You are on page 1of 18

โครงงาน

การใช้ประโยชน์จากสิ่งแวดล้อมในการสร้างสรรค์วัฒนธรรมในประเทศไทย
เรื่อง อาหารภาคใต้

จัดทาโดย
นางสาว ญาณิน เกษมสิน ชั้น ม. ๕/๑ เลขที่ ๕
นางสาว กุลวรางค์ วัยวัฒน์ ชั้น ม. ๕/๑ เลขที่ ๒๔
นางสาว ณัฐกร มัศยาอานนท์ ชั้น ม. ๕/๑ เลขที่ ๑๑
เสนอ
อาจารย์ อัจฉรา เก่งบัญชา
ชื่อโครงงาน โครงงานการใช้ประโยชน์จากสิ่งแวดล้อมในการสร้างสรรค์วัฒนธรรมในประเทศไทย
ผู้จัดทา นางสาว ญาณิน เกษมสิน เลขที่ ๕
นางสาว กุลวรางค์ วัยวัฒน์ เลขที่ ๒๔
นางสาว ณัฐกร มัศยาอานนท์ เลขที่ ๑๑
ระดับชั้น ม. ๕/๑
ครูที่ปรึกษา ครู อัจฉรา เก่งบัญชา
โรงเรียน โรงเรียนสาธิตนานาชาติมหาวิทยาลัยมหิดล
ปี พ.ศ. ๒๕๖๑

บทคัดย่อ
ผู้จัดทาได้เห็นถึงความสาคัญในการศึกษาและเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับอาหารท้องถิ่นของภาคใต้ เพื่อให้คน
ในปั จ จุ บั น ได้ตระหนั กและหั น มาอนุ รั กษ์วัฒ นธรรมของไทย คณะผู้ จัดทาจึงได้เลื อกทาโครงงานเกี่ยวกับการ
วิเคราะห์ลักษณะของอาหารภาคใต้ โดยเนื้อหาครอบคลุมเรื่องลักษณะและวัต ถุดิบหลัก อาหารประจาภาคใต้
อิทธิพลต่างๆ ที่ส่งผลต่ออาหาร และความสัมพันธ์ของอาหารต่อทรัพยากรในพื้นที่
ลักษณะอาหารของภาคใต้จะมีรสจัดและครบรสโดยใช้วัตถุดิบท้องถิ่นในการปรุง ทั้งพืชผักและเนื้อสัตว์
ต่างๆ เนื่องจากภาคใต้มีลักษณะเป็นแหลมที่ยื่นไปกลางทะเล อาหารของภาคใต้จึงมีสัตว์ทะเลต่างๆ ประกอบอยู่
สภาพอากาศเป็นอากาศแบบมรสุมเขตร้อน มีฝนตกชุก ทาให้มีน้าเพียงพอต่อการทาเกษตรซึ่งส่งผลให้อาหารของ
ภาคใต้มีพืชผักท้องถิ่นที่หาได้ง่ายและสามารถปลูกได้เป็นส่วนประกอบ ทางทิศใต้ของภาคใต้ติดต่อกับมาเลเซียทา
ให้มีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมของอาหารฮาลาล รวมทั้งในสมัยก่อน ภาคใต้ยังเป็นแหล่งค้าขายของคนหลายชาติ
ทาให้อาหารของภาคใต้มีความหลากหลายของวัฒนธรรมผสมอยู่ ทั้งหมดทั้งมวลนี้ก่อให้เกิดเอกลักษณ์ของอาหาร
ภาคใต้ซึ่งมีความอร่อย มีคุณค่าทางโภชนาการ และเป็นที่แพร่หลายในภูมิภาคอื่นๆ ของประเทศไทยเช่นกัน


กิตติกรรมประกาศ
ขอขอบคุณอาจารย์อัจฉรา ครูประจาวิชาและครูที่ปรึกษา ขอบคุณคุณแม่นางสาวกุลวรางค์และณัฐกรที่
ช่วยสนับสนุนการทาข้าวยาประกอบการนาเสนอในครั้งนี้ ขอขอบคุณเพื่อนๆ ที่รับฟังการนาเสนอ และท้ายสุด
ขอขอบคุณเพื่อนร่วมกลุ่มที่ช่วยกันทาโครงงานนี้จนสาเร็จ

