You are on page 1of 28

โครงงานภาษาไทย

เรือ ึ ษาอาหารไทยและของหวานคุณค่าวรรณศล
่ ง การศก ิ ป์ ในกาพย์เห่
ชมเครือ
่ งคาวหวาน

คณะผู ้จัดทำ

นางสาว พนิษฐ์ชยา วงศโ์ ภไคย เลขที่ 24


นางสาว ปั ญฉลีย ์ หมวดฉิม เลขที่ 23
นาย ชาญณรงค์ ยิม ้ แย ้ม เลขที่ 7

ครูผู ้สอน นางวรรณภา ผลอินทร์

รายงานโครงงานฉบับนีเ้ ป็ นสว่ นหนึง่ ของวิชาภาษาไทย(ท 31102)


ภาคเรียนที่ 2 ปี การศก ึ ษา  2564
โรงเรียนเบญขมราชูทศ ิ

คำนำ
1

รายงานเล่มนีเ้ ป็ นสว่ นหนึง่ ของกลุม ่ สาระภาษาไทย ชน ั ้ มัธยมศก ึ ษา


ปี ท ี่ 4 โดยรายงานเล่มนีจ ้ ะมีเนือ
้ หาเกีย
่ วกับการจัดทำโครงงานภาษา
ไทย เรือ ่ ง การศกึ ษาอาหารไทยและของหวานในกาพย์เห่ชมเครือ ่ งคาว
หวาน ซงึ่ จะมีเนือ ้ หาเกีย ่ วกับการวิเคราะห์อาหารไทยโบราญและขนม
หวานจากกาพย์ การทำโครงงานเล่มนีโ้ ดยมีจด ุ ประสงค์เพือ ่ ให ้ผู ้ทีส
่ นใจ
ในอาหารและของหวานไทยโบราณทีถ ่ กู กล่าวในกาพย์เห่ชมเครือ ่ งคาว
หวาน

การจัดทำโครงงานรายวิชาภาษาไทยเรือ ึ ษาอาหารไทย
่ ง การศก
และของหวานในกาพย์เห่ชมเครือ ่ งคาวหวาน คณะผู ้จัดทำหวังเป็ นอย่าง
ยิง่ ว่า การจัดทำเอกสารฉบับนีม ้ ข
ี ้อมูลทีเ่ ป็ นประโยชน์ตอ่ ผู ้อ่าน และผู ้
กำลังศก ึ ษาเรือ
่ งอาหารไทยและขนมหวานไทยโบราณจากกาพย์เห่ชม
เครือ ่ งคาวหวาน หากมีข ้อผิดพลาดประการใดทางคณะผู ้จัดทำขออภัย
ณ ทีน ่ ี้

คณะผู ้จัดทำ

กิตติกรรมประกาศ

โครงงานเรือ
่ ง การศก ึ ษาอาหารไทยและของหวานในกาพย์เห่ชม
เครือ
่ งคาวหวาน นีส ้ ำเร็จลุลว่ งไปได ้ด ้วยความกรุณาอย่างยิง่ จาก
2

นางวรรณภา ผลอินทร์ อาจารย์ทป ี่ รึกษาวิชาภาษาไทย ซงึ่ ท่านกรุณา


สละเวลาในการให ้คำปรึกษา คำแนะนำ ตลอดจนให ้ความเอาใจใสใ่ น
การตรวจและแก ้ไขในข ้อผิดพลาดต่างๆ ในโครงงานนีเ้ สมอมา อันมีคา่
ยิง่ ต่อโครงงานฉบับนี้ ผู ้จัดทำขอกราบขอบพระคุณเป็ นอย่างสูงมา ณ
โอกาสนี้

ผู ้จัดทำขอขอบคุณเพือ ั ้ เรียนทีใ่ ห ้ความชว่ ยเหลือ


่ นๆ ทุกคนในชน
รวมทัง้ ข ้อเสนอแนะอันเป็ นประโยชน์และให ้กำลังใจแก่ผู ้จัดทำเสมอมา

สุดท ้ายนี้ ผู ้วิจัยขอกราบขอบพระคุณบิดามารดาและครอบครัวทุก


ท่านทีค่ อยให ้คำปรึกษา ปลอบโยนตลอดทัง้ สนับสนุนทัง้ ด ้านกำลัง
ทรัพย์และกำลังใจแก่ผู ้วิจัยมาโดยตลอด จนกระทั่งการทำโครงงานนี้
สำเร็จลุลว่ ง

คณะผู ้จัดทำ

สารบัญ

เรือ
่ ง
หน ้า
คำนำ
1
กิตติกรรมประกาศ
2
3

สารบัญตาราง
3

บทที่
1. บทนำ
6
่ าและความสำคัญ
1.1 ทีม
6
1.2 วัตถุประสงค์
7
1.3 ขอบเขตการศก ึ ษา
7
1.4 ประโยชน์ทค ี่ าดว่าจะได ้รับ
8
1.5 นิยามศพ ั ท์เฉพาะ
8
2. เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กีย ่ วข ้อง
9
2.1 อาหารไทย
9
2.2 ลักษณะกาพย์เห่ชมเครือ ่ งคาวหวาน
11
2.3 ความรู ้เกีย
่ วกับคุณค่าทางวรรณศล ิ ป์
11
3. วิธด
ี ำเนินการวิจัย
14
3.1 แหล่งข ้อมูล
14
3.2 เกณฑ์ในการวิเคราะห์
15
4

3.3 การเก็บรวบรวมข ้อมูล


15
3.4 การวิเคราะห์ข ้อมูล
16
3.5 ระยะเวลาในการดำเนินการ
16
4. การวิเคราะห์ข ้อมูล
18
4.1 ศกึ ษาจุดเด่นและความหมาย
18
4.2 ศก ึ ษาคุณค่าทางวรรณศล
ิ ป์
22

สารบัญ(ต่อ)

บท
หน ้า
5. สรุป อภิปรายผล และข ้อเสนอแนะ
24
5.1 สรุป
24
5.2 อภิปรายผล
24
5.3 ข ้อเสนอแนะ
25

บรรณานุกรม 26
5

สารบัญตาราง

ตารางที่
หน ้า

ตารางที่ 1 ระยะเวลาในการดำเนินงาน
16
6

โครงงานเรือ
่ ง ึ ษาอาหารไทยและของหวานในกาพย์เ ห่ชม
การศ ก
เครือ
่ งคาวหวาน
คณะผู ้จัดทำ
นางสาว พนิษฐ์ชยา วงศโ์ ภไคย เลขที่ 24
นางสาว ปั ญฉลีย ์ หมวดฉิม เลขที่ 23
นาย ชาญณรงค์ ยิม ้ แย ้ม เลขที่ 7
7

