถ่าย ดาวเทียม Landsat8 โดยใช้ พฤติกรรมไฟ : ลักษณะการแสดงออกของไฟป่าภายหลังการ
ค่า ดัชนีความแตกต่างพื ชพรรณ (DNVI) และค่าดัชนีความ สันดาบซึ่งแตกต่างและผันแปรไปตามสภาพแวดล้อม
แตกต่างความุ่มชื้น (NCMI) ใช้ประเมิน ลักษณะของพฤติกรรมไฟ
การสะสมคาร์บอนในพื้นที่อนุรักษ์
1. อัตราการลุกลาม
ไฟป่า 2. ความรุนแรง
ไฟป่า : ไฟที่เกิดจากสาเหตุใดก็ตามแล้วลุกลามไปโดยอิสระ 3. ความยาวของเปลวไฟ
ปราศจากการควบคุมทั้งนี้ไม่ว่าไฟนั้นจะเกิดขึ้นในธรรมป่า สามเหลี่ยมพฤติกรรมไฟ
ธรรมชาติหรือสวนป่า 1. ภูมิประเทศ
ดาวเทียม ที่ใช้สำรวจไฟป่า Terra and 2. ภูมิอากาศ
3. เชื้อเพลิง
Aqua ใช้ระบบการตรวจหา MODIS
ความรุนแรงของไฟขึ้นกับ
โดยพื้นที่เกิดไฟป่า 1.21 ตร.กม ดามเทียมถึงจะตรวจพบได้
1. ลักษณะอากาศ 3.ลักษณะภูมิประเทศ
9

2.ความชื้นสัมพัทธ์
Hotspot : จุ ด หรื อ บริ เ วณที ่ ม ี ค ่ า ความร้ อ นผิ ด ปกติ จาก
อุปกรณ์ตรวจจับดาวเทียม
การควบคุม : ระบบการจัดการและแก้ไขปัญหาอย่างครบวงจร
ตั้งแต่ การป้องกัน การเตรียมการดับไฟป่า การตรวจหาไฟป่า Slip on tank : เครื่องฉีดน้ำดับไฟป่าติดรถยนต์ ติดรถบรรทุก
การดับไฟ การประเมินผลการปฏิบัติงาน ขั้นตอนมีดังนี้ ขนาดเล็ดขับเคลื่อน 4 ล้อ
1. การป้องกันไฟป่า Drip torch : คบจุดไฟ
2. การตรวจหาไฟป่า แผนระดมพลดั บ ไฟป่ า : แบ่ ง ตามความรุ น แรงของ
3. การเตรียมการดับไฟ สถานการณ์ได้ 3 แบบ
4. การดับไฟ ระดับที่ 1 สถานการณ์ควบคุมได้ เพิ ่ งตรวจพบและลุ ก ลาม
5. การใช้ประโยชน์จากไฟ ไปแล้ว < 100 ไร่ (หนสถานี)
6. การประเมินผลการปฏิบัติงาน ระดับที่ 2 สถานการณ์รุนแรง ลุกลามไปแล้ว > 100 ไร่
หมู่ดับไฟ มี 2 ขนาด ไม่สามารถคุมไฟได้ภายใน 3 วัน (ผอ.ศูนย์ควบคุม
ขนาดเล็ก (7 คน) ไฟป่า)
หัวหน้า (1 คน) ถังฉีดน้ำ (2 คน) ที่ตบไฟ (4 คน) ระดับที่ 3 สถานการณ์วิกฤต ลุกลามไปแล้ว > 100 ไร่
ไม่สามารถควบคุมได้ภายใน 15 วัน (อด.)
ขนาดใหญ่ (14 คน) Subsidence Invension สถาวะความกดอากาศสู ง แผ่ ล ง
หัวหน้า (1 คน) ผู้ช่วยหัวหน้า (1 คน) ถังฉีดน้ำ (4 คน) ที่ มาปกคลุมพื้นที่ต่อเนื่องเป็นเวลานานจนเกิดการกักควันและไอ
ตบไฟ (8 คน) อากาศร้อนจนไม่สามารถลอยไปชั้นบรรยากาศทำให้ควั นไฟ
***เครื่องมือดับไฟ มี 2 ประเภท กระจายคละคลุ้งอยู่ใกล้ระดับพื้นดิน เกิดเป็น มลภาวะหมอก
1. เครื่องมือจักรกล ควันขึ้น
2. เครือ่ งมือพื้นฐาน *** 24 กุมภาพันธ์ เป็นวันรณรงให้ปลอดควันพิษจากไฟป่า
2.1. Fire swatter/Fire beater ที่ตบไฟ ขนาด 30x40 cm มาดคอร์ท : เต่าปูลู (พอมากใน อช.ภูซาง จ. พะเยา)
2.2. Backpack pump or Knapsack sprayer ถังฉีดน้ำ
2.3. Rake-hoe/Macleod จอบ+คราด ใช้ครอบไฟ สัตว์ป่า Wildlife
หลักการการอนุรักษ์สัตว์ป่า
1. การใช้กฎหมาย
2. การสงวนแหล่งที่อยู่อาศัย
3. การเพาะพันธุ์เพิ่มการค้นคว้าวิจยั
2.4. Fire shovel พลั่วไฟป่า
4. การใช้ประโยชน์จากสัตว์ตามหลักการอนุรักษ์
2.5. Pulaski จอบ+ขวาน ขวานขุดดิน
Umbrella Species : สัตว์ป่าที่มีการใช้พื้นที่ขนาดใหญ่เพื่อ
ประโยชน์กับชนิดอื่น เช่น ช้าง กระทิง
Indicator Species : สัตว์ป่าที่ใช้เป็นดัชนีวัดระบบนิเวศนั้นๆ
เช่น นกเงือก ชะนี แต้วแล้วท้องดำ
10

Keystone Species : สัตว์ป่าที่เป็นแกนกลางมีความสำคัญ 11. นกกระเรียนไทย (Grus antigone) VU


ต่อระบบนิเวศ เช่น เสือโคร่ง 12. แมวลายหินอ่อน (Pardofelis marmorata) NT
Endamic species : ชนิดพืชหรือสัตว์ที่พบเฉพาะถิ่นใดถิ่น 13. สมเสร็จ (Tapirus indicus) EN
หนึ่งเช่น นกจู๋เต้นสระบุรี สมั่น นกเจ้าฟ้าหญิงฯ ตีนหน้า 4 กีบ ตีนหลัง 3 กีบ Threatened Species
Canibalism คือ สัตว์ที่กินสัตว์ชนิดเดียวกันเป็นอาหาร 14. เก้งหม้อ (Muntiacus feae) DD ชนิดที่เสี่ยงต่อการคุกคาม
Reintroduction : การปล่อยในถิ่นเดิม 15. พะยูน หรือหมูน้ำ (Dugong dugon) VU
Rehabitation : การปล่อยในถิ่นเดิมที่ยังมีสัตว์ชนิดนั้นอยู่ ในปัจจุบัน (2561) มีพะยูนประมาณ 250 ตัว
Introduction : การนำไปยังถิ่นใหม่ 16. วาฬบรูด้า (Balaenoptera edeni) LC
Wildlife forensic : นิติวิทยาศาสตร์ด้ านสัต ว์ ป่ า เป็นการ 17. วาฬโอมูระ (Balaenoptera omurai) DD
ตรวจพิสูจน์ DNA เพื่อระบุชนิดของสัตว์ป่า 18. เต่ามะเฟือง (Dermochelys coriacea) VU
Ecological nich : บทบาททางนิเวศของป่าและสัตว์เลี้ยงลูก 19. ฉลามวาฬ (Rhincodon typus) EN
นมในประเทศไทย สัตว์ป่าคุ้มครองที่เพาะพันธุ์ได้ (กฎกระทรวง 2546)
ประเภทสัตว์ป่าตาม พรบ สงวนและคุ้มครอง 2562 สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
1. สัตว์ป่าสงวน : สัตว์ป่าหายากหรือสัตว์ป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ 1. กระจง
จำเป็นต้องสงวนและอนุรักษ์ไว้อย่างเข้มงวดตามที่กำหนดไว้ใน 2. กวางป่า
พรบ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า >> พระราชกฤษฎีกา 3. ชะมดเช็ด เนื้อทราย
2.สัตว์ป่าคุ้มครอง : สัตว์ป่าที่มีความสำคัญต่อระบบนิเวศ 4. ลิงกัง
หรือจำนวนประชากรสัตว์ป่าชนิดนั้นมีแนวโน้มลดลงอันอาจ 5. ลิงวอก
ส่งผลต่อระบบนิเวศ >> กฎกระทรวง 6. สิงแสม
3. สัตว์ป่าคุ้มครองเพาะพันธุ์ได้ >> ประกาศรัฐมนตรี 7. เก้งธรรมดา
4.สั ต ว์ ป ่ า ควบคุ ม : สั ต ว์ ป ่ า ที ่ ได้ รั บความคุ ้ม ครองตาม นก (ยกตัวอย่าง)
อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ >> ประกาศรัฐมนตรี 1. จำพวกนกกระทา
สัตว์ป่าสงวน 19 ชนิด 2. ไก่ฟ้า
1. นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร (Pseudochelidon sirintarae) CR 3. เป็ดคับแค
2. แรดชวา (Rhinoceros sondaicus) CR 4. เป้ดแดง
3. กระซู่ (Dicerorhinus sumatrensis) CR 5. เป็ดเทา
4. กูปรีหรือโคไพร (Bos sauveli) CR 6. เป็นหงส์
5. ควายป่า (Bubalus arnee) EN **พบ ขสป ห้วยขาแข้ง สัตว์เลื้อยคลาน
6. ละอง หรือละมั่ง (Rucervus eldi) EN 1. งูสิง
7. สมัน หรือเนื้อสมัน (Rucervus schomburgki) EX 2. งูสิงหางลาย
8. เลียงผา/กูรำ/แพะภูเขา (Capricornis sumatraensis) VU 3. งูหลาม
9. กวางผา/ม้าเทวดา (Naemorhedus griseus) VU 4. งูเหลือม
10. นกแต้วแร้วท้องดำ (Pitta gurneyi) CR ประชากรกลุ่ม 5. จระเข้น้ำจืด/เค็ม
สุดท้ายที่พบที่ ขสป เขาประ บางคราม จ.กระบี่ และอีก
ประชากรพบในประเทศพม่า
11