คณะผู้จัดทา
นางสาว ญาณิน เกษมสิน
นางสาว กุลวรางค์ วัยวัฒน์
นางสาว ณัฐกร มัศยาอานนท์
ชั้น ม. ๕/๑


สารบัญ
บทคัดย่อ ๑
กิตติกรรมประกาศ ๒
สารบัญ ๓
บทที่ ๑ บทนา ๔-๕
ที่มาและความสาคัญ
วัตถุประสงค์
ขอบเขตการศึกษา
บทที่ ๒ เอกสารที่เกี่ยวข้อง ๖-๑๑
ลักษณะอาหารภาคใต้
วัตถุดิบหลัก
วัฒนธรรมการกินอาหารภาคใต้
บทที่ ๓ อุปกรณ์และวิธีการศึกษา ๑๒
บทที่ ๔ ผลการศึกษาและอภิปรายผลการศึกษา ๑๓-๑๔
อิทธิพลที่ส่งผลต่ออาหารภาคใต้
บทที่ ๕ สรุปผลการศึกษา ๑๕
คุณค่าของอาหารภาคใต้
ข้อเสนอแนะ
แหล่งอ้างอิง ๑๖-๑๗


บทที่ ๑
บทนา
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในประเทศไทย สังคมในปัจจุบัน คนไทยหันไปนิยมอาหารต่างประเทศ เช่น อาหารตะวันตก อาหารญี่ปุ่น
อาหารเกาหลีมากขึ้นทาให้วัฒนธรรมอาหารพื้นบ้านและท้องถิ่นเริ่มเลือนหายไปจากสังคมไทย โดยเฉพาะอาหาร
เอกลักษณ์ของภาคต่างๆ เช่น ภาคใต้ อาหารต่างประเทศจะใช้วัตถุดิบที่หาได้ยากในท้องถิ่น ทาให้จาเป็นต้องเสีย
ค่าขนส่งต่างๆ สิ้นเปลืองพลังงาน และละเลยการใช้วัตถุดิบท้องถิ่นไป
ผู้จัดทาได้เห็นถึงความสาคัญในการศึกษาและเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับอาหารท้องถิ่นของภาคใต้ เพื่อให้คน
ในปัจจุบันได้เห็นถึงความสาคัญของอาหารท้องถิ่นและหันมาสนใจ อนุรักษ์วัฒนธรรมดั้งเดิมของประเทศไทยมาก
ขึ้น
โครงงานอาหารภาคใต้ จึงเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย โดยที่เราจะสืบหา
ค้นคว้าข้อมูลผ่านสื่อต่างๆ เกี่ยวกับวิธีทาอาหารประจาภาคใต้ และความสัมพันธ์ต่อวัตถุดิบท้องถิ่น โดยจะนาเสนอ
เป็น PowerPoint presentation

วัตถุประสงค์
๑. เพื่อศึกษาถึงที่มาคุณค่าความสาคัญ ของอาหารและวัตถุดิบในพื้นที่ของภาคใต้
๒. เพื่อเผยแพร่ถึงความเป็นเอกลักษณ์ของอาหารภาคใต้
๓. เพื่อรณรงค์อนุรักษ์ให้คนไทยสืบสานวัฒนธรรมของอาหารภาคใต้มากขึ้น


ขอบเขตเนื้อหาของการทาโครงงาน
๑. ลักษณะและวัตถุดิบหลักในอาหารภาคใต้
๒. อาหารประจาภาคใต้อันประกอบด้วย
- แกงไตปลา
- ข้าวยาน้าบูดู
- สะตอผัดกะปิกุ้ง
- คั่วกลิ้ง
- ปลาทอดขมิ้น
๓. อิทธิพลที่ส่งผลต่ออาหารภาคใต้
๔. ความสัมพันธ์ของอาหารต่อทรัพยากรในพื้นที่