บทที่ 1
บทนำ

ความเป็ นมาและความสำคัญของการศก ึ ษาค ้นคว ้า


ในปั จจุบน
ั อาหารไทยเป็ นอาหารโปรดของหลายๆคนไม่เว ้นแม ้แต่
ชาวต่างชาติ ทัง้ มีรสชาติทจ ี่ ัดจ ้านและเข ้มข ้น มีความเป็ นเอกลักษณ์ทงั ้
ด ้านรสชาติมค ี รบทัง้ เผ็ด เปรีย ้ ว เค็ม หวาน และด ้านความปราณีตขัน ้
ตอนในการทำทีต ้
่ ้องใชความละเอี ยดอ่อนในการคัดสรรวัตถุดบ ิ ทีส ่ ดใหม่
ในการมาทำอาหารและบางชนิดของอาหารไทยต ้องใชความปราณี ้ ตใน
การจัดตกแต่งให ้เกิดความสวยงามและน่ารับประทาน ซงึ่ สงิ่ เหล่านีไ ้ ด้
ผ่านการสร ้างสรรค์ทางความคิดขึน ้ และถ่ายทอดความรู ้จากรุน่ สูร่ นุ่ และ
8

ยังสะท ้อนให ้เห็นถึงชวี ติ ความเป็ นอยูว่ ฒ


ั นธรรม แต่ในปั จจุบน
ั นัน
้ บาง
อาหารไทยโบราณและขนมหวานได ้ถูกลืมเลือนไปตามกาลเวลา และยัง
หารับประทานได ้ยากมาก และในกาพย์เห่ชมเครือ ่ งคาวหวานเราได ้เห็น
อาหารไทยโบราณทีท ่ ก ุ วันนีแ
้ ถบจะหาไม่รับประทานได ้แล ้ว

อาหารไม่วา่ จะเป็ นอาหารไทยหรือเป็ นอาหารชาติใดก็ตามถือว่าเป็ น


สงิ่ ทีถ
่ ก
ู สร ้างสรรค์ขน
ึ้ เพือ่ ถ่ายทอดความอร่อย รสชาติทห ี่ ลากหลายและ
แปลกใหม่โดยอาหารนัน ้ จะเป็ นสอื่ กลางให ้เราได ้เรียนรู ้ความเป็ น
เอกลักษณ์วฒ ั นธรรมและความเป็ นอยูใ่ นประเทษชาตินัน ้ ๆเชน ่ วัตถุดบ

หลักทีน ่ ำมาปรุงอาหารซงึ่ วัตถุดบ ิ เหล่านัน
้ แต่ละ่ ประเทศจะมีความแตก
ต่างกันไปยกตัวอย่างเชน ่ ประเทศไทยสว่ นใหญ่เราจะนำสมุนไพรไทยมา
ทำอาหาร ขิง ข่า ตะไคร ้ ใบมะกรูด มะนาวเป็ นต ้น และนำกระทิกบ ั
น้ำตาลมาทำเป็ นของหวาน ซงึ่ สงิ่ เหล่านีบ ้ ง่ บอกถึงความเป็ นอยูข ่ องคน
ไทยและ ทรัพยากรทีเ่ รามี

คณะผู ้จัดทำได ้เลือกสงิ่ ทีส ่ ามารถถ่ายทอดเรือ ่ งราวของอาหารไทย


และของหวานไทยและคณะผู ้จัดทำเห็นว่ากาพย์เห่ชมเครือ ่ งคาวหวาน
นัน้ มีคณ
ุ สมบัตต ิ รงตามทีผ่ ู ้จัดทำต ้องการจึงได ้นำกาพย์มาศก ึ ษาและ
วิเคราะห์ อีกทัง้ ยังมีอาหารทีน ่ ่าสนใจไม่เคยเห็นในกาพย์เห่ชมเครือ ่ ง
คาวหวาน กาพย์เห่ชมเครือ ่ งคาวหวานเป็ นพระราชนิพนธ์ในพระบาท
สมเด็จพระพุทธเลิศหล ้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) แต่สงิ่ ทีท ่ ำให ้กาพย์เห่ชม
เครือ่ งคาวหวานพิเศษยิง่ ขึน ้ ก็คอ ื การทำหน ้าทีเ่ ป็ น ‘จดหมายรัก’
พรรณนาความรักความคิดถึงทีเ่ จ ้าฟ้ ากรมหลวงอิศรสุนทรมีตอ ่ เจ ้าฟ้ า
หญิงบุญรอดไปในตัว ทำให ้คณะผู ้จัดทำสนใจในกาพย์เห่ชมเครือ ่ งคาว
หวานไดด ้

วัตถุประสงค์ในการศก ึ ษาค ้นคว ้า


1. เพือ ึ ษาอาหารไทยและขนมหวานคุฯค่าวรรณศล
่ ศก ิ ป์ ในกาพย์เห่
ชมเครือ ่ งคาวหวาน
9

2. เพือ ึ ษาลักษณะโดดเด่นของอาหารแต่ละ่ ชนิดทีถ


่ ศก ่ ก
ู บรรยายไว ้
หรือมีรสชาติเป็ นอย่างไร

ขอบเขตของการศก ึ ษาค ้นคว ้า


1. เนือ ้
้ หาทีใ่ ชในการทำโครงงานครั ง้ นีค
้ อื ผลงานของรัชการที่ 2 พระ
ราชนิพนธ์กาพย์เห่ชมเครือ ่ งคาวหวานทีไ่ ด ้รับความยกย ้องและ
เป็ นทีช ื่ ชมอย่างมากจากการนำมาใชในหลั
่ น ้ กสูตรภาษาไทยทำให ้
นักเรียนสว่ นใหญ่จะคุ ้นเคยเป็ นอย่างดี อาหารและขนมทีป ่ รากฎมี
ดังนี้
1.1 แกงมัสมั่น 1.2 ยำใหญ่
1.3 ตับเหล็ก 1.4 หมูแนม
1.5 ก ้อยกุ ้ง 1.6 แกงเทโพ
1.7 ขนมจีนน้ำยา 1.8 ข ้าวหุง
1.9 แกงคัว่ 1.10 พล่าเนือ ้
1.11 ล่าเตียง 1.12 หรุม่
1.13 รังนก 1.14 แสร ้งว่า
1.15 แกงไตปลา

2. การศกึ ษาลักษณะทีโ่ ดดเด่นหรือรสชาติทม ี่ ค


ี วามเป็ นเอกลักษณ์ท ี่
ถูกบรรยายเอาไว ้ ผู ้จัดทำโครงงานจะนำกาพย์มาแปลความหมาย
และจะนำมาสรุปให ้ว่าอาหารชนิดนีม ้ ค
ี วามโดดเด่นและมี
เอกลักษณ์อย่างไรบ ้าง