สัตว์สะเทินน้ำ-บก/ปลา 1. Landscape corridor


1. กบทูด/เขียดแลว 2. Iinear corridor
2. ปลาตะพัด/ปลาอโรวาน่า 3. Stepping corridor
3. ปลาเสือตอ/ปลาเสือ/ปลาลาด **ประเทศไทยมีแนวเชื่อมธรรมชาติในกลุ่มป่าดงพญาเย็น-เขา
สถานภาพระดับสากล IUCN ใหญ่ โดยเชื่อมระหว่าง อช.เขาใหญ่ กับ อช. ทับลาน
EX (Extinct) สูญพันธุ์ : สมั่น ไม่พบมากกว่า 50 ปี Deoxyribonucleic acid : การวิเคราะห์ DNA
EW (Extinct in the wild) สูญพันธุ์ในธรรมชาติ : เหลือแต่ใน อีเห็นข้างลาย/อีเห็นธรรมดา
ที่เพาะเลีย้ ง สวนสัตว์ Asian palm civet
CR (Critically Endangered) ใกล้สญ ู พันธุ์อย่างยิ่ง : เสี่ยง (Paradoxurus hermaphroditus) ** ไม่ใช่สัตว์ป่าคุ้มครอง
มากกว่า 50% (อีก 5 ปี หรือ 2 รุ่น ก็จะสูญพันธุ์) นกชนหิน
EN (Endangered) ใกล้การสูญพันธุ์ : เสี่ยง 20-50% (อีก 20 - Helmeted Hornbill (Rhinoplax vigil)
ปี หรือ 10 รุ่นก็จะสูญพันธุ์) - CITES บัญชี 1
VU (Vulnerable) มีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ เสีย่ ง 10-20% (อีก - สถานภาพจาก IUCN เป็น CR (ใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่ง)
100 ปี ก็จะสูญพันธุ์) เป็นนกเงือกชนิดหนึ่ง นกเงื อกที่เ กิดมาพร้อมกับควาาม
NT (Near threatened) ใกล้ถูกคุกคาม พิเศษ ที่โหนกบนจะงอยปากบนนั้น "ตัน" ส่วนโหนกที่ตันนี้ทำ
LC (Least concern) กลุ่มที่กังวลน้อยสุด เป็ น เครื ่ อ งประดั บ จนถู ก ขนานนามว่ า งาสี เลื อ ด (Blood
สถานภาพตามสำนักงานนโยบายและแผน (สผ.) ivory)
EX สูญพันธุ์ : กูปรี กระซู่ แรด สมัน นกพงหญ้า ช้อนหอยใหญ่ เสือโคร่ง
EW สูญพันธุ์ในธรรมชาติ กระสาคอดำ ช้อนหอยดำ ตะโขง ที่พบในประเทศไทย
CR ใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่ง : วัวแดง ควายป่า พะยูน แมวป่า Indochinese Tiger (Panthera tigris corbetti)
กวางผา นกเงือกปากย่น กระเรียนพันธุ์ไทย พญาแร้ง จระเข้ *** พื้นที่ปาอนุรักษที่พบการกระจายและมีศักยภาพที่สามารถ
น้ำจืด/เค็ม รองรับประชากรเสือโคร่งได้
EN ใกล้การสูญพันธุ์ : ช้าง เสือโคร่ง/ดาว นกยูง เต่าปูลู 1. กลุ่มป่าตะวันตก
VU แนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ 2. กลุ่มป่าแก่งกระจาน
NT ใกล้ถูกคุกคาม 3. กลุ่มป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่
LC กลุ่มที่กังวลน้อยสุด 4. กลุ่มป่าภูเขียว-น้ำหนาว
การอนุรักษ์สัตว์ป่า 2 ประเภท เสือโคร่งมีอาณาเขตหากิน 250 ตร.กม
1. In-situ อนุรักษ์ในถิ่นอาศัย การประกาศอาณาเขตของเสือโคร่ง ได้แก่ การคุ้ยดิน,Spray
2. Ex-situ อนุรักษ์นอกถิ่นอาศัย *** 29 กรกฎาคม วันอนุรักษ์เสือโคร่ง
แนวเชื่อมธรรมชาติ (Corridors) ช้าง
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ เส้นทางสำหรับการเคลื่อนย้าย Elephant
ชนิดพันธุ์โดยเฉพาะสัตว์ป่าและระบบนิเวศอื่น ๆ ระหว่างพื้นที่
ช้างเอเชียมี 3 สายพันธุ์
หนึ่งไปยังพื้นที่หนึ่งเพื่อสร้างความเชื่อมโยงกัน
ช้างอินเดีย (Elephas maximas indicus) ** พบในไทย
รูปแบบของแนวเชื่อมธรรมชาติ มี 3 รูปแบบ ได้แก่
ช้างศรีลังกา
12

ช้างสุมาตรา 9. กลุ่มป่าพนมดงรัก-ผาแต้ม
ช้างเอเชีย VS ช้างแอฟริกา งาช้าง
ลักษณะ ช้างเอเชีย ช้างแอฟริกา **งาช้าง มาจาก ฟันหน้าคู่ที่ 2
เท้า งาช้างเพื่อการใช้สอยส่วนตัว/ในครัวเรือน/ไม่ใช่เพื่อการค้า
- เล็บเท้าหน้า ข้างละ 5 เล็บ ข้างละ 4 เล็บ
ประเภทละ2 ชิ้น รวมทุกประเภท ไม่เกิน 4 ชิ้น /คน ครัวเรือน
- เล็บเท้าหลัง ข้างละ 4 เล็บ ข้างละ 3 เล็บ
ไม่เกิน 12 /ครัวเรือน และน้ำหนักรวมไม่เกิน 0.5 กิโลกรัม/
จงอยปลายงอย จงอยเดียว 2 จงอย
ครัวเรือ
หลัง โค้งงอเหมือนกุ้ง หลังแอ่น
- โครงการชุ ม ชนอยู ่ ไ ด้ สั ต ว์ ป ่ า อยู ่ ร อด เป็ น การแก้ ป ั ญ หา
กระดูกซีโ่ ครง 19 คู่ 21 คู่
ข้อกระดูกหาง 33 ข้อ 26 ข้อ ระหว่างคนกับสัตว์ : ช้าง ลิง เหี้ย
งา เฉพาะเพศผู้ ทั้งเพศผู้และเมีย การติดปลอกคอช้างเพื่อศึกษาพฤติกรรม ทำได้สำเร็จครั้งแรก
ในประเทศไทย คือ อุทยานแห่งชาติดอยภูคา จ.น่าน
NIAP process : National Ivory Action Plan Process
พ.ร.บ. สำหรับรักษาช้าง 2464
กระบวนการแผนปฏิบัติการงาช้างแห่งชาติ
ช้างสำคัญ มีมงคลลักษณะ 7 ประกาศ
1. ตาขาว
2. เล็บขาว
3. ขนขาว
4. เพดานขาว สวนสัตว์
5. หนังขาว มาตรฐานการจัดการสวนสัตว์อย่างน้อยต้องมีสาระสำคัญ
6. ขนหางขาว ดังต่อไปนี้
7. อัณฑโคตรขาว 1. การจัดการพื้นที่เลี้ยงและจัดแสดงสัตว์
ช้างสีประหลาด 2. การดูแลด้านโภชนาการ
มีมงคลลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งใน 7 ประกาศ 3. การสุขาภิบาล การบำบัดน้ำเสีย การกจัดของเสีย
ช้างเนียม ควบคุมโรค
พื้นหนังดำ งามีลักษณะดังรูปปลีกล้วย และเล็บดำ 4. การดูแลรักษาสัตว์
ปัญหาช้างในประเทศไทย พื้นที่ที่มีปัญหาช้างออกมา 5. การจัดสวัดิภาพสัตว์
รบกวนชุมชน 6. ความปลอดภัยและการรักษาความปลอกภัย
1. กลุ่มป่าตะวันออก รุนแรง 7. การปฏิบัติการและมาตรการฉุกเฉินต่าง ๆ
2. กลุ่มป่าตะวันตก 8. แนวทางการให้ความรู้หรือการศึกษาเกี่ยวกับสัตว์
3. กลุ่มป่าแก่งกระจาน โรคอุบัติใหม่ในค้างคาว
4. กลุ่มป่าเขาใหญ่-ดงพญาเย็น 1. Ebola
5. กลุ่มป่าภูพาน ปานกลาง 2. Hendra
6. กลุ่มป่าฮาลา-บาลา 3. Nipah
7. กลุ่มป่าเขาหลวง 4. SARS-CoV
8. กลุ่มภูเขียว-น้ำหนาว น้อย 5. MERS-CoV
13