บทที่ ๒
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ในการจัดทาโครงงานครั้งนี้ ผู้จัดทาได้ค้นหาข้อมูลและศึกษาวัฒนธรรมอาหารพื้นบ้านของภาคใต้จาก
อินเตอร์เน็ตและได้เรียบเรียงเป็นหัวข้อต่างๆดังนี้
๑. ลักษณะอาหารภาคใต้
๒. วัตถุดิบหลักในอาหารภาคใต้
๓. วัฒนธรรมการกินอาหาร

ลักษณะอาหารภาคใต้
เอกลักษณ์ของอาหารใต้คือเป็นอาหารที่มีรสจัด ครบรสเปรี้ยว เผ็ด และเค็ม รสเหล่านี้ได้จากวัตถุดิบที่หาได้ใน
ท้องที่อย่าง ขมิ้น กะปิหรือที่เรียกว่าเคย กะทิ เครื่องเทศสมุนไพร ปลาและสัตว์ทะเลต่างๆ และผักแกล้มในแต่ละ
มื้อ อาหารใต้มีอาหารหลายประเภท จากการใช้การปรุงและถนอมอาหารหลายวิธี สามารถแบ่งประเภทอาหารใต้
ได้แก่ แกง ต้ม น้าพริก ทอด ผัด ย่าง และยา
- แกง เป็นวิธีการปรุงวัตถุดิบหลายๆ อย่างมาต้มกับน้าและเครื่องแกง เช่น แกงเหลือง แกงไตปลา แกงส้ม
และแกงเผ็ดต่างๆ
- ต้ม หมายถึงการนาวัตถุดิบมาใส่รวมกันในน้าจนเดือด อาหารใต้ส่วนใหญ่จะนามาต้มกับขมิ้น สมุนไพร
ต่างๆ และผักสด เช่น ต้มข่าไก่ ต้มส้ม
- น้าพริก หรือ น้าชุบ เป็นการถนอมอาหารชนิดหนึ่ง ทาจากพริกตาละเอียดผสมเครื่องเทศ จิ้มกินกับผักสด
เช่น น้าพริกระกา
- ผัด คือการปรุงอาหารด้วยความร้อนกับน้ามัน พลิกไปพลิกมาจนทาให้เครื่องปรุงและวัตถุดิบคลุกเคล้าเข้า
กัน ในอาหารใต้นิยมผัดกับเครื่องแกงหรือผัก เช่น กุ้งผัดสะตอ คั่วกลิ้ง ผัดพริกแกง
- ทอด คือการนาวัตถุดิบลงไปทอดในน้ามันเดือด นิยมทอดเนื้อสัตว์และสัตว์ทะเลปรุงรส เช่น ลูกเห็ดทอด
ปลาทอดขมิ้น
- ย่าง การย่างของภาคใต้จะนาอาหารปิ้งไฟจนสุกสนิท ทาให้หอมเครื่องเทศในวัตถุดิบ เช่น ปิ้งงบ ไก่ย่าง
มุสลิม


- ยา คือการนาส่วนผสมวัตถุดิบและเครื่องปรุงมาคลุกเคล้าให้เข้ากัน ในเมนูยาส่วนใหญ่ของภาคใต้จะให้
น้าบูดูจากปลาทะเลหมักเกลือ เป็นหนึ่งในเครื่องปรุงรส เช่น ข้าวยาน้าบูดู ยาลูกมุด

ด้วยเอกลักษณ์ในรสของอาหารภาคใต้ อาหารภาคใต้จึงเป็นที่นิยมและแพร่หลายมากในหลายๆ พื้นที่ใน


ประเทศไทย ตัวอย่างเช่น แกงไตปลา ข้าวยาน้าบูดู สะตอผัดกะปิกุ้ง คั่วกลิ้ง และ ปลาทอดขมิ้น
แกงไตปลา
แกงไตปลา หรือแกงพุงปลา เป็นแกงที่มีไตปลาเป็นส่วนประกอบหลัก สามารถปรุงได้สองแบบ แบบใส่
กะทิหรือไม่ใส่กะทิ แบบใส่กะทิจะเป็นที่นิยมในบางพื้นที่ เช่นจังหวัดชุมพร เมื่อใส่กะทิจะทาให้ได้รสเข้มเค็มมันมาก
ยิ่งขึ้น แต่ถ้าหากไม่ใส่กะทิ แกงไตปลาจะมีเนื้อใส สามารถเพิ่มรสเปรี้ยวด้วยส้มแขกได้

