You are on page 1of 22

ผู้เขียน: canine

เผยแพร่โดย หจก. มอร์ เซอร์วิสเซส


ผู้เขียน: canine
เผยแพร่โดย หจก. มอร์ เซอร์วิสเซส
01255101 Man and Sea o ช่วงเปลีย่ นมรสุม มีกระแสนา้ ไหลจาก E เข้าทะเลอันดามัน
มนุษย์กับทะเล – Final การขึน้ -ลงของนา้ ทะเลในทะเลอันดามัน
o นา้ คู:่ ขึน้ ลงวันละ 2 ครัง้
ทะเลอันดามัน o ปากนา้ ระนอง, ภูเก็ต
 Mean high water: +0.6, +0.56 m
อันดามัน
 Mean low water: -1.12, -1.17 m
o ราก: หัวละมาน (หนุมาน)
o ช่วงความแตกต่างของนา้ ทะเล (Tidal Range) 1.73 m
 ตอนพระรามจองถนน
จังหวัดติดทะเลอันดามัน
 ข้ามนา้ ข้ามทะเลไปรบทศกัณฏ์ที่กรุ งลงกา
ลักษณะภูมิประเทศและภูมิสัณฐานบริเวณทะเลอันดามัน ลักษณะภูมิประเทศพืน้ ที่กลุม่ จังหวัดติดทะเลอันดามัน
 อาณาเขต o W แนวเทือกเขาพาดผ่านจากระนอง-พังงา
 N: ดินดอนสามเหลีย่ มปากแม่นา้ อิระวดี o แม่นา้ ความยาวไม่มาก
 E: คาบสมุทรมาเลย์ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
 W: หมูเ่ กาะนิโคบาร์, สุมาตรา – แนวกัน
้ กับอ่าวเบงกอล
o เกาะ: เกาะริมทวีปที่เป็ นส่วนหนึง่ ของแผ่นดินในอดีต
 S: ส่วนปลายเกาะสุมาตรา, ช่องแคบมะละกา
 เกาะสันดอนใกล้ฝ่ ั ง
 ประเทศในเขตทะเลอันดามัน
 เกาะไกลฝั่ ง
 พม่า
o แหล่งปะการัง:
 ไทย
 49% ของพืน้ ที่แนวปะการังของประเทศ
 มาเลเซีย (นิดหน่อย)
 ส่วนใหญ่สภาพปานกลาง-เสียหายมาก
 อินโดนีเซีย
 ก่อตัว 3 บริเวณ
 อินเดีย
1. บริเวณพืน้ ราบ (Reef flat)
o ส่วนหนึง่ ของไหล่ทวีปมหาสมุทรอินเดีย
 ใกล้ชายฝั่ งเขตนา้ ตืน้
o แอ่งกึ่งปิ ดจากการเคลือ่ นไหวของเปลือกโลก
 อาจโผล่ช่วงนา้ ลง: ทนการเปลีย่ นแปลงได้ดี
o ลาดทวีปเอียงไปทางทิศตะวันตก
 snorkeling
 ความยาวแนวเหนือ-ใต้ 1200 km
2. สัน-ไหล่ของแนวปะการัง (Reef edge/crest)
 ส่วนกว้างที่สดุ แนวออก-ตก 650 km
 บริเวณแคบๆ
 พืน้ ที่ 800 k km2
 ได้รบ ั ผลกระทบจากคลืน่ คอนข้างรุนแรง
 ความลึกเฉลีย่ 870 m
3. บริเวณลาดชัน (Reef slope)
 ส่วนลึกสุด 3777
 เขตนา้ ลึก
สภาพลักษณะธรณีแปรสัณฐาน: แนวการเกิดแผ่นดินไหว 2 แนว  ชนิดมากกว่าบริเวณอื่น
1. แนวเขตมุดตัวของเปลือกโลก (Subduction zone): การชน  จุดปะการังดีที่สดุ
กันของเพลตออสเตรเลียน-ยูเรเซียน  สาหร่าย
2. รอยเลือ่ นในแนวระดับ (Strike-strip fault)  แสงส่องถึง
การไหลเวียนของกระแสนา้ ที่เกิดจากกระแสนา้ ขึน้ -ลง ลม และ  Snorkeling
การถ่ายเทความร้อน o แหล่งหญ้าทะเล
 แหล่งหญ้าทะเลใหญ่ที่สดุ เทียบกับแหล่งอื่นๆ
o กระแสนา้ ช่วงมรสุมมีความแรงต่ากว่าช่วงเปลีย่ นมรสุม
 หญ้าทะเล 12 ชนิด
 มรสุม NE (dec-may): อ่าวเปิ ด – ช่วงเที่ยว
 สภาพสมบูรณ์ปานกลาง แนวโน้มดีขน ึ้
 มรสุม SW (jun-nov): อ่าวปิ ด-ไม่เที่ยว
Fang AE26
ผู้เขียน: canine
เผยแพร่โดย หจก. มอร์ เซอร์วิสเซส
o พืน้ ที่ช่มุ นา้ ในพืน้ ที่กลุม่ จังหวัดภาคใต้ฝ่ ังอันดามัน  อุทยานแห่งชาติหมูเ่ กาะสุรนิ ทร์
 ส่วนใหญ่กระจายตัวอยูใ่ นจ.ตรัง: 42%  แนวปะการังนา้ ตืน้ ใหญ่ที่สดุ ในไทย
 ทะเล, ชายฝั่ งทะเล, ปากนา้  อ่าวช่องขาด
1. พืน้ ที่ชุ่มนา้ ที่มีความสาคัญระดับประเทศ : ขึน้ ทะเบียน  อ่าวไม้งาม
แรมซาร์ 5 แห่ง  ชุมชนมอแกน
2. พื ้น ที่ ชุ่ ม น ้ า ที่ มี ค วามส าคั ญ ระดั บ นานาชาติ แ ละ  กองหินริเชริว: แหล่งดานา้ ลึก
ระดับชาติ  อุทยานแห่งชาติหมูเ่ กาะสิมิลนั
ระนอง  หินใบ เกาะแปด
เกาะเมียง (เกาะสี)่
ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็ นทิวเขา หุบเขาสลับซับซ้อน