ประโยชน์ทจ ี่ ะได ้รับ


1. ได ้ทราบอาหารไทยและขนมหวานไทยทีไ่ ม่เคยพบเห็นหรือหารับ
ประทานได ้ยาก
ิ ป์ ในกาพย์เห่ชมเครือ
2. ได ้เรียนรู ้ถึงความหมายและคุณค่าวรรณศล ่ ง
คาวหวาน
3. ได ้ทราบจุดเด่นของในอาหารนัน ้ ๆ

ั ท์เฉพาะ
นิยามศพ
10

1. พระราชนิพนธ์ หมายถึง ร ้อยกรองถ ้อยคํา แต่งหนังสอ ื (ราชา)


2. แนวคิด หมายถึง ความคิดทีว่ างไว ้เป็ นแนวทางในการปฎิบต ั ิ
3. กาพย์เห่ คือ เป็ นกาพย์ทแ
ี่ ต่งเพือ ้ ในงานรืน
่ ใชเห่ ่ เริง

บทที่ 2
เอกสารงานวิจัยทีเ่ กีย
่ วข ้อง

ในการจัดทำโครงงานเรือ ่ ง การศกึ ษาอาหารไทยและของหวาน


คุณค่าวรรณศล ิ ป์ ในกาพย์เห่ชมเครือ่ งคาวหวาน ครัง้ นีี้ คณะผู ้จัดทำได ้
ศกึ ษาเอกสารและรวบรวมข ้อมูลงานวิจัยทีเ่ กีย ่ วข ้องต่างๆโดยจำแนก
เป็ นความรู ้หลักๆได ้ ดังนี้

1. อาหารไทย
1.1 ความหมายของอาหารไทย
1.2 เสน่หแ ์ ละเอกลักษณ์ของอาหารไทย
2. ลักษณะกาพย์เห่ชมเครือ ่ งคาวหวาน
3. ความรู ้เกีย
่ วกับคุณค่าทางวรรณศลิ ป์

1 อาหารไทย

1.1 ความหมายของอาหารไทย
อาหารไทยโบราณ คือ ทีม่ ม
ี าตัง้ แต่สมัยก่อน เป็ นรากเหง ้าของ
อาหารไทย บ่งบอกความเป็ นอยู่ ความเจริญ และด ้านภูมป ิ ั ญญาการทำ
อาหาร อาหารไทยโบราณมีอะไรบ ้าง สูตรอาหาร กับข ้าวแบบไทย ๆ
พร ้อมด ้วยเคล็ดลับการทำอาหาร อาหารไทยดังเดิมเป็ นรากเหง ้าของ
11

ชนชาติชาวสยาม บ่งบอกได ้ถึงลักษณะความเป็ นอยู่ ความเจริญ ด ้าน


ภูมปิ ั ญญาการทำอาหาร การทำอาหารอย่างปราณีตได ้อัตราสว่ นของ
อาหารทีเ่ ป็ นจริง พร ้อมด ้วยขัน
้ ตอนการทำอาหารอย่างชด ั เจน เป็ นอีก

กระบวนการทีใ่ ชเวลายาวนานกว่ าจะได ้สูตรอาหารทีล ่ งตัว อาหารไทยที่
คัดสรรสำหรับคนรักการทำอาหาร ตัง้ แต่อาหารว่าง ยำ ต ้ม แกง เนือ ้
สตั ว์ถา่ ยทอดจากบรรพบุรษ ่ ั จจุบน
ุ จากอดีตสูป ั เป็ นวัฒนธรรมด ้านอาหาร
ของคนไทย

1.2 เสน่หแ ์ ละเอกลักษณ์ของอาหารไทย


อาหารไทย เป็ นอาหารประจำของชนชาติไทย ทีม ี ารสงั่ สมและ
่ ก
ถ่ายทอดมาอย่างต่อเนือ ่ งตัง้ แต่อดีต จนเป็ นเอกลักษณ์ประจำชาติถอ ื ได ้
ว่าอาหารไทยเป็ นวัฒนธรรมประจำชาติทส ี่ ำคัญของไทย ขณะทีอ ่ าหาร
พืน้ บ ้าน หมายถึง อาหารทีน ่ ยิ มรับประทานกันเฉพาะท ้องถิน ่ ซงึ่ เป็ น
อาหารทีท ่ ำขึน้ ได ้ง่าย โดยอาศย ั พืชผักหรือเครือ ่ งประกอบอาหารทีม ่ อ ี ยู่
ในท ้องถิน ่ มีการสบ ื ทอดวิธป ี รุงและการรับประทานต่อๆ กันมา
จุดกำเนิดอาหารไทย อาหารไทยมีจด ุ กำเนิดพร ้อมกับการตัง้ ชนชาติ
ไทย และมีการพัฒนาอย่างต่อเนือ ่ งมาตัง้ แต่สมัยสุโขทัยจนถึงปั จจุบน ั

อาหารไทยเป็ นอาหารเอกลักษณ์และภูมป ิ ั ญญาของบรรพบุรษ ุ ทีค


่ นทำ
อาหารต ้องตระหนักถึงจุดนี้ อาหารไทยเป็ นทีน ่ ย
ิ มทัง้ ในประเทศไทยเอง
และในต่างประเทศ เป็ นทีย ่ อมรับและรู ้จักอย่างแพร่หลาย เห็นได ้อย่าง
ความประสบความสำเร็จของร ้านอาหารไทยในต่างประเทศ เสน่หข ์ อง
อาหารไทยแต่ละจานมีเอกลักษณ์ทแ ี่ ตกต่างกันไป มีสว่ นผสมทีห ่ ลาก
หลายนำมาผสมผสานกันเพือ ่ ให ้เป็ นเกิดความอร่อยและประทับใจ อีก
ทัง้ อาหารไทยเป็ นอาหารสุขภาพ ใชไขมั ้ นในการปรุงอาหารน ้อย ใช ้
เนือ้ สต ั ว์น ้อย เน ้นผักเป็ นสำคัญ ทำให ้มีคณ ุ ค่าทางโภชนาการสูง และ
มีสรรพคุณทางยาในคราวเดียวกัน การปรุงแต่งกลิน ่ ส ี รส มาจาก
ธรรมชาติ จากพืชผัก ดอกไม ้ เครือ ่ งเทศและผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ
ทัง้ สนิ้
12