ข้าวยาน้าบูดู
ข้าวยาเป็นเมนูที่มีสารอาหารครบ 5 หมู่ ดีต่อสุขภาพ ส่วนประกอบหลักของข้าวยาน้าบูดูประกอบด้วยพริกป่น
พืชผักสมุนไพร ผลไม้ ข้าว และน้าบูดู ซึ่งเป็นตัวชูรสที่สาคัญที่สุด ส่วนใหญ่ ถั่วงอกถั่วฝักยาวและใบมะกรูดจะเป็น
ที่นิยมในการนามาเป็นส่วนประกอบของข้าวยา บางสูตรยังมีการหุงข้าวสีและใส่มะพร้าวคั่วเพื่อเพิ่มสีและความมัน
อีกด้วย


สะตอผัดกะปิกุ้งสด
สะตอเป็นพืชที่เติบโตได้ง่ายกับอากาศร้อนชื้น นิยมปลูกในภาคใต้ สะตอจึงเป็นวัตถุดิบที่แพร่หลายในหลายๆ
เมนูของอาหารภาคใต้ เนื่องจากอาหารใต้เป็นอาหารที่มีรสจัด เค็ม เปรี้ยว เผ็ด กะปิจึงเป็นหนึ่งในวัตถุดิบหลักใน
การปรุง ตามด้วยพริกขี้หนูและมะนาวครบสามรส

คั่วกลิ้ง
คั่วกลิ้งเป็นอาหารที่มีรสเผ็ด จัด เนื่องจากเอามาผัดกับพริกแกงที่ทาจากเครื่องเทศและสมุนไพร เครื่องเทศและ
สมุนไพรสามารถช่วยดับกลิ่นเนื้อสัตว์ที่นามาผัดได้ เนื้อส่วนใหญ่จะเป็นเนื้อสัตว์ป่าที่ไม่ติดมัน ชาวบ้านนิยมพกติด
ตัวเมื่อออกไปทางาน ทาไร่ ทาสวน เนื่องจากคั่วกลิ้งเป็นอาหารแห้ง ไม่เน่าเสียง่ายและง่ายต่อการพกพา


ปลาทอดขมิ้น
อาหารใต้ส่วนใหญ่จะได้รสเผ็ดจากพืชผักสมุนไพรโดยเฉพาะขมิ้นที่เป็นพืชที่มีฤทธิ์ร้อน สร้างความอบอุ่นให้กับ
ร่างกายและป้องกันความเจ็บป่วยได้เป็นอย่างดี พื้นที่ส่วนใหญ่ของภาคใต้ติดทะเล ปลาจึงเป็นวัตถุดิบท้องถิ่นที่พบ
ในเกือบทุกเมนู การใช้ขมิ้นในการปรุงช่วยบารุงสุขภาพและยังช่วยดับกลิ่นคาวในตัวปลา และเพิ่มสีสันได้อีกด้วย

วัตถุดิบหลักในอาหารภาคใต้
ขมิ้น เป็นสมุนไพรเอกลักษณ์ที่ได้ชื่อว่าเป็น “พญายา” ดับกลิ่นคาวได้เป็นอย่างดีในอาหารใต้ เป็น
ส่วนประกอบในเครื่องแกงหลายๆแกง เช่น แกงเหลือง แกงไตปลา และ แกงส้มทั้งยังช่วยแก้ได้สารพัดโรคเพราะมี
คุณสมบัติฆ่าเชื้อแบคทีเรีย มีฤทธิ์ในการขับน้าได้ดี


กะปิ เป็นเครื่องปรุงหลักของอาหารใต้ ทาจากตัวเคย กุ้ง หรือปลาหมักเกลือ ตากแดดและบดจนละเอียด
กะปิที่ดี ควรจะเป็นสีแดงม่วง และมีตาของเคยปะปน

กะทิ ขูดจากเนื้อมะพร้าวแก่ และคั้นขอกมาได้น้ามะพร้าวสีขาวข้นคล้ายนม การใช้มะพร้าวในแกงจะทาให้