เขตสัตวภูมิศาสตร์ บัญชี 1 สัตว์ป่าและพืชป่าใกล้สูญพันธุ์ห้ามค้าโดยเด็ดขาด


ประเทศไทยอยู่ในเขตสัตวภูมิศาสตร์ Oriental ยกเว้นเพื่อการศึกษา (ช้าง กระทิง หมีควาย เต่ามะเฟื่อง เสือ)
- Sino-Himalayan นกเงือคอแดง บัญชี 2 สัตว์ป่าและพืชป่ายังไม่ใกช้สูญพันธุ์ สามารถค้าได้แต่
- Indo-Chinese ค่างหงอก ต้องมีการควบคุม (ลิง หมาใน โลมา เต่าปูลู งูเหลือม/หลาม)
- Indo-Burrnese เก้งหม้อ บัญชี 3 เป็นสัตว์และพืชที่ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย
- Sundaic สมเสร็จ ของประเทศภาคีนั้น ๆ ขึ้นบัญชีได้โดยไม่ต้องเข้าทีป่ ระชุม
พ.ร.บ. สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า 2562 ผู้บริหารสูงสุดคือ เลขาธิการ
สป.15 คือใบอนุญาตให้มีไว้ครอบครองซึ่งสัตว์ป่าคุม้ ครองที่ ประเทศไทย : เป็ น ภาคี ล ำดั บ ที ่ 77 ให้ ส ั ต ยาบั น วั น ที ่ 21
ได้มาจากการเพาะพันธุ์ ค่าธรรมเนียม 50 บาท อายุ 3 ปี มกราคม 2526 มีผลบังคับใช้ 21 เมษายน 2526 เป็นเจ้าภาพ
การจะจัดตั้งสวนสัตว์ ต้องเป็นไปตาม มาตรา 33 ในการจัดประชุม CoP 13,16
CoP 16 : ไม้พะยูง ขอบรรจุในบัญชี 2 มติ เห็นชอบ
อนุสัญญาต่าง ๆ จระเข้น้ำจืด ปรับจากบัญชี 1 ไป 2 มติ ไม่เห็นชอบ
CITES จระเข้น้ำเค็ม ปรับจากบัญชี 1 ไป 2 มติ ไม่เห็นชอบ
ชื่อเต็ม : อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ ซึ่งชนิดสัตว์ กำเนิด World Wildlife Day/วันสัตว์ป่าและพืชป่าโลก (3 มี.ค)
ป่าแลพืชป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์ หรือ อนุสัญญาวอชิงตัน ประชุมครั้งล่าสุด CoP 18 (23 พ.ค – 3 มิ.ย 62) ที่โคลัมโบ
(The Convention on International Trade in Sri Lunka ** ประเทศหลุดจาก categories ของไซเตสเรื่อง
Endangered Species of Wild Fauna and Flora - CITES) งาช้าง (ไม่ถูกระงับการค้ากับประเทศภาคี,ไม่ต้องเข้าขบวนการ
สำนักเลขาธิการไซเตสตั้งอยู่ : สวิตเซอร์แลนด์ ตามแผนปฏิบัติการงานช้าง NIAP)
วัตถุประสงค์ : เพื่อสร้างเครือข่ายทั่วโลกในการควบคุมการค้า ** 2534 ประเทศไทยโดน Trade Ban (คว่ำบาตรทางการค้า)
ระหว่ า งประเทศ ทั ้ งสั ต ว์ ป ่ า พื ชป่ า และผลิ ต ภั ณ ฑ์ แต่ ไ ม่ ทำให้เกิด พ.ร.บ. สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า 2535
ควบคุมการค้าภายในประเทศ สำหรับชนิดพันธุ์อื่น ๆ ไม่บังคับ การกำหนดชนิดพันธุ์ต้องมีข้อมูล 2 ด้าน
ใช้กับ อนุกรมวิธาน
1. ชนิดพันธุ์ที่ได้มาก่อนบังคับใช้อนุสัญญา ข้อมูลด้านชีววิทยา
2. ชนิดพันธุ์ที่ได้มาจากการเพาะเลี้ยงในกรง 1. สถานภาพของประชากร
3. ชนิดพันธุ์ที่ได้มาจากการขยายพันธุ์เทียม 2. แนวโน้นประชากร
ประเทศ Tonga (ตองกา) เข้าร่วมภาคีล่าสุด (2562) 3. การแพร่กระจาย
การค้าของไซเตสได้แก่ 4. Habitat
1. การนำสินค้าส่งออก (Export) 5. ภูมิศาสตร์
2. การส่งกลับออกไป (Re-export) 6. การถูกคุกคาม
3. การนำเข้า (Import) The world heritage convention
4. นำเข้าจากทะเล (Introduction from the sea)
อนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลก หรือ อนุสัญญาว่าด้วยการ
***ใบอนุญาตไซเตส มีอายุ 6 เดือน
คุ้มครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ
บัญชีไซเตส 3 บัญชี
มรดกโลก สถานี่ทางวัฒนธรรมและธรรมชาติที่มีความโดด
เด่นในระดับสากลและได้รับการขึ้นทะเบียนโดยคณะกรรมการ
14

มรดกโลกตามอนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลก หน่วยงานที่ดูแล เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่ -ห้วยขาแข้ง ผ่านเกณฑ์


การดำเนินงานตามอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองมรดกโลก คือ ดังต่อไปนี้
UNESCO (องค์กรการศึกษาวิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่ง 1. เป็ น ตั ว อย่ า งที ่ เ ด่ น ชั ด ในการเป็ น ตั ว แทนของ
สหประชาชาติ หรือ ยูเนสโก) ขบวนการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญทางธรณีวิทยา หรือ
***ความโดดเด่นอันเป็นสากล คือเกณฑ์พิจารณาที่สำคัญ วิวัฒนาการทางชีววิทยา
ประเภทมรดกโลก มี 2 ประเภท 2. เป็ น แหล่ ง ที ่ เ กิ ด จากปรากฏการณ์ ธ รรมชาติ ท ี ่ มี
1.มรดกโลกทางวัฒนธรรม เอกลักษณ์หายากหรือสวยงามเป็นพิเศษ เช่น น้ำตก
2.มรดกโลกทางธรรมชาติ (องค์กรระหว่างประเทศเพื่อการ ภูเขา แม่น้ำ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ IUCN เป็นผู้ประเมินสถานภาพ 3. เป็นที่อยู่อาศัยของชนิดสัตว์และพันธุ์พืชหายากที่ตก
พื้นที่มรดกทางธรรมชาติ) ในสภาวะอันตราย
มรดกโลกมีทั้งหมด 1,121 แห่ง (2563) ผืนป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ ผ่านเกณฑ์ดังต่อไปนี้
ธรรมชาติ 213 วัฒนธรรม 869 ผสม 39 1. เป็นที่อยู่อาศัยของชนิดสัตว์และพันธุ์พืชหายากที่
วัตถุประสงค์ ตกในสภาวะอันตราย
เพื่อส่งสริมความร่วมมือระหว่างประเทศในการคุ้มครอง โดยจากการประชุมครั้งที่ 40 กลุ่มป่าดงพญาเย็น -เขาใหญ่ไม่
และอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติให้ดำรง ถูกขึ้นบัญชีมรดกโลกภาวะอันตราย
คุณค่าความโดดเด่นเป็นมรดกของมวลมนุษยชาติทั้งในปัจจุบัน มรดกโลกเตรียมเสนอขึ้นทะเบียน
และในอนาคตต่อไป 1. ประสาทหินพิมาย ปราสาทพนมรุ้ง ปราสาทเมืองต่ำ
ที่ปรึกษา คณะกรรมการมรดกโลก 2. อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท
1. ICCROM 3. วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช
2. ICOMOS 4. กลุ ่ ม ป่ า แก่ ง กระจาน (ขสป แม่ น ้ ำ ภาชี อช.แก่ ง
3. IUCN กระจาน อช.กุยบุรี อช.เฉลิมพระเกียรติไทยประจัน
ประเทศไทย เข้าเป็นภาคีลำดับที่ 95 เมื่อวันที่ 17ก.ย. 30 และพื้นที่แนวเชื่อมต่อ อช.แก่งกระจานและกุยบุรี)
สำนักงานนโยบายและแผน 5. NEW ทะเลอั น ดามั น (อ่ า วพั งงาและชายฝั ่ งทะเล
ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ ่ ง แวดล้ อ ม เป็ น เกาะภู เ ก็ ต ไปจนถึ ง ทางตอนใต้ ต ิ ด กั บ ชายแดน
หน่วยประสานงานกลางอนุสัญญาคุ้ม ครอง มาเลเซีย)
มรดกโลก (National Focal Point) อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทาง
ประเทศไทย มี 5 มรดกโลก
ทางวัฒนธรรม ชีวภาพ (Convention on Biological Diversity : CBD)
1.เมืองประวัติศาสตร์สุโขทัยและเมืองบริวาล ประเทศเข้าร่วม : 12 มิถุนายน 2535
2.นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา วัตถุประสงค์
3.แหล่งโบราญคดีบ้านเชียง 1. เพื่ออนุรักษ์ความหลากหลายทางชวีภาพ
ทางธรรมชาติ 2. เพื่อใช้ประโยชน์องค์ประกอบตวามหลากหลายทาง
1.เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง ชีวภาพอย่างยั่งยืน
2.ผืนป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ 3. เพื่อแบ่งปันผลประโยชน์ที่ได้จากทรัพยากร
พันธุกรรมอย่างยุติธรรมและเท่าเทียม
15