2. ลักษณะกาพย์เห่ชมเครือ
่ งคาวหวาน

กาพย์เห่ชมเครือ ่ งคาวหวานประกอบด ้วยบทเห่ทงั ้ หมด ๕ บท ได ้แก่


บทเห่ชมเครือ ่ งคาว บทเห่ชมผลไม ้ บทเห่ชมเครือ ่ งหวาน บทเห่ครวญ
เข ้ากับงานนักขัตฤกษ์ และบทเห่เจ ้าเซน ็
กาพย์เห่ชมเครือ ่ งคาวหวานแต่งด ้วยคำประพันธ์ประเภทกาพย์เห่
ประกอบด ้วยโคลงสส ี่ ภ
ุ าพ และกาพย์ยานี ๑๑ โดยกาพย์ยานี ๑๑ จะมี
เอกลักษณ์คอ ื หนึง่ บาท (วรรคหน ้ารวมกับวรรคหลัง) จะมี ๑๑ คำพอดี
โดยแบ่งเป็ นวรรคหน ้า ๕ คำ และวรรคหลังอีก ๖ คำ ฉั นทลักษณ์ของ
กาพย์ยานี ๑๑

3. ความรู ้เกีย ิ ป์
่ วกับคุณค่าทางวรรณศล

“วรรณศล ิ ป์ ” หมายถึง ลักษณะดีเด่นทางด ้านวิธแ ี ต่ง การเลือกใช ้


ถ ้อยคำ สำนวน ลีลา ประโยค และความเรียงต่าง ๆ ทีป ่ ระณีต งดงาม
หรือมีรสชาติเหมาะสมกับเนือ ้ เรือ
่ งเป็ นอย่างดี

3.1 การสรรคำ


การสรรคำ คือ การเลือกใชคำให ื่ ความคิด ความเข ้าใจ ความ
้สอ
ึ และอารมณ์ได ้อย่างงดงาม โดยคำนึงถึงความงามด ้านเสย
รู ้สก ี ง โวหาร
และรูปแบบคำประพันธ์ การสรรคำทำได ้ดังนี้

- การเลือกคำให ้เหมาะแก่เนือ
้ เรือ
่ งและฐานะของบุคคลในเรือ
่ ง


- การใชคำให ้ถูกต ้องตรงตามความหมาย


- การเลือกใชคำพ ี ง คำซ้ำ
้องเสย
13


- การเลือกใชคำโดยคำนึ ี งสม
งถึงเสย ั ผัส


- การเลือกใชคำเลี ี งธรรมชาติ
ยนเสย


- การเลือกใชคำไวพจน์
ได ้ถูกต ้องตรงตามความหมาย

3.2 การเรียบเรียงคำ
การเรียบเรียงคำ คือการจัดวางคำทีเ่ ลือกสรรแล ้วให ้มาเรียงร ้อยกัน
อย่างต่อเนือ่ งตามจังหวะ ตามโครงสร ้างภาษา หรือตามฉั นทลักษณ์ ซงึ่
มีหลายวิธเี ชน่

- จัดลำดับความคิดหรือถ ้อยคำจากสงิ่ สำคัญจากน ้อยไปมาก จนถึงสงิ่


สำคัญสูงสุดอันเป็ นจุดสุดขัน

- จัดลำดับความคิดหรือถ ้อยคำจากสงิ่ สำคัญน ้อยไปหามาก แต่กลับหัก


มุมความคิดผู ้อ่านเมือ
่ ถึงจุดสุดขัน

- จัดลำดับคำให ้เป็ นคำถามแต่ไม่ต ้องการคำตอบหรือมีคำตอบอยูใ่ นตัว


คำถามแล ้ว

- เรียงถ ้อยคำเพือ
่ ให ้ผู ้อ่านแปลความหมายไปในทางตรงข ้ามเพือ
่ เจตนา
เยาะเย ้ย ถากถาง

- เรียงคำวลี ประโยค ทีม ี วามสำคัญเท่าๆกัน เคียงขนานกันไป


่ ค


3.3 การใชโวหาร


การใชโวหาร คือการใชถ้ ้อยคำเพือ
่ ให ้ผู ้อ่านเกิดจินตภาพเรียกว่า
“ภาพพจน์” ซงึ่ มีหลายวิธ ี ได ้แก่

- อุปมา คือ การเปรียบเทียบสงิ่ หนึง่ ว่าเหมือนกับสงิ่ หนึง่ โดยมีคำเปรียบ


ปรากฏอยูด ่ ้วย คำเปรียบเทียบเหล่านีไ้ ด ้แก่ เหมือน เสมือน ดุจ เล่ห ์
เฉก ดัง กล เพียง ราว ปูน
14

- อุปลักษณ์ คือการเน ้นความหมายว่าสงิ่ หนึง่ เหมือนกับสงิ่ หนึง่ มาก จน


เหมือนกับเป็ นสงิ่ เดียวกัน โดยมีคำเปรียบ เป็ น คือ เท่า ปรากฏใน
ข ้อความ

ิ งิ่ ต่างๆให ้มีกริยาอาการ ความรู ้สก


- บุคคลวัต คือ การสมมุตส ึ เหมือน
มนุษย์

- อธิพจน์ คือการกล่าวเกินจริง เพือ


่ เน ้นข ้อความนัน
้ ให ้มีน้ำหนักยิง่ ขึน


บางครัง้ อาจใชคำกล่าวน ้อยกว่าจริงเรียกว่า อวพจน์

-ปฏิพากย์ หรือ ปรพากย์ คือการใชถ้ ้อยคำทีม ่ ค


ี วามหมายตรงกันข ้าม
หรือขัดแย ้งกันมากล่าว อย่างกลมกลืนกันเพือ
่ เพิม่ ความหมายให ้มีน้ำ
หนักมากยิง่ ขึน

-สญั ลักษณ์ เป็ นการเรียกชอื่ สงิ่ ๆหนึง่ โดยใชคำอื


้ น
่ มาแทน ไม่เรียก
ตรงๆ สว่ นใหญ่คำทีน ่ ำมาแทนจะเป็ นคำทีเ่ กิดจากการเปรียบเทียบและ
ตีความซงึ่ ใชกั้ นมานานจนเป็ นทีเ่ ข ้าใจและรู ้จักกันโดยทัว่ ไป

-นามนัย คือการใชคำหรื ้ อวลีซงึ่ บ่งลักษณะหรือคุณสมบัตข


ิ องสงิ่ ใดสงิ่
หนึง่ แทนอีกสงิ่ หนึง่ คล ้ายๆสญั ลักษณ์ แต่ตา่ งกันตรงที่ นามนัยนัน ้
จะดึงเอาลักษณะบางสว่ นของสงิ่ หนึง่ มากล่าว ให ้หมายถึงสว่ นทัง้ หมด

ั พจน์ หมายถึงภาพพจน์ทเี่ ลียนเสย


-สท ี งธรรมชาติ เชน ่ เสยี งดนตรี
เสยี งสต
ั ว์ เสย
ี งคลืน ี งลม เสย
่ เสย ี งฝนตก เสย ี งน้ำไหล ฯลฯ