o
เกาะบอน : ดานา้ ลึก – พบกระเบนราหูใหญ่ที่สดุ ใน
พืน้ ที่ติดแนวชายฝั่งทะเลอันดามันประมาณ 172 km

o
โลก, ฉลามวาฬ
o แพปลาใหญ่: แพหลักของประเทศ
เกาะตาชัย
แหล่งท่องเที่ยว

o
 อุทยานแห่งชาติลานา้ กระบุรี ภูเก็ต
 ร่องนา้ จากภูเขาสูงชันเป็ น valley o ภูมิประเทศเป็ นเกาะ
 อุทยานแห่งชาติหมูเ่ กาะระนอง o ชายฝั่งทะเลยาว 202 km
 เกาะช้าง o W: อ่าว หาดทราบขาวละเอียด
 เกาะพยาม o E: ป่ าชายเลน หาดโคลน – อ่าวพังงา
 อุทยานแห่งชาติแหลมสน: ดูนก o แหล่งท่องเที่ยว
 หาดบางเบน: นา้ ตืน้  หาดป่ าตอง
 หาดประพาส: สถานีวิจยั  เกาะราชาใหญ่
 หมูเ่ กาะกา: สันดอนทราย  อุทยานแห่งชาติสริ น ิ าถ
 เกาะค้างคาว: เกาะที่หาดสวยที่สดุ แถวนัน้  เต่ามะเฟื องวางไข่มากที่สดุ ในอดีต
พังงา  หาดทรายแก้ว
 หาดไม้ข าว: คลื่ น อั น ตรายอย่ า ลงเล่ น – คลื่ น
o ส่วนใหญ่ เป็ นเทือกเขาสูงสลับซับซ้อนและที่ราบสูงด้าน W
กระแทก, นา้ ดูด
ของพืน้ ที่
 หาดในยาง: แอ่งนา้ ตืน้ ลงเล่นได้
o ชายฝั่ งทะเลยาว 235 km: ตามแนวมีป่าชายเลนเกือบตลอด
หาดในทอน
พืน้ ที่