ได้รสมันและเข้มข้นขึ้น อย่างในแกงไตปลาหรือแกงคั่วเผ็ด
เครื่ องเทศสมุน ไพร สามารถหาได้ทั่ว โดยเฉพาะในภาคใต้ ซึ่งมีส ภาพแวดล้ อมที่เหมาะกับการปลู ก
สมุนไพร เช่น กระเทียม ตะไคร้ กระวาน กานพลู ข่า พริกแกง กระชาย และ สมุนไพรบางชนิดช่วยเพิ่มรสชาติของ
อาหารได้ เช่น มะนาว ช่วยเพิ่มรสชาติเปรี้ยว คับคาว ช่วยให้รสจัดจ้านขึ้น
สัตว์ป่าและสัตว์ทะเล เนื่องจากภาคใต้เป็นพื้นที่ติดทะเลและมีพื้นที่ป่าเยอะ สัตว์ทะเลและสัตว์ป่าจึง
สามารถหาได้ง่ายและเป็นวัตถุดิบหลักในการประกอบอาหาร ทาให้มีเมนูอาหารที่สามารถสร้างสรรค์ได้มากขึ้น
เรื่อยๆจะวัตถุดิบที่หลากหลาย

๑๐
ผักแกล้ม ในอาหารแต่ละมื้อจะมีผักลวกสดแกล้มอยู่เสมอ ในภาษาท้องถิ่นเรียกว่า ผักเหนาะ เช่น กระถิน
กระเฉด ผักบุ้ง แตงกวา ถั่วฝักยาว ลูกเนียง สะตอ ผักกาด กะหล่าปลี มะเขือ เพราะอาหารใต้รสจัด ผักสดจึงช่วย
ลดครวามเผ็ดและแก้คาวได้เป็นอย่างดี เพราะอาหารที่ครบทั้งห้าหมู่ คนใต้จึงเจ็บป่วยได้ยาก

วัฒนธรรมการกินของคนภาคใต้
อาชีพของคนใต้ส่วนมากจะการเกษตรและประมงเนื่องจากเป็นพื้นที่ติดทะเล จึงกินเยอะเผื่อท้องในมื้อเช้าและ
กินเยอะในมื้อเย็นเนื่องจากเหนื่อยล้าจากการทางาน ส่วนมื้อกลางวันจะพกอาหารออกไปทางานด้วย เป็นมื้อที่กิน
ไม่หนักมาก ในมื้อเย็นจะนิยมทานพร้อมกันทั้งครอบครัวและเพื่อนบ้านเป็นมื้อใหญ่ แสดงถึงความเป็นกันเอง การ
กินแกงกับข้าวส่วนใหญ่จะแยกใส่ถ้วยต่างหาก เพราะจะถือว่าการราดบนข้าวจะเป็นการลบหลู่พระแม่โพสพและ
แสดงถึงความเกียจคร้าน ในอาหารแต่ละมื้อจะมีผักลวกสดแกล้มอยู่เสมอ ในภาษาท้องถิ่นเรียกว่า ผักเหนาะ เช่น
กระถิน กระเฉด ผักบุ้ง แตงกวา ถั่วฝักยาว ลูกเนียง สะตอ ผักกาด กะหล่าปลี มะเขือ เพราะอาหารใต้รสจัด ผักสด
จึงช่วยลดครวามเผ็ดและแก้คาวได้เป็นอย่างดี เพราะอาหารที่ครบทั้งห้าหมู่ คนใต้จึงเจ็บป่วยได้ยาก