การใชภาพพจน์ ประเภทนีจ ี งนัน
้ ะทำให ้เหมือนได ้ยินเสย ้ จริง ๆ

บทที่ 3

วิธด
ี ำเนินการวิจัย

การศก ึ ษาเรือ ึ ษาอาหารไทยและของหวานคุณค่า


่ ง การศก
วรรณศลิ ป์ ในกาพย์เห่ชมเครือ ่ งคาวหวาน มีวต ั ถุประสงค์เพือ ึ ษา
่ ศก
อาหารไทยโบราณและคุณค่าทางวรรณศล ิ ป์ ในกาพย์เห่ชมเครือ ่ งคาว
หวาน โดยมีขน ั ้ ตอนการดำเนินวิจัยดังนี้
15

ึ ษาค ้นคว ้าทีท


1. เลือกหัวข ้อศก ่ างคณะผู ้จัดทำสนใจ
2. ศกึ ษาเอกสารทีเ่ กีย่ วข ้องกับ คุณค่าทางวรรณศล ิ ป์
3. วางแผนขอบเขตของข ้อมูลและขอบเขตของหัวข ้อทีศ ่ ก ึ ษาค ้นคว ้า
4. รวบรวมข ้อมูล เนือ้ หาจาก สอ ื่ ออนไลน์ทางอินเตอร์เน็ ต
5. ดำเนินการวิเคราะห์หวั ข ้อมูลตามหัวข ้อทีศ ึ ษาค ้นคว ้า
่ ก
6. สรุปและอภิปรายผลข ้อมูลการศก ึ ษาค ้นคว ้า
7. จัดทำรูปแบบเล่มรายงานการศก ึ ษาค ้นคว ้า
8. นำเสนอผลการศก ึ ษาค ้นคว ้า

แหล่งข ้อมูล


แหล่งข ้อมูลทีใ่ ชในการศกึ ษาค ้นคว ้าครัง้ นี้ เลือกศก ึ ษาจาก สอื่
ออนไลน์ทางอินเตอร์เน็ ต โดยเลือกกาพย์เห่จากรัชกาลที่ 2 นำมา
ศกึ ษาเกีย
่ วกับอาหารไทยและคุณค่าทางวรรณศล ิ ป์ จากกาพย์เห่ชม
เครือ
่ งคาวหวาน

เกณฑ์ในการวิเคราะห์

แบ่งเกณฑ์ในการวิเคราะห์ออกเป็ น 2 ประเด็น ดังนี้

1. จุดเด่นและความหมาย

1.1 จุดเด่น ซงึ่ ในแต่ละ่ บทนัน


้ จะมีหลากหลายอาหารไทย แต่ละ่
บทนัน้ จะกล่าวถึงจุดเด่นหรือวัตถุดบ ิ ทีโ่ ดดเด่นของอาหารนัน
้ ๆ

1.2 เนือ
้ หาต ้องคมชด ั คือการเดินเรือ ่ งให ้คนอ่านเห็นภาพ หรือ
อย่างทีเ่ รียกว่าให ้ “กลิน
่ ” เพือ
่ ให ้คนอ่านคนฟั งจินตนาการได ้ว่า
กำลังพูดถึงอะไร อาทิ ถ ้าเป็ นเรือ ่ งแกง ก็ต ้องมีการบรรยายถึง
ลักษณะหรือวัตถุดบ ิ รสชาติ เพือ ่ ให ้คนอ่านและคนฟั งนึกถึงภาพ
ออก

1.3 ประหยัดคำไม่วกวน หมายถึง ตัดคำฟุ่ มเฟื่ อย


16

1.4 จบบทประทับใจ มีเนือ


่ หาทีน
่ ่าติดตาม

ิ ป์
2. คุณค่าทางวรรณศล


วรรณกรรมทีใ่ ชวรรณศ ิ ป์ ชน
ล ั ้ สูงนัน
้ จะทำให ้คนอ่านได ้รับผลในทาง
อารมณ์ความรู ้สก ึ


2.1 การใชโวหาร


2.2 การใชภาพพจน์

2.3 การสรรคำ

การเก็บรวบรวมข ้อมูล

ในการศกึ ษาค ้นคว ้าครัง้ นี้ คณะผู ้จัดทำได ้รวบรวมข ้อมูลทีใ่ ชการ

ื่ ออนไลน์ทางอินเตอร์เน็ ต ซงึ่ มีขน
วิเคราะห์จาก สอ ั ้ ตอนการดำเนินการ
ต่อไปนี้

1. รวบรวมข ้อมูลทีเ่ กีย ่ วข ้องกับกาพย์เห่ชมเครือ


่ งคาวหวาน เอกสาร
ทีเ่ กีย
่ วข ้องกับคุณค่าทางวรรณศล ิ ป์
2. ศกึ ษารวบรวมลักษณะจุดเด่นและความหมายในอาหารนัน ้ ๆ ตาม
เกณฑ์ทค ี่ ณะผู ้จัดทำได ้วางแผนไว ้
3. ศก ึ ษาเกณฑ์ในการวิเคราะห์จากงานวิจัยต่างๆทีเ่ กีย ่ วกับวรรณศล ิ ป์
ในวรรณกรรม

การวิเคราะห์ข ้อมูล

1. วิเคราะห์ข ้อมูลโดยถอดความหมายจากบทต่างๆ และหา


เอกลักษณ์และจุดเด่นในแต่ละ่ บท
17

2. วิเคราะห์ลก
ั ษณะของคุณค่าทางวรรณศล ิ ป์ ในกาพย์เห่ชมเครือ
่ ง
คาวหวานตามเกณฑ์ทค ี่ ณะผู ้จัดทำได ้วางแผนไว ้ตามวัตถุประสงค์
ของโครงงาน
3. สรุปผล นำเสนอข ้อมูลและผลการศก ึ ษาโดยวิธก ี ารพรรณา
วิเคราะห์

ระยะเวลาในการดำเนินการ

ในการศก ึ ษาเรือ ึ ษาอาหารโบราณและของหวานคุณค่า


่ ง การศก
วรรณศล ิ ป์ ในกาพย์เห่ชมเครือ่ งคาวหวานมี ระยะเวลาในการดำเนินการ
ซงึ่ แบ่งได ้ ดังนี้
ลำดับที่ ขัน ึ ษา
้ ตอนการศก ชว่ งเวลา ผู ้รับผิดชอบ
1 รวบรวมข ้อมูลเอกสาร 28/02/2565- คณะผู ้จัดทำ
และงานวิจัยที่ 01/03/2565
เกีย
่ วข ้อง

ลำดับที่ ขัน ึ ษา
้ ตอนการศก ชว่ งเวลา ผู ้รับผิดชอบ
2 รวบรวมอาหารต่างๆ 01/03/2565- คณะผู ้จัดทำ
จากกาพย์เห่ชมเครือ
่ ง 02/03/2565
คาวหวาน
3 วิเคราะห์ข ้อมูล 03/03/2565 คณะผู ้จัดทำ
4 สรุปและอภิปรายผล 03/03/2565- คณะผู ้จัดทำ
ข ้อมูล 04/03/2565
5 ตรวจทานและแก ้ไข 04/03/2565 คณะผู ้จัดทำ
ข ้อมูล
6 ึ ษา
นำเสนอผลการศก 05/03/2565 คณะผู ้จัดทำ
ค ้นคว ้า
7 สง่ รายงานการศก
ึ ษา 06/03/2565 คณะผู ้จัดทำ
18