o แหล่งท่องเที่ยว: บนบกส่วนใหญ่เป็ นเทือกเขา กระบี่


 อุทยานแห่งชาติอา่ วพังงา o ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็ นเขาหินปูน
 ป่ าชายเลนใหญ่ที่สดุ ในประเทศ o ถา้ หินปูน บ่อนา้ ร้อน แอ่งนา้ จากการยุบตัวของดิน
 เขาพิงกัน o ความยาวชายฝั่ง 203 km
 เขาตาปู o แหล่งท่องเที่ยว: ปี นหน้าผา, พายเรือคายัค, ดานา้
 ถา้ ลอด  อุทยานแห่งชาติธารโบกขรณี
 เกาะปั นหยี  ส่วนลึกที่สดุ ของอ่าวพังงา
 เกาะละวะใหญ่  เกาะเหลาบิเละ (เกาะห้อง)
 อุทยานแห่งชาติเขาหลัก-ลารู ่  ถา้ ลอด-ถา้ ผีหวั โต
 เขากาโรส

Fang AE26
ผู้เขียน: canine
เผยแพร่โดย หจก. มอร์ เซอร์วิสเซส
 อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมูเ่ กาะพีพี  เกาะอาดัง
 เกาะปอดะ  เกาะราวี
 ทะเลแหวก  เกาะหลีเป๊ ะ
 เกาะพีพีดอน  อุทยานแห่งชาติทะเลบัน
 ถา้ ไวกิง้ – เกาะพีพีเล: ปะการังสวยมาก  นกเงือก
 อ่าวปิ เละ – เกาะพีพีเล  ถา้ ลอดปูยู
 อ่าวมาหยา: คนเที่ยวเยอะ=ปะการังเสียหาย
 อุทยานแห่งชาติหมูเ่ กาะลันตา อาณาเขตทางทะเล (Maritime Zone)
 เกาะไหง
อาณาเขตทางทะเล
 หมูเ่ กาะห้า: lagoon
อนุสญ
ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้วยกฎหมายทางทะเล (1982)
 เกาะรอก
 หินม่วง หินแดง
ตรัง
o ส่วนใหญ่เป็ นภูเขาหินปูนเนินสูงต่า
o ชายฝั่งเว้าแหว่ง ความยาวประมาณ 135 km
o จังหวัดเดียวฝั่งอันดามันที่รถไฟไปถึง
o แหล่งท่องเที่ยว
 อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม
 พะยูน
 ถา้ มรกต
 เกาะกระดาน: หาดนา้ ใส, ปะการังนา้ ตืน้
 หาดเจ้าไหม
สตูล
o พืน้ ที่ราบสลับกับภูเขา: ภูเขาสันกาลาคีรี
o ความยาวชายฝั่ง 161 km 1. น่านนา้ ภายใน (Internal water)
o แหล่งท่องเที่ยว  กาหนดเส้นฐาน (Baseline)
 World’s geo park
 ในอ่าว, ทะเลระหว่างเกาะ
 อุทยานแห่งชาติหมูเ่ กาะเภตรา
 ใช้กม.ได้ 100%
 เกาะเหลาเหลียง 2. ทะเลอาณาเขต (Territorial sea)
 เกาะลิดี  12 ไมล์ทะเลจากเส้นฐาน
 เกาะบุโหลนใหญ่ (บุโหลนเล)  เดินเรือได้อย่างสุจริต
 เกาะบุโหลนไม้ไผ่  กม.บางอย่างใช้ไม่ได้
 อุทยานแห่งชาติตะรุ เตา
3. เขตต่อเนื่อง (Contiguous zone)
 อุทยานแห่งชาติทางทะเลที่ใหญ่ที่สดุ ในประเทศ  24 ไมล์ทะเลจากเส้นฐาน
 เกาะตะรุเตา  กม.ใช้ได้บางอย่าง ไม่ใช่ฉบับเต็ม
 เกาะไข่: สะพานหินธรรมชาติ
 เกาะหินซ้อน
 เกาะหินงาม
Fang AE26
ผู้เขียน: canine
เผยแพร่โดย หจก. มอร์ เซอร์วิสเซส
4. เขตเศรษฐกิจจาเพาะ (Exclusive economic zone) การท่องเที่ยวทางทะเล
 200 ไมล์ทะเลจากเส้นฐาน การท่องเทีย่ วทางทะเลในอดีต
 กึ่งทะเลสาธารณะ แต่ทรัพย์สน ิ (สิง่ มี/ไม่มีชีวิต) เป็ นของ o รับเอาค่านิยมมาจากยุโรป: summer