พิธีสารของอนุสัญญา น้ำจืด น้ำเค็ม น้ำกร่อย รวมไปถึงชายฝั่งทะเล พื้นที่ทะเล ใน


1.พิธีสารคาร์ตาเฮนนา ว่าด้วยความปลอกภัยทางชีวภาพ : บริเวณเมื่อน้ำลดต่ำสุดมีความลึกไม่เกิน 6 เมตร
การคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภาพจากความเสี่ยงที่อาจ พื้นที่ชุมน้ำในประเทศไทย
เกิดจากสิ่งมีชีวิตที่ได้รับการดัดแปลงพันธุกรรม 1. พรุควนขี้เสี้ยน ขสป ทะเลน้อย
2.พิธีสารนาโงยา ว่าด้วยการเข้าถึงทรัพยากรพันธุกรรมและ 2. เขตห้ามล่าบึงโขงหลง
การแบ่ ง ปั น ผลประโยชน์ ท ี ่ เ กิ ด ขึ ้ น จากการใช้ ป ระโยชน์ 3. ดอนหอยหลอด
ทรัพยากรพันธุกรรมอย่างเท่าเทียมและยุติธรรม 4. ปากแม่น้ำกระบี่
ความหลากหลายทางชีวภาพ 5. เขตห้ามฯหนองบงคาย
หมายถึง การมีสิ่งมีชีวิตนานาชนิด นานาพันธุ์ในระบบนิเวศ 6. พรุโต๊ะแดง (ขสป เฉลิมพระเกียรติพระเทพฯ)
อันเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย ซึ่งมีมากมายและแตกต่างกันทั่ วโลก 7. หาดเจ้าไหม-ลิบง-ปากแม่น้ำตรัง
หรือง่ายๆ คือ การที่มีชนิดพันธุ์ (species) สายพันธุ์ (genetic) 8. อช แหลมสน
และระบบนิเวศ (ecosystem) ที่แตกต่างหลากหลายบนโลก มี 9. อช หมู่เกาะอ่างทอง
3 ระดับคือ 1. Genetic diversity 10. อช.อ่าวพังงา
2. Species diversity : ความหลากหลายของ 11. กุดทิง
ชนิดของสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ในพื้นที่หนึ่งๆ 12. อช. สามร้อยยอด
3. Ecological diversity 13. หมูเกาะระ-พระทอง
Exotic species ชนิ ดพั นธุ์ ต่ า งถิ ่ น : ชนิดพันธุ์ที่ไม่เคย 14. หมู่เกาะกระ
ปรากฏในเขตชีวภูมิศาสตร์นั้นมาก่อน แต่ถูกนำเข้ามาหรือเข้า **ล่าสุด (2563) พื้นที่ชุ่มน้ำแม่น้ำสงครามตอนล่าง จ.นครพนม
มาด้วยวิธีการใด ๆ ซึ่งอาจดำรงชีวิตอยู่และสามารถสืบพันธุ์ได้ UNFCCC อนุสัญญาว่าด้วยการ
หรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของปัจจัยและการปรับตัว
ของชนิดพันธุ์นั้น ๆ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ
Invasive alien species ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นรุกราน : ชนิด ได้รับการรับรอง : 9 พฤษภาคม 2535
พั น ธุ ์ ต ่ า งถิ ่ น ที ่ เ ข้ า มาแล้ ว สามารถตั ้ ง ถิ ่ น ฐานและมี ก าร วัตถุประสงค์ : เพื่อรักษาระดับความเข้มข้นของก๊าซเรือน
แพร่กระจายได้ในธรรมชาติ เป็นชนิดพันธุ์ที่เด่นในสิ่งแวดล้อม กระจก
ใหม่ และเป็นชนิดพันธุ์ท้องถิ่นหรือชนิดพันธุ์พื้นเมืองสูญพันธุ์ GHG : Geenhouse gases
ทำให้เกิดความสูญเสี ยทางดาน สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและ 1. CO2 คาร์บอนไดร์ออกไซด์
สุขอนามัย 2. CH4 ,มีเทน
3. N2O ไนตรัสออกไซด์
Ramsar
4. SF6 ซัลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์
อนุสัญญาว่าด้วยพื้นที่ชุ่มน้ำที่มคี วามสำคัญระหว่างประเทศ
ประเทศไทยได้รับการรับรอง : 9 พฤษภาคม 2535
โดยเฉพาะเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของนกน้ำ
REDD : กลไกทีม่ อบผลตอบแทนแก่ประเทศต่าง ๆ ที่ลดการ
พื้นที่ชุมน้ำ : Wetland ที่ลุ่ม ที่ราบลุ่มที่ลุ่มชื้นและพรุ แหล่ง
ปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากการทำลายป่าและ
น้ำ ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและมนุษย์สร้าขึ้น ทั้งที่มีน้ำขัง
ความเสื่อมโทรม
หรือท่วมอยู่ภาวรและชั่วคราว ทั้งที่เป็นแหล่งน้ำนิ่ง น้ำไหล ทั้ง
REDD+ : ลดการตัดไม้ทำลายป่า การส่งเสริมการอนุรักษ์
พื้นที่ป่า และการจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน
16

เ ร ด ด ์ พ ล ั ส ( REDD +) “Reduce Emissions from 5. กลุ่มงานเชี่ยวชาญเฉพาะ


Deforestation and forest Degradation, and foster 6. กลุ่มงานเชี่ยวชาญพิเศษ
conservation, sustainable management of forests, and พนักงานต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
enhancement of forest carbon stocks.” 1. สัญชาติไทย
หลักการของ REDD+ (5 กิจกรรม) 2. อายุ > 18 ปี
1. การลดการทำลายป่า 3. ไม่เป็นผลกายทุพพลภาพ
2. การอนุรักษ์ป่าไม้ 4. ไม่ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
3. การลดความเสื่อมโทรมของป่า 5. ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
4. การจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน 6. ไม่เป็นผู้ต้องโทษจำคุก
5. การเพิ่มการกักเก็บคาร์บอน 7. ไม่เป็นผู้ถูกลงโทษให้ออก ปลดออก หรือไล่ออก
RED : เสนอครั้งแรก COP 11 8. ไม่เป็นข้าราชการทางการเมือง
REDD ถูกกำหนดใน Bali Action Plan ใน COP 13 9. คุณสมบัติอื่น ๆ ที่ส่วนราชการกำหนด
REDD+ เป็นที่ตกลงกันใน COP15 ***จัดทำกรอบอัตรากำลังพนักงานราชการเป็นระยะเวลา 4 ปี
แต่ถือว่า REDD+ เกิดขึ้น COP 11 ***ส่งผลการดำเนินการประเมินพนักงานราชการ
นิ ย ามป่ า กลไก REDD+ “พื ้ น ที ่ ป กคลุ ม ด้ ว ยต้ น ไม้ ท ้ อ งถิ่ น - ธันวาคม ของทุปี
หลากหลายชนิดที่มีความสูง > 2 เมตรขึ้นไป โดยมีการปกคลุม - หากไม่ผ่านแจ้งให้ทราบภายใน 7 วัน
เรือนยอดไม่ต่ำกว่า 10% มีเนื้อที่ตั้งแต่ 0.31 ไร่ (0.5 ha) ขึ้นไป” สิทธิ์ประโยชน์และค่าตอบแทน ***ไม่มีลาไปศึกษาต่อ
1. สิทธิเกี่ยวกับการลา
ระเบียบพนักงานราชการ 2. สิทธิการได้รับค่าตอบแทนระหว่างลา
บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2547 3. สิทธิค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลา
พนังงานราชการ Government Employee 4. ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
นักวิชาการป่าไม้ปฏิบัติการ : Forest technical officer 5. ค่าเบี้ยประชุม
practioner level 6. สิทธิในการรับเครื่องราชอิสริยาภรณ์
พนักงานราชการ : บุคคลซึ่งได้รับการจ้างตามสัญญาจ้าง 7. การได้รับรถประจำตำแหน่ง
โดยได้รับค่าตอบแทนจากงบประมาณของส่วนราชการนั้น เพื่อ 8. สิทธิอื่น ๆ ที่คณะกรรมการประกาศ
เป็นพนังงานของรัฐในการปฏิบัติงานให้กับส่วนราชการนั้น สิทธิการลาและค่าตอบแทน
พนักงานราชการ มี 2 ประเภท ลาป่วย ลาได้ตั้งแต่ 3 -ระยะป่วยจริง
1. พนักงานราชการทั่วไป ค่าตอบแทน ≤ 30 วัน
2. พนักงานราชการพิเศษ ลาคลอด ไม่เกิน 90 วัน
ตำแหน่งของ พนักงานราชการตามกลุ่มงานโดยจําแนก ค่าตอบแทน ≤ 45 วัน
เป็นกลุมงานตามลักษณะงานและผลผลิตของงาน ลากิจส่วนตัว ไม่เกิน 10 วัน
1. กลุ่มงานบริการ ค่าตอบแทน ≤ 10 วัน
2. กลุ่มงานเทคนิค ลาพักผ่อน ไม่เกิน 10 วัน
3. กลุ่มงานบริหารทั่วไป **นักวิชาการป่าไม้ ค่าตอบแทน ≤ 10 วัน
4. กลุ่มงานวิชาเฉพาะ (พนง ที่ปฏิบัติงานไม่ครบ 6 เดือนไม่มีสิทธิ์ลาพักผ่อน)
17