๑๑
บทที่ ๓
อุปกรณ์และวิธีการศึกษา
ขั้นตอนการทาโครงงาน
๑. ตั้งประเด็นการศึกษา
ระดมความคิดเรื่องประเด็นที่จะศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในการสร้างสรรค์
วัฒนธรรมในประเทศไทย พร้อมทั้งระบุที่มาและความสาคัญ จุดประสงค์ในการศึกษา
๒. กาหนดขอบเขตการศึกษาและแบ่งหน้าที่
- นาวสาวณัฐกร รับผิดชอบการสืบค้นข้อมูล แบ่งหัวข้อการสืบค้น รวบรวม และสรุป
- นางสาวกุลวรางค์ รับผิดชอบการสืบค้นข้อมูลและทาอาหาร
- นางสาวญาณิน รับผิดชอบเรื่องการสืบค้นข้อมูลและสื่ออุปกรณ์นาเสนอ
เนื่องจากโครงงานของทางคณะผู้จัดทาเป็นโครงงานประเภทสืบค้น อุปกรณ์ที่ใช้จึงเป็นอุปกรณ์ในการ
สืบค้นทั้งหมด คือ คอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการสืบค้นทางอินเตอร์เน็ต และโปรแกรมต่างๆที่ใช้ในการสรุป
ข้อมูลและทาไสลด์ในการนาเสนอ
๓. สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับอาหารภาคใต้
๔. รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล พร้อมทั้งสรุปคุณค่าของอาหารภาคใต้
๕. จัดทารายงาน
๖. ทาสื่อนาเสนอ ประกอบด้วยสไลด์ PowerPoint และเมนูอาหารใต้ฟิวชั่นสาหรับคุณครูและเพื่อนๆ ได้
ลองรับประทานประกอบการนาเสนอ โดยนาข้าวยามาห่อด้วยแป้งแบบก๋วยเตี๋ยวลุยสวน ลักษณะเล็กพอดี
คา หยิบทานได้ง่าย
๗. นาเสนอคุณครูและเพื่อน

๑๒
บทที่ ๔
ผลการศึกษาอภิปรายผลการศึกษา
อิทธิพลที่ส่งผลต่ออาหารภาคใต้
อาหารภาคใต้ เป็นอาหารที่มีลักษณะเฉพาะทั้งในด้านรสชาติและวัตถุดิบ ซึ่งเหล่านี้เป็นผลมาจากสาม
ปัจจัยสาคัญคือ
๑. สภาพภูมิศาสตร์ของภาคใต้
ภาคใต้มีลักษณะเป็นแหลมยื่นออกไปในทะเล ทางด้านตะวันออกขนาบด้วยทะเลอ่าวไทย มหาสมุทรแปซิฟิก
ทางด้านตะวันตกขนาบด้วยทะเลอันดามัน มหาสมุทรอินเดีย มีคอคอดกระซึ่งมีลักษณะแคบอยู่ที่จังหวัดระนอง มี
เทือกเขาสาคัญสามเทือกเขาคือเทือกเขาภูเก็ต เทือกเขานครศรีธรรมราช และเทือกเขาสันกาลาคีรี ทอดตัวใน
ลักษณะเหนือใต้ ระหว่างเทือกเขามีที่ราบเชิงเขา ซึ่งที่ราบหลักๆ คือที่ราบสุราษฏร์ธานี ที่ราบที่ใหญ่ที่สุดของ
ภาคใต้ระหว่างเทือกเขาภูเก็ตและเทือกเขานครศรีธรรมราช นอกจากนี้ก็มีที่ราบพัทลุงและที่ราบปัตตานี ซึ่งอยู่
ระหว่างเทือกเขาและชายฝั่งทะเล ด้านแม่น้ามีลักษณะเป็นแม่น้าสายสั้นๆ ไหลลงสู่ทะเลอย่างรวดเร็ว โดยแม่น้า
สายที่ยาวที่สุดคือแม่น้าตาปี กาเนิดจากตาน้าบนเทือกเขานครศรีธรรมราชและไหลลงสู่อ่าวไทยที่จังหวัดสุราษฎร์
ธานี ทางตอนใต้ยังมีทะเลสาบสงขลาเป็นทะเลสาบที่ใหญ่ที่สุดของภาคใต้อีกด้วย