ประเทศนัน้ ๆ o ภูมิแพ้ในช่วงฤดูรอ้ น เจอทะเลแล้วดีขนึ ้
 เดินเรือได้เสรีไม่ตอ้ งขออนุญาต
Summer holidays
5. ทะเลหลวง (High sea)
o ยุโรป (French Riviera): หาดกรวด-หาดหิน
 เกิน 200 ไมล์ทะเลจากเส้นฐาน
 jul-aug
 ทะเลสาธารณะ ใครเข้ามาใช้ประโยชน์ก็ได้
 temp 17-28c
o 1 ไมล์ทะเล (nautical mile) = 1.852 km
 mean sea water temp 23-24c
o ไทยเข้าเป็ นภาคีอนุสญั ญา 14 มิถนุ ายน 2554
o ประเทศไทย (หัวหิน)
เกาะโลซิน
 apr-may
o อนุสญ
ั ญากรุงเจนิวาว่าด้วยกฎหมายทะเล (1958): กองหิน  temp 26-34c
โผล่พน้ นา้ ถือเป็ นเกาะ  mean sea water temp 30-31c
o อนุสญั ญาสหประชาชาติวา่ ด้วยกฎหมายทะเล (1982): เกาะ  late rama v – early rama vi
ต้องสามารถอยูอ่ าศัยได้  โรงแรมริมทะเลแห่งแรก: โรงแรมรถไฟ
ประเทศเพื่อนบ้าน ทะเลไทย
o ทางบก: พม่า ลาว กัมพูชา มาเลเซีย o อ่าวไทย
o ทางทะเล: เวียดนาม อินโดนีเซีย อินเดีย  ตอนบน อ่าวรู ปตัวก
 ประเทศไทยเป็ นทะเลปิ ด: ไม่มีสว่ นที่ออกสู่ high sea  E: ชลบุร-ี ตราด
การใช้ประโยชน์  W: เพชรบุร-ี ประจวบคีรขี น
ั ธ์~
การท่องเที่ยว o อันดามัน
 อันดามันเหนือ: ภูเก็ต up
o 1700000 mthb – จากชาวต่างชาติเป็ นหลัก
 อันดามันใต้: ภูเก็ต down (ช่องแคบมะละกาตอนเหนือ)
o รายได้จากการท่องเที่ยว top 10 ส่วนใหญ่มาจากจังหวัดที่มี
ชายฝั่งทะเล ภูมิอากาศกับการท่องเที่ยว
o ช่วยเรือ่ งการกระจายรายได้ ลมมรสุม
การประมง 1. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (may-oct)
o 300000 mthb 2. ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (oct-feb)
o ส่งออกทูนา่ กระป๋ องมากที่สดุ ในโลก สถานที่ที่เหมาะสมในแต่ละเดือน
พลังงาน o feb-mar: อ่าวไทย, อันดามัน – ลมสงบ ฟ้าเปิ ด
o 550000 mthb แหล่งท่องเที่ยวยอดนิยม
o ก๊าชธรรมชาติเป็ นพลังงานที่สะอาดที่สดุ เทียบกับถ่านหิน- o พัทยา: Alcazar show / tiffany show
นา้ มัน (CO2, toxin) o เกาะล้าน: แหล่งนา้ ใสใกล้กรุงเทพมากที่สดุ
การขนส่งและอื่นๆ + การพัฒนาชายฝั่ง-ชุมชน o เกาะสมุย: หินตา-หินยาย
o เกาะพะงัน: full moon party
o 700000 mthb
o เกาะเต่า: แหล่งดานา้ ดูปะการัง (scuba diving)
o Ship เรือถูกสุด
o เกาะนางยวน
o Airport high speed rail project
Fang AE26
ผู้เขียน: canine
เผยแพร่โดย หจก. มอร์ เซอร์วิสเซส
o ภูเก็ต  ประเภทของครีมกันแดด
o เกาะไข่  Physical sunscreen (inorganic)
o หมูเ่ กาะพีพี  Reflect: เคลือบ=เหนียว
 นิยมเดินทางจากระบี่ไปมากกว่า  เหมาะกับผิวแพ้ง่ายมากกว่า
 อ่าวทรงโค้ง  Chemical sunscreen (organic)