ลาเป็นทหาร เมื ่ อ พ้ น จากการเป็ น ทหารแล้ ว ให้ 3.1. หนังสือขอรายละเอียด


กลับมารายงานตัว ภายใน 7 วัน ค่าตอบแทน ≤ 60 วัน 3.2. ส่งสำเนา
ลาเพื่อไปบวช/ฮัวญ ≤ 120 วัน 3.3. ตอบรับทราบ/หนังสือการเงิน
ค่าตอบแทน ≤ 120 วัน 3.4. แจ้งผลที่ดำเนินการแล้ว
(พนง ที่ปฏิบัติงานมากกว่า 4 ปี ถึงจะมีสิทธิ์ลานี้) 3.5. เตือนเรื่องที่ค้างไว้
วินัยและการรักษาวินัย 3.6. หนังสือที่หัวหน้าส่วนราชการกำหนดให้เป็น
วินัยร้านแรง หนังสือประทับตรา
1. ทุจริต 4. หนังสือสั่งการ ได้แก่ คำสั่ง ระเบียบ ข้อบังคับ
2. ไม่ปฏิบัติตามกฎ/ข้อบังคับ/ระเบียบ 5. หนังสือประชาสัมพันธ์ ได้แก่ ประกาศ แถลงการณ์ และข่าว
3. ประมาณเล่นเล่อจนเสียหาย 6. หนังสือที่ทำไว้เป็นหลักฐาน ได้แก่ หนังสือรับรอง
4. ไม่ทำตามกำหนดในสัญญา รายงานการประชุม บันทึก อื่น ๆ
5. ละทิ้งงาน มากกว่า 7 วัน หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ
6. ต้องโทษจำคุก หนังสือด่วนที่สุด ปฏิบัติทันทีที่ได้รับหนังสือ
*** หากฝ่าฝืนวินัยร้ายแรง มีโทษ ไล่ออก หนังสือด่วนมาก ปฏิบัติโดยเร็ว
*** ฝ่ า ฝื น วิ น ั ย ไม่ ร ้ า ยแรง มี โ ทษ โทคภาคทั ณ ฑ์ / ตั ด หนังสือด่วน ปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ
ค่าตอบแทน/ลดขั้นเงินเดือน
สิ้นสุดสัญญาจ้าง พระราชดำริ/ศาสตร์พระราชา
1. ครบกำหนดสัญญาจ้าง “การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และการพัฒนาคุณภาพชีวิตราษฎร”
2. ขาดคุณสมบัติของพนักงงานราชการ จุดเริ่มต้นของศาสตร์พระราชาในด้านป่าไม้ เริ่มมาจาก การ
3. ตาย ทดลองปลูกต้นยางนา โดยทรงเพาะเมล็ดและทรงปลูกต้นยาง
4. ไม่ผ่านการประเมิน นา เรียกว่า ป่าสาธิต
5. ถูกให้ออก เนื่องจากกระทำความผิดวินัยร้ายแรง ปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูก
6. เหตุอื่นตามที่ส่วนราชการกำหนด 1. ปล่อยพื้นที่ไม่ต้องทำอะไรเลย
**หากจะลาออกให้ยืนหนังสือของลาออก ต่อ หน.ส่วนราชการ 2. ห้ามคนเข้าไป
งานสารบรรณ 3. ป้องกันไฟป่า
4. สร้างฝายชะลอน้ำ
งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสารตั้งแต่ จัดทำ รับส่ง
ตองยา- วิธีหนึ่งในระบบวนเกษตร : การปลูกสักด้วยวิธีการ
เก็บรักษา ทำลาย ยืม
หยดเมล็ด
หนังสือราชการ มี 6 ชนิด
1. หนังสือนอก : เป็นแบบพิธีการโดยใช้ตราครุฑ เป็น
หนังสือติดต่อระหว่างส่วนราชการอื่นหรือหน่วยงานที่มิใช่ส่วน
ราชการ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2. หนังสือใน พิธีการน้อยกว่าหนังสือนอก ใช้กระดาษ 3 หลักการ 2 เงื่อนไข
บันทึกข้อความติดต่อภายในกระทรวง ทบวง กรม - ความพอประมาณ - คุณธรรม
3. หนังสือประทับตรา : ไม่ใช่เรื่องสำคัญมาก ได้แก่ - ความมีเหตุผล - ความรู้
18

- การมีภูมิคมุ้ กัน ***ปลูกหญ้าแฝกและคลองส่งน้ำในโครงการพระราชดำริ ร.9


ป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง เรียกว่า คลองไส้ไก่
ป่า 3 อย่าง ป่าไม้ใช้สอย ป่าเศรษฐกิจ ป่าไม้กินได้ **** โครงการในพระราชดำริของ ร.10 มีอยู่ใน 6 จังหวัด (2562)
ประโยชน์ 4 อย่าง ไม้ใช้สอย รายได้ ไม้ผลเก็บกิน อนุรักษ์ดิน ดังนี้
และน้ำ 1. เชียงใหม่
เกษตรกรรมยั่งยืน มี 5รูปแบบ 2. นราธิวาส
1. เกษตรทฤษฎีใหม่ 3. สกลนคร
2. เกษตรผสมผสาน 4. ฉะเชิงเทรา
3. เกษตรอินทรีย์ 5. เพชรบุรี
4. วนเกษตร 6. จันทบุรี
5. เกษตรธรรมชาติ
เกษตรทฤษฎีใหม่ เพื่อแก้ไขความแห้งแล้งและขาดน้ำ
การวิจัยทางด้านการอนุรักษ์วิทยา
30 : 30 : 30 : 10 แหล่งน้ำ : ที่นา : พืชไร่/ผัก : ที่อยู่อาศัย ประเภทของงานวิจัย
ระบบวนเกษตร มี 3 ระบบ 1. แบ่งตามลักษณะวิชา
Agrisylvicutural system : ระบบปลูกป่า-ไร่นา 1.1. งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ
Sylvopastoral : ระบบปลูกป่า-หญ้าเลี้ยงสัตว์ 1.2. งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ทางสังคม
Agrosylvopastoral : ระบบเลีย้ งสัตว์-ปลูกป่า-ไร่นา 2. แบ่งตามจุดประสงค์ของงานวิจัย
ป่ากินได้ : ป่าปลูกกินได้ 7 ชั้น 2.1. งานวิจัยเชิงพยากรณ์
เพื่อเพิ่มพื้นที่เก็บน้ำตามธรรมชาติและสร้างรายได้ เพื่อการ 2.2. งานวิจัยเชิงอรรถอธิบาย
แก้ไขปัญหาพื้นที่ต้นน้ำเสื่อมสภาพ 2.3. งานวิจัยเชิงวินิจฉัย
วัตถุประสงค์ 3. แบ่งตามวิธีการศึกษา
1. เพื่อเพิ่มพื้นที่ต้นน้ำและฟื้นฟูระบบนิเวศโดยชุมชน 3.1. งานวิจัยเชิงประวัติศาสตร์
2. เปลี่ยนจากการปลูกพืชเชิงเดี่ยวมาเป็นแบบผสมผสาน 3.2. งานวิจัยเชิงทดลอง
3. กระตุ้นเศรษฐกิจตามนโยบายและส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน 3.3. งานวิจัยเชิงบรรยาย/พรรณนา
ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3.4. งานวิจัยเชิงวิเคราะห์
ชั้นที่ 1 ไม้เด่น 4. แบ่งตามลักษณะข้อมูล
ชั้นที่ 2 ไม้รอง 4.1. งานวิจัยเชิงคุณภาพ
ชั้นที่ 3 ไม้พุ่ม 4.2. งานวิจัยเชิงปริมาณ
ชั้นที่ 4 พืชสมุนไพร 5. แบ่งตามการใช้ประโยชน์
ชั้นที่ 5 ไม้พื้นล่าง 5.1. งานวิจับพื้นฐาน/งานวิจัยบริสุทธิ์
ชั้นที่ 6 ไม้เลื้อย 5.2. งานวิจัยประยุกต์
ชั้นที่ 7 พืชที่มีหัวใต้ดิน นิเวศวิทยาป่าไม้ทั่วไป
** ตัวอย่างบ้านห่างทางหลวง ต.ภูฟ้า อ.บ่อเกลือ จ.น่าน
นิเวศวิทยาคือ การศึกษาเกี่ยวกับวิธีการที่พืชและสัตว์พึ่งพา
โครงการพัฒนาชาวเขา >> โครงการหลวง
สิ่งแวดล้อมของมัน และพึ่งพาซึ่งกันและกันเพื่อความ อยู่รอด
19

ตัวอย่างเช่น ต้นไม้ต้องการแสงอาทิตย์ อากาศ น้ำและดิน เพื่อ 3. ป่าเบญจพรรณ (23.23)