ค ้นคว ้าฉบับสมบูรณ์

ตารางที่ 1 ระยะเวลาในการดำเนินงาน

บทที่ 4

การวิเคราะห์ข ้อมูล

การศก ึ ษาค ้นคว ้าเรือ


่ ง การศกึ ษาอาหารไทยและของหวานคุณค่า
วรรณศล ิ ป์ ในกาพย์เห่ชมเครือ ่ งคาวหวาน คณะผู ้จัดทำได ้แบ่งการวิเครา
ะหฺข ้อมูลออกเป็ น 2 ประเด็น ตามวัตถุประสงค์ในการศก ึ ษาค ้นคว ้า
ได ้แก่ เพือ่ ศก ึ ษาอาหารไทยโบราณหาจุดเด่นลักษณะเด่นหรือรสชาติ
และ เพือ ่ ศก ึ ษาคุณค่าทางวรรณศล ิ ป์ จากกาพย์เห่นี้ ซงึ่ มีรายละเอียดการ
วิเคราะห์ข ้อมูล ดังนี้

ึ ษาจุดเด่นและความหมาย
1. ศก
19

การวิเคราะห์จดุ เด่นและความหมายจากกาพย์เห่ชมเครือ
่ งคาวหวาน
นี้ คณะผู ้จัดทำมีหวั ข ้อการวิเคราะห์ ได ้แก่

1.1 จุดเด่น

1.2 เนือ ั
้ หาคมชด

1.3 คำไม่วกวน

โดยรายละเอียดการวิเคราะห์ ดังนี้

ซงึ่ มีรายละเอียดการวิเคราะห์ ดังนี้

“มัสมั่นแกงแก ้วตา หอมยีห


่ ร่ารสร ้อนแรง

ชายใดได ้กลืนแกง แรงอยากให ้ใฝ่ ฝั นหา”


แกงมัสมั่นไก่ทนี่ ้องทำมีกลิน
่ หอมของยีห
่ ร่าและมีรสชาติทรี่ ้อนแรง
ผู ้ชายคนไหนได ้รับปะทานแกงนีเ้ ข ้าไปก็จะต ้องหลงรักฝั นใฝ่ ในตัวน ้อง
รวมทัง้ ติดใจในรสชาติ อยากจะกลับมารับประทานอีก

(บทต่อไป)

่ ารพัด วางจานจัดหลายเหลือตรา
“ยำใหญ่ใสส

รสดีด ้วยน้ำปลา ญีป


่ นล้ำย้ำยวนใจ”
ุ่

ยำใหญ่มเี ครือ
่ งต่าง ๆ ครบครัน จัดจานอย่างสวยงามสุดจะพรรณนา ยิง่
ปรุงรสด ้วยน้ำปลาญีป ่ น ุ่ ก็ยงิ่ ทำให ้น่าลิม
้ ลองเป็ นทีส
่ ด

(บทต่อไป)


“ตับเหล็กลวกหล่อนต ้ม เจือน้ำสมโรยพริ
กไทย

โอชาจะหาไหน ไม่มเี ทียบเปรียบมือนาง”


20

น ้องทำตับเหล็กลวกใสน ่ ้ำสมและพริ
้ กไทยเล็กน ้อย รสชาติของตับเหล็ก
ลวกนีอ ้ ร่อยมากแบบหากินทีไ่ หนไม่ได ้อีกแล ้ว อาหารนีไ้ ม่มใี ครทำอร่อย
สูฝี้ มือของน ้องได ้เลย

(บทต่อไป)

“หมูแนมแหลมเลิศรส พร ้อมพริกสดใบทองหลาง

พิศห่อเห็นรางชาง ห่างห่อหวนป่ วนใจโหย”

หมูแนมรสชาติอร่อยเลิศ มาพร ้อมกับเครือ ่ งเคียงอย่างพริกสดและ


ใบทองหลางมองดูแล ้วสวยงาม ยามใดทีพ ่ ห
ี่ า่ งห่อหมูแนม (ไม่ได ้กิน
หมูแนมนาน ๆ) ก็จะทำให ้พีป
่ ั่ นป่ วนหัวใจ คิดถึงแต่น ้องอยูท่ ก
ุ เวลา

(บทต่อไป)

“ก ้อยกุ ้งปรุงประทิน
่ วางถึงลิน
้ ดิน
้ แดโดย

รสทิพย์หยิบมาโปรย ฤๅจะเปรียบเทียบทันขวัญ”

ก ้อยกุ ้งปรุงเสร็จแล ้วกลิน


่ หอมมากราวกับอาหารทิพย์บนสวรรค์ เมือ ่
ั ผัสถูกลิน
สม ้ มีความอร่อยมากจนแทบขาดใจ จึงไม่มใี ครทีม
่ ฝ
ี ี มือปรุง
อาหารเทียบน ้องได ้

(บทต่อไป)

“เทโพพืน
้ เนือ
้ ท ้อง เป็ นมันย่องล่องลอยมัน

น่าซดรสครามครัน ของสวรรค์เสวยรมย์”

แกงเทโพใชเนื้ อ
้ สว่ นท ้องของปลาเทโพในการปรุง ทำให ้น้ำแกงมีความ
มัน มองดูน่าซด รสชาติก็อร่อยมากเปรียบเหมือนอาหารบนสวรรค์

(บทต่อไป)

“ความรักยักเปลีย
่ นท่า ทำน้ำยาอย่างแกงขม
21

กลอ่อมกล่อมเกลีย
้ งกลม ชมไม่วายคล ้ายคล ้ายเห็น”

ด ้วยความรักของน ้องทีม
่ ต
ี อ
่ พี่ น ้องจึงเปลีย
่ นมาทำน้ำยา (ขนมจีน) แบบ
แกงขม รสชาติกลมกล่อมคล ้ายแกงอ่อมมะระ ทำให ้พีต ่ ้องชมฝี มือของ
น ้องไม่ขาดปาก และเหมือนจะเห็นหน ้าน ้องตลอดเวลา

(บทต่อไป)

่ ก
“ข ้าวหุงปรุงอย่างเทศ รสพิเศษใสล ู เอ็น

่ เชงิ มิตรประดิษฐ์ทำ”
ใครหุงปรุงไม่เป็ น เชน

ข ้าวหุงเครือ่ งเทศนีม้ รี สชาติพเิ ศษยิง่ ขึน้ เมือ ่ ก


่ ใสล ู กระวานลงไป ใครหุง
ข ้าวนีก
้ ็ไม่อร่อยเท่าน ้องทีต่ งั ้ ใจหุงเลย

(บทต่อไป)