การเตรียมตัวไปทะเล  Absorb: ซึม


การเตรียมตัวไปทะเล  ระวัง allergic
 Water resistant: ทนนา้ 40 นาที
o เสือ้ ผ้า: เหมาะสม, ชุดว่ายนา้ , เสือ้ แห้งสาหรับเปลีย่ น
 Waterproof: ทนนา้ 80 นาที
o ครีมกันแดด SPF 30+
 ครีมกันแดดทาร้ายปะการัง
o โลชัน after sun/ aloe vera
 สารเคมีในครีมกันแดด organic sunscreen
แสงอาทิตย์  Oxybenzone
o IR: รังสีความร้อน  Octinoxate
o Visible light: แสงที่ตามองเห็น  รบกวนระบบสืบพันธุข์ องปะการัง
o UV: เพิ่มวิตามิน D, ทาลายเซลล์-ภูมิคมุ้ กัน  ทาให้ตวั อ่อนพิการ
 UVA (95%)  ทาลาย DNA
 คลา้ ทันที (10-15min หลังออกแดด) แต่คลา้  เกิดปะการังฟอกขาว
ชั่วคราว  การใช้ครีมกันแดด
 ทาลายคอลลาเจน: photoaged  กิจกรรมทั่วไป SPF 15
 มะเร็งชนิด melanoma: พบน้อย แต่รุนแรง  กิจกรรมกลางแจ้ง SPF 30+
 UVB (5%)  ทาก่อนออกแดด 15-20 min
 คลา้ ช้า (2-3 วัน) แต่คลา้ นาน (3-4 wks): สร้าง  ทาซา้ ทุก 1-2 hr
melanin ขึน้ มาใหม่  ทาตอนตัวแห้ง
 ผิวไหม้แดด (sunburn)  การใช้เป็ นประจาอาจทาให้ขาด VitD
 ทาลาย DNA  คนไทย 42% ขาด VitD
 มะเร็งผิวหนัง: พบบ่อย กิจกรรมท่องเที่ยวทางทะเล
 UVC (0%)
o Beach activities
อันตรายมากสุด
Banana boat

o
Ozone block: ผ่านไม่ได้ ยกเว้นบริเวณที่มี ozone
Parasail: เป็ นดัชนีวดั ความคึกคักของการท่องเที่ยวได้

o
hole – แถว south pole e.g. aus nz
o Jet ski
ครีมกันแดด o Sea kayak
o ผลิตภัณฑ์ใช้ภายนอก มีสว่ นผสมของสารกันแดดเพื่อใช้ทา o SUP Surfing
ผิว o Sea walker / Sea trek: หายใจได้
 SPF (Sun Protection Factor): UVB o Underwater scooter
 ประสิทธิภาพป้องกันผิวไหม้ o Fly board
 PA (Protection Grade of UVA): UVA o Snorkeling: กลัน้ หายใจ
o SCUBA Diving: ลึกกว่า snorkel

Fang AE26
ผู้เขียน: canine
เผยแพร่โดย หจก. มอร์ เซอร์วิสเซส
การดานา้ ตืน้ (Snorkeling)  นกหวีดเป่ าได้ขณะเปี ยก
 อุปกรณ์ดานา้ ตืน้  มีวสั ดุสะท้อนแสง
 หน้ากากดานา้ (diving mask)  ทาจากวัสดุไม่ติดไฟ
 ช่วยให้ตาโฟกัสภาพนา้ ได้  การใส่ PFD

 ภาพใหญ่ขนึ ้ 25%  ตรวจสอบสภาพก่อนใช้งาน


 ภาพใกล้ขนึ ้ 25%  รัดตัวล็อกทุกจุด, สายคล้องขา
 ท่อหายใจ (snorkel)  ปรับสายให้พอดี
 ช่วยหายใจขณะก้มหน้าในนา้  หัดสวม-ศึกษาการใส่ก่อนเดินทาง
 Dead air space  เรือเล็กควรใส่ตลอดเวลา, เรือมีหลังคาเอาไว้ในที่
 ตีนกบ (fin) หยิบฉวยได้งา่ ย
 เสือ้ พยุงตัว (buoyancy aid)  ใส่ทกุ ครัง้ ที่ทากิจกรรมทางนา้
 ชุดดานา้  ข้อควรปฏิบตั ิในการดานา้ ตืน้
 เทคนิคการใช้หน้ากากดานา้  เตรียมร่างกายให้พร้อม