การเติบโต เมื่อต้นไม้ทิ้งใบลงสู่ดิน ใบไม้ทั้งหลาย ก็จะถูกย่อย 4. ป่าชายเลน (20.18)
สลายด้วยจุลินทรีย์ให้กลับกลายไปเป็นธาตุอาหารให้กับดินต่อไป 5. ป่าสนเขา (19.32)
ระบบนิ เ วศ คื อ ระบบความผู ก พั น ของสิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต กั บ 6. ป่าเต็งรัง (9.17)
สิ่งแวดล้อม ในระบบนิเวศหนึ่ง ๆ จะประกอบด้วยสิ่งมีชีวิตและ กระพี้ไม้ (Sap wood) : ส่วนที่เกิดหลังสุดมีสีอ่อนกว่าส่วนอื่น
ไม่มีชีวิตในพื้นที่เฉพาะแห่งที่ต้องพึ่งพากันและกัน ตั้งแต่ห่วงโซ่ จังหวัดที่ไม่มีพื้นที่ป่า
อาหารการคล้ำจุนชีวิต เช่น ระบบนิเวศป่าของป่าไม้ ระบบนิเวศ 1. อยุธยา
ของทะเล เป็นต้น 2. ปทุมธานี
Seed orchard : สวนผลิตเมล็ดพันธุ์ไม้ป่าเกี่ยวกับกรมป่าไม้ 3. นนทบุรี
เสียส่วนใหญ่ 4. อ่างทอง
Orthodox seed : เมล็ดพืชอายุยาว : มะค่า ประดู่ สัก DBH : เส้นผ่านศูนย์กลางของต้นไม้ที่ระดับความสูงเพียงอก
Recalcitrant seed : เมล็ดพืชอายุสั้น Dipterocarp 1.30 เมตร
Forest Restoration : ปลูกป่าฟื้นฟูให้ป่าฟื้นคืนสภาพเร็ว - ใช้ Diameter Tape วัด
กว่าปกติโดยมีสภาพใกล้เคียงธรรมชาติ - หรือหาได้จาก DBH = GBH (เส้นรอบวง)/3.14
Holocenotic environment : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย แปลงวงกลม
แวดล้อมต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลทั้งทางตรงทางอ้อมต่อการรอดตาย รัศมี 17.84 (0.1 ha) เก็บ Tree
และการเจริญเติบโต รัศมี 12.62 เก็บ ไผ่ ปาล์ม หวาย
Afforetation : ปลูกป่าในที่ที่ไม่เคยเป็นป่ามาก่อนใน 50 ปี รัศมี 3.99 กล้าไม้ (Sapling)
Reforetation : ปลูกป่าในพื้นทีท่ ถี่ ูกทำลายไปก่อน ปี 2533 รัศมี 0.631 ลูกไม้ (Seed)
เคยเป็นป่ามาก่อน ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของต้นไม้มากที่สุด
Forest restoration ปลูกป่าฟืน้ ฟู ให้ป่าฟื้นคนืสภาพเร็วกว่า ดิน ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ
ปกติ โดยมี สภาพใกล้เคียงธรรมชาติ หลักเกณฑ์การจำแนกไม้โตเร็ว
Biomass : มวลของชิ้นส่วนของพืชที่แห้งปราศจากความชื้น อัตราความเจริญเติบโตของต้นไม้ไว้ 5 ประเภท
ป่า 1. ไม้โตเร็วมาก : มีอัตราเส้นรอบวงเกินปีละ 5 ซม เช่น
พ.ร.บ. ป่าไม้ 62 ที่ดินที่ยังมิได้มีบุคคลใดได้มา สะเดาเทียม ตะกู เลี่ยน กระถินณรงค์ กระถินเทพา ยูคา
ตามกฎหมายที่ดิน ลิปตัส คามาลดูเลนซิส)
พ.ร.บ.ป่าสงวนแห่งชาติ ที่ดินรวมตลอดถึง ภูเขา ห้วย หนอง 2. ไม้โตเร็ว : มีอัตราเส้นรอบวงเกินปีละ 4-5 ซม เช่น
คลอง บึง บางลำนำ ทะเลสาบ เกาะ และชายฝั่งที่ยังไม่ได้มี สะเดา ขี้เหล็ก ถ่อน สีเสียดแก่น โกงกาง สนทะเล สน
บุคคลใดได้มาตามกฎหมาย ประดิพัทธ์
FAO พื้นที่ปกคลุมเรือนยอดไม่น้อยกว่า 10% ต้นไม่สูง 5 เมตร 3. ไม้โตปกติ : มีอัตราเส้นรอบวงเกินปีละ 2.5-4 ซม เช่น
และมีพื้นที่ไม่น้อยกว่า 0.5 ha (3.125 ไร่) สัก สนสองใบ สนสามใบ สนคาริเบีย
การกักเก็บคาร์บอนของป่าแต่ละประเภท (เหนือดิน/ใต้ดิน) 4. ไม้โตค่อนข้างช้า มีอัตราเส้นรอบวงเกินปีละ 1-2.5 ซม
1. ป่าดิบชื้นดิบเขา (26.28) เช่น ประดู่ ยางนา แดง หลุมพอ
2. ป่าดิบแล้ง (25.24)
20

5. ไม้โตช้า มีอัตราความเจริญเติบโตทางเส้นรอบวง < 1 Yellow star (Schoutenia glomerate king Subsp.


ซม เช่น ไม้ตะเคียนทอง ชิงชัน มะค่าโมง เต็งรัง peregrina)
*** ไม้มีคณุ ค่า = ไม้โตช้า รอบตัดฟันนาน ไม้มงคล 9 ชนิด
ค่า IVI (Important Value index) ประกอบไปด้วย 1. พะยูง 2. สัก
1. ค่าความหนาแน่นสัมพัทธ์ของไม้ชนิดนั้น 3. ทองลางลาย(ปาริชาติ)
2. ค่าความถี่สมั พัทธ์ของพรรณไม้แต่ละชนิด 4. ทรงบาดาล 5. ไผ่สสี ุก
3. ค่าความเด่นสัมพัทธ์ของพรรณไม้แต่ละชนิด 6. กันเกรา 7.ราชพฤกษ์
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับชนิดของป่า 8. ชัยพฤกษ์ 9. ขนุน
1. ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย/ปี ตัวย่อต่าง ๆ
2. ความสูงจากระดับน้ำทะเล NCVI : ค่าดรรชนีพืชพรรณ ค่า – แหล่งน้ำ 0= พื้นที่โล่ง
3. ดิน 0.2-0.3 = พืนที่เกษตร 0.5-1= พื้นที่ป่าไม้
4. สภาพภูมิอากาศ MPC : Mekong River Commission มุ่งหมายเพื่อป้องกัน
5. Elevation พิทักษ์รักษาพื้นที่บริเวณลุ่มแม่น้ำโขง ประกอบไปด้วย ไทย
6. Biotic ลาว กัมพูชา เวียดนาม
7. Tophographic&Forest fire LULUCF : การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน
ต้นไม้ดัชนีชี้วัดของป่าเบญจพรรณ : สัก มะค่าโมง แดง APCS : การเร่งกระบวนการแทนที่
ประดู่ป่า และชิงชัน ANP : การเร่งการฟื้นตัวตามธรรมชาติ
ลักษณะของต้นไม้ API : Antenedent Precipltation Index
- Tree สูง > 1.3 m DBH ≥ 4.5 cm - ค่าที่ใช้วัดปริมาณความชื้นในดินหรือปริมาณน้ำที่คงอยู่ในดิน
- Sapling สูง > 1.3 m DBH < 4.5 cm - ประเมินสภาพการณ์ภัยแล้ง
- Seed สูง < 1.3 m PES : การจ่ายค่าตอบแทนให้บริการของระบบนิเวศ
- 1 ตร.กม = 625 ไร่ - บนหลักการ “ผู้รับประโยชน์เป็นผู้จ่าย”
1 ไร่ = 1600 ตร ม (40x40) - กำหนดพื้นที่ ผืนป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ ในการ
- ป่าสักนวมินทรราชินี จ.แม่ฮ่องสอน : เป็นป่าสักที่ใหญ่ที่สดุ ประเมินค่าบริการ
- แม่แจ่มโมเดล : การจัดการแก้ไขปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดิน LAC หมายถึง ระดับการเปลี่ยนแปลงสูงสุดทีย่ อมรับได้ในพื้นที่
ในพื้นที่ป่าที่แรก/เป็นต้นแบบการจัดการ และไม่ทำให้พื้นที่ เสื่อมสภาพ
PAC : Protected Area Committee (คือการประชุมที่
พะยูง
ปรึกษาในพื้นที่อนุรักษ์นั้น ๆ )
Cites บัญชี 2
IUCN VU วิทยาศาสตร์ทั่วไป
ไม้หวงห้ามประเภท ก ส่วนประกอบของชื่อวิทยาศาสตร์
Siamese Rosewood (Delbergia cochichinensis) 1. Genetic name
เป็นต้นไม้ประจำจังหวัดหนองบังลำภู 2. Species name
ต้นรวงผึ้ง : ต้นไม้ประจำรัชกาลที่ 10 3. Author name
สารเคมีที่ทำให้ปะการังเสื่อมโทรม
21