้ ร่ ะกำ
“ เหลือรู ้หมูป่าต ้ม แกงคัว่ สมใส

รอยแจ ้งแห่งความขำ ช้ำทรวงเศร ้าเจ ้าตรากตรอม”

น ้องมีความรู ้เกีย
่ วกับการทำอาหารมาก ดูจากการนำเอาหมูป่ามาต ้มทำ
้ ร่ ะกำ ทำให ้เห็นความลับระหว่างพีก
แกงคัว่ สมใส ั น ้อง ซงึ่ มีแต่ความ
่ บ
เจ็บช้ำระกำใจ

(บทต่อไป)

้ าพล่
“ชาช ้ าเนือ
้ สด ฟุ้ งปรากฏรสหืน
่ หอม

คิดความยามถนอม สนิทเนือ
้ เจือเสาวคนธ์”

้ สดสง่ กลิน
พล่าเนือ ่ หอมฟุ้ งมากจนเร ้าอารมณ์ของพี่ ทำให ้คิดถึงครัง้ เมือ

เราเคยทะนุถนอมมอบความรักใคร่ให ้แก่กน ิ กันจนได ้
ั ได ้มีโอกาสใกล ้ชด
กลิน
่ กายหอม ๆ ของน ้อง

(บทต่อไป)

“ล่าเตียงคิดเตียงน ้อง นอนเตียงทองทำเมืองบน


22

ลดหลัน ั ้ ชอบกล ยลอยากนิทรคิดแนบนอน”


่ ชน

เห็นล่าเตียงแล ้วพีก ิ ถึงเตียงนอนของน ้อง ซงึ่ เป็ นเตียงทองอันมี


่ ็คด
ลวดลายเป็ นชนั ้ ๆ สวยงามเหมือนเตียงบนสวรรค์ เห็นแล ้วก็ทำให ้คิด
อยากนอนกับน ้อง

(บทต่อไป)

“เห็นหรุม
่ รุมทรวงเศร ้า รุม
่ รุม
่ เร ้าคือไฟฟอน

เจ็บไกลในอาวรณ์ ร ้อนรุมรุม
่ กลุ ้มกลางทรวง”

พอเห็นหรุม
่ ความเศร ้าโศกก็เข ้ามารุมเร ้าร ้อนระอุอยูใ่ นอก ความเจ็บ
ปวดด ้วยใจคิดถึงน ้องนีท
้ ำให ้พีร่ ้อนรุม
่ หัวใจ

(บทต่อไป)

“รังนกนึง่ น่าซด โอชารสกว่าทัง้ ปวง

นกพรากจากรังรวง เหมือนเรียมร ้างห่างห ้องหวน”

รังนกนึง่ น่ารับประทาน รสชาติก็อร่อยกว่าอาหารอืน ่ ๆ การทีน


่ กต ้อง
พรากจากรังก็เปรียบเหมือนกับตัวพีท ่ ต
ี่ ้องพลัดพรากจากน ้องไป

(บทต่อไป)

“ไตปลาเสแสร ้งว่า ดุจวาจากระบิดกระบวน

ใบโศกบอกโศกครวญ ให ้พีเ่ คร่าเจ ้าดวงใจ”

อาหารทีด ่ เู หมือนจะเป็ นไตปลาแต่ความจริงคือ ‘แสร ้งว่า’ ทีท ่ ำเลียน


ไตปลา ทำให ้พีห ่ วนคิดถึงคำพูดทีม่ ช ั ้ เชงิ ของน ้อง พอเห็นใบโศกก็
ี น
ทำให ้พีร่ ู ้ว่าน ้องกำลังโศกเศร ้าคร่ำครวญถึงพี่ ทำให ้พีเ่ ฝ้ าคอยน ้องอยู่
ตลอดเวลา

(บทต่อไป)

ื่ เพราะพร ้อง เป็ นโฉมน ้องฤๅโฉมไหน


“ผักโฉมชอ
23

ผักหวานซา่ นทรวงใน ใคร่ครวญรักผักหวานนาง ๚”

ื่ ทีม
ผักโฉมเป็ นเป็ นชอ ่ คี วามไพเราะ แต่ก็ไม่รู ้ว่ากล่าวถึงโฉมของน ้อง
หรือใครกันแน่ แต่พอเอ่ยชอ ื่ ผักหวานแล ้วรู ้สก
ึ ถึงความหวานทีแ
่ ผ่ซา่ น
ไปทัง้ หัวใจ ทำให ้พีค
่ ดิ ถึงความรักความอ่อนหวานของน ้อง

ึ ษาคุณค่าทางวรรณศล
2. ศก ิ ป์

การพิจารณาคุณค่าด ้านวรรณศล ิ ป์ ต ้องศก


ึ ษาตัง้ แต่การเลือกชนิดคำ
ประพันธ์ให ้เหมาะสมกับประเภทของงานเขียน การรู ้จักตกแต่งถ ้อยคำ
ให ้ไพเราะสละสลวยอันเป็ นลักษณะเฉพาะของภาษากวี และทำให ้ผู ้
อ่านเกิดความสะเทือนอารมณ์ มีคณ ุ ค่าทางวรรณศล ิ ป์ ทีเ่ ด่นชด
ั ดังมีราย
ละเอียดต่อไปนี้

2.1 การสรรคำและเล่นเสย ี งให ้เกิดความไพเราะ เชน ่ การเล่น


ี งวรรณยุกต์ในคำว่า ‘หรุม
เสย ่ ’ ‘รุม’ ‘รุม ี งพยัญชนะ
่ ’ และการเล่นเสย
่ ’ ซงึ่ เห็นได ้โดดเด่นมากในบทนี…
ในคำว่า ‘ร ้อน’ ‘รุม’ ‘รุม ้

เห็นหรุม
่ รุมทรวงเศร ้า รุม
่ รุม
่ เร ้าคือไฟฟอน

เจ็บไกลใจอาวรณ์ ร ้อนรุมรุม
่ กลุ ้มกลางทรวง

2.2 การเปรียบเทียบแบบอุปมา เปรียบสงิ่ หนึง่ เป็ นอีกสงิ่ หนึง่ เชน



ื่ อาหาร กับท่าทีการสนทนาของ
การเปรียบเทียบแสร ้งว่าทีเ่ ป็ นชอ
นางอันเป็ นทีร่ ักในบทนี…