๑๓
ลักษณะพื้นที่ของภาคใต้จึงมีทั้งที่ราบชายฝั่งทะเลจานวนมากทั้งสองฝั่ง ที่ราบเชิงเขา และเทือกเขาสูง อัน
นามาสู่ทรัพยากรต่างๆ คือป่า ประกอบด้วยป่าชายเลน ป่าชายหาด ป่าดิบชื้น มีทรัพยากรสัตว์น้าทั้งน้าจืดน้าเค็ม
นามาประกอบอาหารได้ เช่นกุ้งกุลาดา ปูม้า หอยแครง หอยนางรม หอยแมลงภู่ ปลากระพงขาว ปลากระบอก ปลา
ช่อน ปลานิล ปลากุเลา ปลาหมึก ฯลฯ อีกทั้งยังมีผักพื้นบ้านที่หาได้ง่ายเนื่องจากลักษณะของป่าดิบชื้น คือ สะตอ
ลูกเนียง ลูกเหรียง ผักกูด ใบเหลียง ชะคราม มะเขือ กะหล่าปลี หัวปลี ดอกขจร หน่อไม้ ดอกแค ผักเสี้ยน ฯลฯ
ด้วย นอกจากนี้ที่ราบยังใช้ปลูกข้าวเจ้าพันธุ์พื้นบ้านได้ด้วย

๒. สภาพภูมิอากาศของภาคใต้
ภาคใต้มีลักษณะภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน เนื่องจากมีมหาสมุทรขนาบทั้งสองฝั่ง ทาให้ได้รับอิทธิพลจาก
มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือในช่วงเดือนตุลาคม-กุมภาพันธ์ และมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ในเดือนพฤษภาคม-ตุลาคม
อย่างเต็มที่ ความชื้นปริมาณมากที่ถูกพัดมาส่งผลให้ภาคใต้มีฝนตกชุกเกือบตลอดทั้งปี หรือที่เรียกว่าสภาพอากาศ
แบบ “ฝนแปดแดดสี่” ด้วยเหตุนี้ อาหารของภาคใต้ จึงประกอบด้วยผัดหลายหลายชนิดเพราะพืชพันธุ์เจริญเติบโต
ได้ดี และมีลักษณะเผ็ดร้อนเพื่อช่วยให้ร่างกายอบอุ่นและแข็งแรง ไม่เจ็บป่วยง่าย

๓. อิทธิพลจากต่างชาติ
เนื่องจากภาคใต้มีสภาพพื้นที่เป็นแหลมติดทะเลทั้งสองฝั่ง ทาให้กลายเป็นแหล่งพักเรือและติดต่อค้าขายของ
พ่อค้าชาวอินเดียและจีนมาตั้งแต่สมัยทวารวดี ราวๆ พุทธศตวรรษที่ ๑๔-๑๕ (คริสตศตวรรษที่ ๙-๑๐) มีหลักฐาน
พบว่าพ่อค้าชาวอินเดียซึง่ เดินทางมาจากตอนใต้ของอินเดียได้เดินทางมาขึน้ บกที่ไทยทีจ่ งั หวัดพังงา และล่องเรือไป
จนถึงเมืองไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี บางส่วนเข้าฝั่งที่จังหวัดนครศรีธรรมราช หลักฐานที่พบคือโบราณวัตถุหลาย
ชิ้นอาทิเช่น เครื่องถ้วยจีนและลูกปัดที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี และชิ้นส่วนของเรือที่จังหวัดกระบี่ ต่อมาในสมัยอยุธยา
เมื่อการค้าของสยามและนานาชาติขยายตัวมากขึ้นเนื่องด้วยชัยภูมิอันอยู่กึ่งกลางระหว่างแหล่งอารยธรรมต่างๆ ใน
สมัยนั้น หลายๆ จังหวัดในภาคใต้ได้กลายเป็นเมืองท่าสาคัญทั้งเมืองนครศรีธรรมราช สงขลา ปัตตานี ด้วยเหตุนี้
ภาคใต้จึงได้รับการใช้เครื่องเทศอย่างเช่นขมิ้น รวมถึงอาหารจากอินเดียเช่นหมูสะเต๊ะและโรตีมาอยู่ในวัฒนธรรม
การทาอาหาร นอกจากนี้ การที่ภาคใต้มีอาณาเขตติดต่อกับหมู่เกาะมลายูคือประเทศมาเลเซียในปัจจุบันยังทาให้มี
การผสมผสานอาหารอิสลามเข้าไปอีกด้วย