1. Oxybenzone ทำลายระบบสืบพันธุ์ หนังสือแสดงสิทธิที่ดิน


2. Octinoxate โฉนดที่ดิน/น.ส.4 ขาย/โอน/จำนอง/ค้ำ ได้
3. 4-Methylbcnzylid ใบจอง/น.ส.2 ขาย/โอน/จำนอง ไม่ได้ แต่เป็นมรดกได้
4. Bytylparaben วัตถุกันเสียทำให้ปะการังฟอก หนังสือรับรองการทำประโยชน์/น.ส.3 จำนอง ได้
ขาว ใบไต่สวน/ น.ส.5 เป็นใบเพื่อยื่นออกโฉนด
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต เอกสารที่ราชการออกให้
ภาวะได้ประโยชน์ร่วมกัน (Protocooperation +,+) ภ.บ.ท.5 แบบยืนภาษีท้องที่ ขาย/ซื้อ ไม่ได้
เป็นความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด ที่อยู่ร่วมกันโดยทีต่ ่าง น.ค.3
ฝ่ายต่างได้ประโยชน์ซึ่งกันและกัน แต่สามารถแยกออกจากกัน ** ส.ท.ก. สิทธิทำกินในเขตป่าไม้ กรมป่าไม้ออกให้
นกเอี้ยงกับควาย มดดำกับเพลีย้ ส.ป.ก.สิทธิในการทำเกษตรกรรม ตลอดจนเป็นที่อยู่
ภาวะพึ่งพาอาศัย (Mutualism +,+) เป็น อาเซียน
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่อยู่ร่วมกันเป็นระยะ
มรดกอาเซียน
เวลานานจนไม่สามารถแยกออกจากกันได้ โดยที่ทั้งสองฝ่าย
1. อช.เขาใหญ่
ต่างได้ประโยชน์ซึ่งกันและกัน เช่น ไมคอร์ไรซา โปรโตซัว
2. อช.ตะรุเตา
ภาวะอิงอาศัยหรือภาวะเกื้อกูล (Commensalism
3. กลุ่ม อชหมู่เกาะสุรินทร์-หมู่เกาะสิมิลัน-อ่าวพังงา
+,0) เป็นความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวติ 2 ชนิดที่อยู่ร่วมกัน โดยที่
4. กลุ่มป่าแก่งกระจาน
ฝ่ายหนึ่งได้รับประโยชน์ ส่วนอีกฝ่ายไม่ได้และไม่เสียประโยชน์
5. อช.หาดเจ้าใหม-เขตห้ามล่าหมูเ่ กาะลิบง
ใด ๆ เช่น ปลาฉลามกับเหาฉลาม พืชอิงอาศัย (Epiphyte)
6. อช. หมู่เกาะอ่างทอง
ภาวะปรสิต (Parasitism +,-) เป็นความสัมพันธ์ของ
สิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่อยู่ร่วมกัน โดยที่จะมีฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์ 3 เสาหลัก : เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ความมั่นคง
จากการเป็นผู้ถูกอาศัย เรียกว่า โฮสต์ (Host) ASEN +3 (+6): จีน เกาหลีใต้ ญีป่ ุ่น (ออสเตเลีย อินเดีย
ภาวะล่าเหยื่อ (Predation +,-) เป็นความสัมพันธ์ของ นิวซีแลนด์)
สิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่อยู่ร่วมกัน โดยฝ่ายที่เป็นผู้ล่า (Predator) จะ การเมือง/ข่าวสารใหม่ๆ
เป็นฝ่ายได้รับประโยชน์ ส่วนผู้ถูกล่าหรือเหยื่อ (Prey) สสอ. โครงการส่งเสริมพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนในพื้นที่
ภาวะแก่งแย่ง (Competition -,- ) เนื่องจากทั้งสอง ป่าอนุรักษ์ ดูแลโดยสำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ ให้เงิน
ฝ่ายจำเป็นต้องใช้ทรัพยากรเดียวกันในการดำเนินชีวิต อุดหนุนแก่ชุมชน 50,00 บาท/ชุมชน
สูตรการสังเคราะห์แสง รสทป : โครงการราษฎรอาสาสมัครพิทักษ์ป่า
6CO2 + 6H2O ---------> C6H12O6 +6O2 พรก.ฉุกเฉิน covid-19 : เริ่มใช้ 26 มีนาคม 2563
***3R : Reduce Reuse and Recycle
ระบบการจำแนกพืชดอก คือ ระบบ APGIV
วันสำคัญที่เกี่ยวกับทรัพยากรป่าไม้
14 มกราคม วันอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ มติ ครม 9 ม.ค 33
3 มีนาคม วันสัตว์ป่าและพืชโลก World wildlife day
เกิดจากการประชุม CITES Cop 16
13 มีนาคม วันช้างไทย
เอกสารสิทธิทำกิน/ที่ดนิ
21 มีนาคม วันป่าไม้โลก
22

22 มีนาคม วันน้ำโลก ✓ ไม้หวงห้ามประเภท ข มีทั้งหมด 13 ชนิด


22 พฤษภาคม วันความหลากหลายทางชีวภาพ 1. กระเบาใหญ่ กระเบาน้ำ กระเบาใหญ่
24 พฤษภาคม วันต้นไม้ประจำชาติ (วันวิสาขบูชา) 2. กำจัดต้น มะแข่น แขว่น มะข่วง ลูกระมาศ
5 มิถุนายน วันสิ่งแวดล้อมโลก 3. กำยาน
2 ตุลาคม วันสถาปนากรมอุทยาน 4. จันทน์ชะมด
21 ตุลาคม วันปลูกต้นไม้ประจำชาติ 5. จันทน์หอม
26 ธันวาคม วันคุม้ ครองสัตว์ปา่ 6. จันทนา จันทน์ขาว
วันยกเลิกสัมปทานป่าบก 14 มกราคม 2532 7. ตีนเป็ดแดง เยลูตง
วันยกเลิกสัมปทานป่าชายเลน 19 พฤศจิกายน 2539 8. ปะ กะ
9. รง รงทอง
กฎหมายที่ออกใหม่ในปี 2562,ข้อควรรู้ 10. สนแผง สนใบต่อ แปกอม
ของกฎหมาย 11. สำรอง พุงทะลาย ท้ายเภา
พ.ร.บ. ป่าไม้ (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2562 12. แสลงใจ แสลงไหน แสลงทม แสลงเบื่อ แสงเบื่อ
การกระทำความผิดตาม มาตรา 54 ต้องบุกรุกแผ้วถาง 13. แหลง แสลง ยวนผึ้ง ผึ้ง ลุง
เนื้อที่ 50 ไร่ ขึ้นไป ถือเป็นคดีรายใหญ่ *** แก้ไข ม.7 “ไม้ชนิดใดที่ขึ้น ในป่าจะให้เป็นไม้หวงห้ า ม
✓ ของป่าหวงห้าม ประเภทใดให้กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกาสำหรับไม้ทุกชนิดที่
1) กล้วยไม้ป่าทุกชนิด ขึ้นในที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองตามประมวล
2) 2.จันทน์แดง จันทร์ผา กฎหมายที่ดิน ไม่เป็นไม้หวงห้ าม หรือไม้ที่ปลูกขึ้นในที่ดินที่
3) ชันทุกชนิด ได้รับอนุญาตให้ทำประโยชน์ตามประเภทหนังสือแสดงสิทธิที่
4) ชิ้นไม้กฤษณา และกฤษณา รัฐมนตรีประกาศกำหนดโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
5) ชิ้นไม้จันทน์หอม ให้ถือว่าไม่เป็นไม้หวงห้าม”
6) ฝาง ง้าย *** เพิ่มเติม ม.9 “บรรดาไม้สัก ไม้ยาง ไม้ชิงชัน ไม้เก็ดแดง ไม้
7) ถ่านไม้ทุกชนิด อีเม่ง ไม้พะยูงแกลบ ไม้กระพี้ ไม้แดงจีน ไม้ขะยุง ไม้ซิก ไม้
8) น้ำมันยาง กระซิก ไม้กระซิบ ไม้พะยูง ไม้หมากพลูตั๊กแตน ไม้กระพี้เขา
9) ใบลาน ควาย ไม้เก็ดด า ไม้อีเฒ่า และไม้เก็ดเขาควาย ที่ขึ้นในป่าให้
10) เปลือกไม้ และของไม้ เป็นไม้หวงห้ามประเภท ก.
11) เฟิร์นกระเช้าสีดา ชายผ้าสีดา และห่อข้าวสีดา พ.ร.บ. ป่าสงวนแห่งชาติ (ฉบับที่ 4) 2559
12) ยางขนุนนก ***แก้ไข ม. 13/1 “ ในกรณีที่ส่วนราชการและหน่วยงาน
13) ยางเยลูตง ของรัฐมีความประสงค์จะใช้พื้นที่บางแห่งภายในเขตป่าสงวน
14) ยางรัก แห่งชาติเป็นสถานที่ปฏิบัติงานหรือเพื่อประโยชน์ของรัฐอย่าง
15) ยางสน อื่น ให้อธิบดีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการพิจารณาการ
16) รากเฟิร์นออสมันดา ใช้ประโยชน์ในเขตป่าสงวนแห่งชาติมีอำนาจประกาศกำหนด
17) ลำต้นและรากเฟิร์นต้น บริเวณดังกล่าวเป็นบริเวณที่ทางราชการใช้ประโยชน์ภายใน
18) หวายทุกชนิด เขตป่าสงวนแห่งชาติได้ ”
23