ไตปลาเสแสร ้งว่า ดุจวาจากระบิดกระบวน

ใบโศกบอกโศกครวญ ให ้พีเ่ คร่าเจ ้าดวงใจ


24

2.3 การกล่าวเกินจริง (อติพจน์) เชน่ การพรรณนาว่ารสชาติของ


ก ้อยกุ ้งนัน
้ อร่อยมาก แค่แตะปลายลิน ึ อร่อยจนแทบจะขาดใจ
้ ก็รู ้สก
ในบทนี… ้

ก ้อยกุ ้งปรุงประทิน
่ วางถึงลิน
้ ดิน
้ แดโดย

รสทิพย์หยิบมาโปรย ฤๅจะเปรียบเทียบทันขวัญ

นอกจากการพรรณนาถึงอาหารเลิศรส บรรยายความรัก ความคิดถึง และ


ความทรมานใจในชว่ งเวลาทีต ่ ้องพลัดพรากจากนางอันเป็ นทีร่ ัก กาพย์
เห่ชมเครือ
่ งคาวหวานยังถ่ายทอดวัฒนธรรมด ้านอาหารการกินผ่าน
อาหารพืน ั ชาติไทย จีน มุสลิมไว ้อย่าง
้ บ ้าน อาหารชาววัง ทัง้ สญ
กลมกลืน
25

บทที่ 5 สรุป

อภิปรายผล และข ้อเสนอแนะ

การศก ึ ษาค ้นคว ้าเรือ ่ ง อาหารไทยและของหวานคุณค่าทาง


วรรณศล ิ ป์ ในกาพย์เห่ชมเครือ ่ งคาวหวาน มีวต ั ถุประสงค์เพือ
่ ศกึ ษา
อาหารไทยโบราณทีห ่ ารับประทานได ้ยากซงึ่ ปรากฎในกาพย์เห่ชม
เครือ
่ งคาวหวานและเพือ ่ ศก ึ ษาความหมายคุณค่าทางวรรณศล ิ ป์ โดย

แหล่งข ้อมูลทีใ่ ชในการศ ึ ษาค ้นคว ้าครัง้ นี้ เลือกศก
ก ึ ษาจากกาพย์เห่ของ
รัชกาลที่ 2 จากสอ ื่ ออนไลน์ทางอินเตอร์เน็ ต โดยเลือกจากบทของคาว
นำมาศก ึ ษาเกีย ่ วกับจุดเด่นเอกลักษณ์ของอาหารไทยและคุณค่าทาง
วรรณศล ิ ป์ จากกาพย์เห่

อภิปรายผล

สรุปผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์ข ้างต ้น ดังรายละเอียดต่อไปนี้

ึ ษาจุดเด่นและความหมายจากกาพย์เห่ชมเครือ
1. ศก ่ งคาวหวาน

1.1 การศก ึ ษาความหมายจากกาพย์เห่ชมเครือ ่ งคาวหหวาน ในแต่


ล่ะบทนัน้ จะมีชนิดอาหารทีแ
่ ตกต่างกันโดยความหมายนัน ้ บางบทจะ
อธิบายถึงรสชาติของอาหารจานนัน ้ บางบทพูดถึงวัตถุดบ ่ ง
ิ พิเศษทีใ่ สล
ไปแต่ละ่ จานจะมีความพิเศษทีไ่ ม่เหมือนกันแต่สงิ่ ทีเ่ หมือนกันคือนำ
อาหารไปเปรียบถึงผู ้หญิงทีร่ ัก คิดถึงคะนึงหารสชาติอาหารทีน ่ างทำ

1.2 กาพย์เห่มก ้
ี ารใชคำที ื่ ความหมายได ้ชด
ไ่ ม่วกวน สอ ั เจน
26

1.3 เอกลักษณ์อาหารในแต่ละ่ จานนัน ้ มีความโดดเด่นทีช ั เจน บาง


่ ด
บทก็มก
ี ารกล่าวถึงวัตถุดบ ่ งไป
ิ ทีใ่ สล

ึ ษาคุณค่าทางวรรณศล
2. ศก ิ ป์

2.1 การสรรคำ และเล่นเสย ี งให ้เกิดความไพเราะ เชน่ การเล่นเสย


ี ง
วรรณยุกต์ในคำว่า ‘หรุม ่ ’ ‘รุม’ ‘รุม ี งพยัญชนะในคำว่า
่ ’ และการเล่นเสย
่ ’ ซงึ่ เห็นได ้ในบทของ หรุม
‘ร ้อน’ ‘รุม’ ‘รุม ่

2.2 การเปรียบเทียบแบบอุปมา เปรียบสงิ่ หนึง่ เป็ นอีกสงิ่ หนึง่ เชน



ื่ อาหาร กับท่าทีการสนทนาของนางอัน
การเปรียบเทียบแสร ้งว่าทีเ่ ป็ นชอ
เป็ นทีร่ ักในบทของ แสร ้งว่า

2.3 การกล่าวเกินจริง (อติพจน์) เชน่ การพรรณนาว่ารสชาติของ


ก ้อยกุ ้งนัน
้ อร่อยมาก แค่แตะปลายลิน ึ อร่อยจนแทบจะขาดใจใน
้ ก็รู ้สก
บทของ ก ้อยกุ ้ง

ึ ษาค ้นคว ้าครัง้ ต่อไป


ข ้อเสนอแนะและการศก

ึ ษากาพย์เห่ชมเครือ
1. ควรศก ่ งคาวหวานในบทอืน ่ เห่ขนม
่ อย่างเชน
หวาน เพือ่ ชว่ ยในการศก
ึ ษาอาหารและขนมโบราณได ้มากขึน้

2. ควรศก ึ ษาคุณค่าทางด ้านต่างๆเพิม


่ มากขึน
้ เพือ
่ หลากหลายในด ้าน
ข ้อมูลการศกึ ษา

บรรณานุกรม
27

Kachaban, L., 2022. กาพย์เห่ชมเครือ่ งคาวหวาน ชน ั ้ มัธยมศก


ึ ษาปี ท ี่
1 วิชาภาษาไทย. [online] Blog.startdee.com. Available at:
<https://blog.startdee.com>

[Accessed 2 March 2022].

Chamofthaifood.blogspot.com. 2022. เสน่หข์ องอาหารไทย (Charm


of Thai food). [online] Available at:
<https://chamofthaifood.blogspot.com/2019/09/charm-of-thai-
food.html>

[Accessed 3 March 2022].

่ งคาวหวาน : 48 สารพัดเมนูน่า
Dek-D.com. 2022. กาพย์เห่ชมเครือ
ลองในเเบบไทยๆ | Dek-D.com. [online] Available at:
<https://www.dek-d.com/writer/41665/>

[Accessed 4 March 2022].

Sites.google.com. 2022. คุณค่าทางวรรณศล ิ ป์ - พาลีสอนน ้อง.


[online] Available at: <https://sites.google.com/site/phalisxnnxng/bth-
thi2/khunkha-thang-wrrnsilp>

[Accessed 4 March 2022].

You might also like