๑๔
บทที่ ๕
สรุปผลการศึกษา
คุณค่าของอาหารภาคใต้
จากการศึกษาลักษณะของอาหารภาคใต้พบว่า นอกจากรสชาติอร่อยจัดจ้านจากการใช้เครื่องแกงและ
วัตถุดิบอันเป็นเอกลักษณ์ อาหารภาคใต้ยังแสดงถึงภูมิปํญญาการทาอาหารที่ชาญฉลาด สัมพันธ์เหมาะสมกับ
สภาพพื้นที่ มีการนาทรัพยากรที่มากรวมถึงการรับวัฒนธรรมจากชาติอื่นมาสร้างสูตรอาหารต่างๆ ซึ่งมีความ
หลากหลายและมีคุณค่าทางโภชนาการครบถ้วน ทาให้อาหารภาคใต้มีความโดดเด่น และกลายเป็นส่วนหนึ่งของอัต
ลักษณ์ภาคใต้ในปัจจุบัน

ข้อเสนอแนะ
หากศึกษาข้อมูลของวัตถุดิ บแต่ละขนิดที่นามาประกอบอาหารภาคใต้อย่างละเอียด และภูมิปัญญาการ
ประกอบอาหารดั้งเดิมจะทาให้เข้าใจความสัมพันธ์ของสภาพพื้นที่ ทรัพยากร และภูมิปัญญาการทาอาหารภาคใต้
ได้ลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น

๑๕
แหล่งอ้างอิง
Anupab Khlabut. (๙ ธันวาคม, ๒๕๕๔). อาหารพื้นบ้านภาคใต้ (ออนไลน์). แหล่งที่มา
http://khlabut.blogspot.com/2011/12/1-14-5-6-1.html
PakKimji. (๙ ธันวาคม, ๒๕๕๙). ปลานิลทอดขมิ้น สารับภาคใต้หรอยแรงครบเครื่องสมุนไพร (ออนไลน์).
แหล่งที่มา https://goodlifeupdate.com/healthy-food/recipe/42130.html
Pitchaorn. (๑๓ มิถุนายน, ๒๕๕๗). “สะตอ” ผักพื้นบ้านภาคใต้มากประโยชน์ (ออนไลน์). แหล่งที่มา
https://live.phuketindex.com/th/stinkbean-6298.html
แกงไตปลา แกงรสชาติเผ็ดร้อนของภาคใต้ (ออนไลน์). แหล่งที่มา http://cooking.teenee.com/side-
dish/158.html
โครงการจัดทาฐานข้อมูลอาหารพื้นบ้านภาคใต้ (ม.ป.ป.), วัฒนธรรมอาหารภาคใต้ (ออนไลน์). แหล่งที่มา
http://www.dusittrang.com/food/
ฑูรย์ ศิริรักษ์. (๒๙ มิถุนายน, ๒๕๕๓), ภูมิปัญญาอาหารภาคใต้ (ออนไลน์). แหล่งที่มา
https://www.gotoknow.org/posts/370383
ปาจรีย์ เรืองคล้าย. (ม.ป.ป.). ลักษณะทางกายภาพภาคใต้ (ออนไลน์). แหล่งที่มา
file:///C:/Users/khing/Downloads/050320141717%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%
E0%B8%A9%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%8
1%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A0%E0%B8
%B2%E0%B8%84%E0%B9%83%E0%B8%95%E0%B9%892.ppt
ผศ.ดร.พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์. (ม.ป.ป.). คั่วกลิ้ง (ออนไลน์). แหล่งที่มา
http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/3744/%E0%B8%84%E0%B8%B1%E0%B
9%88%E0%B8%A7%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B9%89%E0%B8%87

๑๖
โรงเรียนดรุณานุกูลหัวถนน. (ม.ป.ป.). วัฒนธรรมภาคใต้ (ออนไลน์). แหล่งที่มา
http://www.thaigoodview.com/library/contest2553/type1/social03/01/contents/culture_s
outh2.html
อาหารภาคใต้ (ออนไลน์). (๘ กันยายน, ๒๕๕๗). แหล่งที่มา
https://www.slideshare.net/Songsak1/ss-38852957
เอิบเปรม วัชรางกูร. (ม.ป.ป.). การค้าทางทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ออนไลน์). แหล่งที่มา
http://www.km.moi.go.th/km/asean/neighbor/neighbor6.pdf

๑๗

You might also like