*** ม.16 ใช้บ่อย อธิบดีโดยการใช้ประโยชน์ในเขตป่าสงวน หลุมพอ กฤษณา ไม้หอม เทพทาโร โกงกางใบโกงกางใบใหญ่


แห่งชาติมีอำนาจในกรณีดังต่อไปนี้ เสม็ด ฝาง ไผ่ทุกชนิดไม้สกุลมะม่วง ไม้สกุลทุเรียน มะขาม .
1) การเข้าทำประโยชน์หรืออยู่อาศัยในเขตป่าสงวน ยางพารา
แห่งชาติคราวละไม่น้อยกว่า 5 ปีแต่ ไม่เกิน 30 ปี พ.ร.บ. อุทยานแห่งชาติ 2562
2) การเข้าทำประโยชน์เกี่ยวกับการทำเหมืองแร่ตาม ม.6 กำหนดเป็นอุทยาน >> พระราชกฤษฎีกา
กฎหมายว่าด้วยแร่คราวละไม่เกิน 10 ปี ม.7 ขยายเพิกถอน >> พระราชกฤษฎีกา
พ.ร.บ. สวนป่า (ฉบับที่ 2) 2558 ม.8 วรรคสาม ห้ามมิให้เพิกถอนอุ ทยานไม่ ว่า ทั้ งหมดหรื อ
ม.4 ที่ดินที่จะของขึ้นทะเบียนสวนป่า บางส่วนเพื่อนำมากำหนดเป็นวนอุทยาน สวนพฤกษศาสตร์
1) ที่ดินที่มีโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำ หรือสวนรุกขชาติ
ประโยชน์ตามประมวลกฎหมายทีด่ ิน ม.10 จัดตั้งคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ
2) ที่ดินที่มีหนังสือของทางราชการรับรองว่าที่ดิน ม.19 ห้ามกระทำใด ๆ ในอุทยานแห่งชาติ
ดังกล่าวอยู่ในระยะเวลาที่อาจขอรับโฉนดที่ดิน 1) ยึดถือ ครอบครอง
หรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ตามประมวล 2) เก็บหา นำออกไป
กฎหมายที่ดินได้ 3) ล่อหรือนำสัตว์ป่า
3) ที่ดินในเขตปฏิรปู ที่ดินตามกฎหมายว่าด้วยการ 4) เปลี่ยนแปลงทางน้ำ
ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม 5) ปิดกั้นทางน้ำ/บก
4) ที่ดินที่มีหนังสืออนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยป่า 6) เขทำกิจกรรมหาผลประโยชน์
สงวนแห่งชาติให้บุคคลทำประโยชน์และอยู่อาศัย 7) นำเครื่องมือสำหรับล่าสัตว์ เข้าไป
หรือปลูกป่าหรือไม้ยืนต้นภายในเขตปรับปรุงป่า 8) ยิงปืน ระเบิด จุดดอกไม้เพลิง
สงวนแห่งชาติ หรือทำการบํารุงป่าหรือปลูกสร้าง 9) ทิ้งสิ่งที่เป็นเชื้อเพลิง
สวนป่าหรือไม้ยืนต้นในเขตป่าเสื่อมโทรม 10) กระทำให้หลักเขต
5) ที่ดินที่มีใบอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยป่าไม้ให้ ม.35 ใน พ.ร.บ. นี้ เจ้าหน้าที่มีหน้าที่และอำนาจต่อไปนี้
ทำสวนป่า 1) มีหนังสือเรียกบุคคลให้ถ้อยคำ
6) ที่ดินที่ได้ดำเนินการเพื่อการปลูกป่าโดยส่วน 2) เข้าไปในสถานที่ใด ๆ เพื่อตรวจสอบและควบคุม
ราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ 3) ตรวจค้นสถานที่/พาหนะ
✓ บัญชีต้นไม้ที่ปลูกเป็นสวนป่า 58 ชนิด 4) ยึดหรืออายัดทรัพย์สิน
สั ก พะยู ง ชิ ง ชั น สาธร แดง ประดู ่ ป ่ า ประดู ่ บ ้ า น พ.ร.บ. สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า 2562
มะค่ า โมงมะค่ า แต้ เคี ่ ย ม เคี ่ ย มคะนอง เต็ ง รั ง .พะยอม สป.15 คือใบอนุญาตให้มีไว้ครอบครองซึ่งสัตว์ป่าคุม้ ครอง
ตะเคียนทอง ตะเคียนหิน ตะเคียนชันตาแมว ไม้สกุลยาง ไม้ ที่ได้มาจากการเพาะพันธุ์ ค่าธรรมเนียม 50 บาท อายุ 3 ปี
สกุ ล อะเคเซี ย สะเดา สะเดาเที ย ม ไม้ ส กุ ล ยู ค าลิ ป ตั ส สน การจะจัดตั้งสวนสัตว์ ต้องเป็นไปตาม มาตรา 33
ประดิพัทธ์ ตะกู มะฮอกกานี ยมหิน ยมหอม นางพญาเสื อ พ.ร.บ. ป่าชุมชน 2562
โคร่ง นนทรี สัตบรรณ ตีนเป็ดทะเล พฤกษ์ ปีบ ตะแบกนา ป่าชุมชน : ป่านอกเขตป่าอนุรักษ์หรือพื้นที่อื่นของรัฐ
เสลา อิ น ทนิ ล น้ ำ ตะแบกเลื อ ด นากบุ ด จำปาป่ า แคนา
นอกเขตป่าอนุรักษ์ที่ได้รับการตั้งเป็นป่าชุมชน
กัลปพฤกษ์ ราชพฤกษ์ สุพรรณการ์ เหลืองปรีดียาธร มะหาด
การจัดตั้งป่าชุมชน
มะขามป้อม หว้ า จามจุรี พลับพลา .กันเกรา กะทังใบใหญ่
24

1. การกำหนดขนาดพื้นที่ป่าชุมชนต้องคำนึงถึง สภาพ *** มีเป้าหมาย 20 ข้อ


ภูมิประเทศ ขนาดชุมชน และศักยภาพของชุมชนใน *** พื้นที่ป่าในประเทศไทยตามนโยบายป่า
การจัดการ ไม้ 2562 มีพื้นที่ 102,488,302.19 ไร่ หรือ
2. ให้บุคคลรวมตัวกัน ตั้งแต่ 50 ขึ้นไปตั้งตัวแทนเป็น
ร้อยละ 31.68 ของพื้นที่ประเทศ
หนังสือเพื่อยืนคำขอต่อผู้ว่าราชการจังหวัด
คปช : คณะกรรมการนโยบายป่าไม้แห่งชาติ
3. บุคคลนั้นที่ยื่นต้องมีอายุ 18 ขึ้นไป
4. มีภูมิลำเนาในท้องที่ป่าชุมชน ไม่น้อยกว่า 5 ปี คณะกรรมการนโยบายที ่ ด ิ น แห่ ง ชาติ
ภายในป่าชุมชนสมาชิกสามารถประกอบกิจกรรมได้ดังนี้
(คทช)
1. เก็บหาของป่า
2. การใช้ประโยชน์จากไม้ เฉพาะใช้สอยในครัวเรือน การจัดที่ดินทำกินให้ชุมชน
3. การใช้ ป ระโยชน์ จ ากทรั พ ยากรอื ่ น ๆ ตามความ มี ก รอบยุ ท ธศาสตร์ 4 ด้ า น ตาม นโยบายและแผนการ
จำเป็นต่อการอุปโภค บริโภคในครัวเรือน บริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดินของประเทศ ประกอบด้วย
***ป่าชุมชนตาม พรบ นี้มีทั้งหมด 11,327 ป่าชุมชน ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านการรักษาความสมดุลทางธรรมชาติ การ
พ.ร.บ. เลื่อยโซ่ยนต์ 2545 อนุรักษ์ที่ดินและทรัพยากรดินอย่างยั่งยืน
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการใช้ที่ดินและทรัพยากรดินเพื่อให้เกิด
เลื่อยโซ่ยนต์ที่ต้องขออนุญาต “เครื่องมือสาหรับใช้ตัด
ประโยชน์สูงสุด
ไม้หรือแปรรูปไม้ ที่มีฟันเลื่อยติดกับโซ่ ขับเคลื่อนด้วยกาลัง
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการจัดที่ดินให้ประชาชนผู้ยากไร้อย่าง
เครื่องจักรกล ที่มีต้นกำลังตั้งแต่ 1 แรงม้า โดยมีแผ่นบังคับโซ่ที่
ทั่วถึงและเป็นธรรม
มีขนาดความยาวตั้งแต่ 12 นิ้วขึ้นไป”
ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดิน
นโยบายป่าไม้ พ.ศ. 2562 ลักษณะที่ดิน
วัตถุประสงค์ของนโยบายป่าไม้แห่งชาติมี 4 ประการ ดังนี้ ที่ดินรัฐที่มีความเหมาะสมและมีศักยภาพในการจัดที่ดินทำ
2.1 เพื่อให้มีพื้นที่ป่าไม้ที่มีความสมดุลของระบบนิเวศ กินให้ชุมชนจำแนกเป็น 2 ลักษณะ
และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน 1. ที่ดินของรัฐที่มีราษฎรครอบครอง
2.2 เพื่อหยุดยั้งและป้องกันการทำลายทรัพยากรป่าไม้ 2. พื้นที่ว่างเปล่าไม่มีผู้ครอบครอง
และสัตว์ป่าของชาติ ประเภทที่ดิน
2.3 เพื ่ อ ให้ มี ก ารอนุ ร ั ก ษ์ แ ละการใช้ ป ระโยชน์ ที่ดินที่นทำมาจัดที่ดินทำกินให้ชุมชน มี 6 ประเภท (ข้อมูล
ทรัพยากรป่าไม้สัตว์ป่า และความหลากหลายทางชีวภาพอย่าง ณ เดือนสิงหาคม 2562)
เหมาะสม ยั่งยืน เป็ นธรรม และเป็น ฐานการพัฒนาประเทศ 1) ป่าสงวนแห่งชาติ
และคุ ณ ภาพชีว ิ ตของประชาชน โดยคำนึ งถึงดุ ลยภาพทาง 2) ป่าชายเลน
สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม 3) ที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดิน
2.4 เพื ่ อ ให้ ร ะบบจั ด การป่ า ไม้ ม ี ป ระสิ ท ธิ ภ าพบน 4) ที่ดินสาธารณประโยชน์
พื้นฐานองค์ความรู้และนวัตกรรม รวมทั้งกระบวนการมีส่วน 5) ที่ราชพัสดุ
ร่วมของทุกภาคส่วน 6) ที่ดินสงวนเพื่อกิจการนิคมในนิคมสร้างตนเอง

ที่ดินททำกินให้ชุมชนในพื้นทีป่ ่าสงวนแห่งชาติ
25

หลักเกณฑ์การจัดที่ดินทำกินให้ชุมชน
1. จัดที่ดินทำกินให้ชุมชนในรูปแบบแปลงรวม โดย
ให้กันพื้นที่ส่วนกลางไว้ไม่น้อยกว่า 10 % ของ
พื้นที่ทั้งหมดเพื่อปลูกป่าหรือไม้ยืนต้น
2. จัดที่ดินให้แก่ ผู้เข้าทำประโยชน์ หรืออยู่อาศัยใน
พื้นที่อยู่แล้วตามที่ครอบครองอยู่จริงแต่ไม่เกิน 20
ไร่

You might also like