 ตรวจสอบก่อนใช้  ดื่มนา้ มากๆ

 รัดสายให้พอดีไม่แน่นไป  เลือกอุปกรณ์ที่ถนัด-พอดีตวั

 ระวังผมติดในขอบหน้ากาก  สวมชูชีพ

 ทาแชมพูทกี่ ระจกขณะแห้ง  มี buddy เพื่อคอยช่วยเหลือ

 ทดลองใช้อป ุ กรณ์ในนา้ ตืน้  คูด ่ านา้ ไม่ควรอยูห่ า่ งกันเกินไป


 ฝึ กไล่ฝา้ ในหน้ากาก  เลือกเวลาลงดานา้ ให้เหมาะสม

 อุปกรณ์ลอยตัวส่วนบุคคล (Personal Flotation Device;  หลังอาหาร 30 min


PFD)  เลิกก่อนเวลาอาหาร
 เสือ้ ชูชีพ (Life jacket/vest)  หลีกเลีย่ งช่วงแดดแรง
 แรงลอยตัวสูง  ห้ามจับ/สัมผัสสัตว์ทกุ ชนิด

 คนสวมหงายหน้า ตัวตรง  ห้ามให้อาหารปลา

 ผูป้ ระสบภัยไม่รูส้ กึ ตัว  ผิดกม


 จากัดการเคลือ่ นไหว  ทาลายการท่องเที่ยวธรรมชาติ
 US Coast Guard Type I,II  ปลาที่กินอาหารจากมนุษย์เพิม่ ขึน้
 เสือ้ พยุงตัว (Buoyancy/flotation aid)  ยึดพืน้ ที่ในแนวปะการัง
 อุปกรณ์ช่วยลอยตัวในนา้  ไล่ปลาอื่น: ขาดสัตว์นา้ ที่ควบคุมระบบนิเวศ
 กีฬาทางนา้ ปะการัง
 เคลือ่ นไหวคล่องตัว  สาหร่ายรุกรานแนวปะการัง
 ผูส้ วมรูส้ กึ ตัว: ไม่ช่วยหงาย  ห้ามยืนบนปะการัง

 US Coast Guard Type III  นอนหงายลอยตัวเมื่อเหนื่อย

 การเลือก PFD  ไม่เข้าใกล้แนวปะการังที่ตน ื ้ เกินไป


 เลือกให้ถกู ประเภทการใช้งาน  ห้ามทิง้ สมอในแนวปะการัง

 สีสนั สดใสเห็นชัด
 พอดีตวั
 มีสายรัดตัว, คล้องขา

Fang AE26
ผู้เขียน: canine
เผยแพร่โดย หจก. มอร์ เซอร์วิสเซส
อันตรายที่อาจเกิดจากการท่องเที่ยวทางทะเล  Shallow water blackout: 50% ของการจมนา้ ที่พบ
อันตรายขณะอยูท่ ี่ทา่ เรือ  หมดสติในการดานา้ แบบกลัน้ หายใจ
 เกิดได้กบั ทุกคน
 ท่าเรือไม้
 ทา hyperventilation ก่อนดานา้ : ไม่ควร
 ไม้ผุ ชารุ ด
 ไม่ควร free diving โดยไม่ได้รบ
ั การฝึ กฝน
 ตะปู เสีย้ นไม้
 พืน้ ต่างระดับ
 ท่าเรือประมง
 ซากสัตว์นา้
 นา้ ท่วมขัง
 นา้ มันเครือ่ ง
 รถขนของ
อันตรายจากสัตว์ทะเล
อันตรายขณะอยูบ่ นเรือ
 กองเชือก
ข้อควรปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการสัญจรทางน้า
 สายสมอ
ก่อนเดินทางและก่อนขึน้ เรือ
 นา้ มันเครือ่ ง
 กราบเรือ esp. ขณะเทียบท่า – นั่ง/จับ o ติดตามพยากรณ์อากาศ, ประกาศจากกรมอุตฯุ
 ท่อไอเสียข้างเรือ: เรือประมงดัดแปลง o ว่ายนา้ ไม่เป็ นไม่ควรเดินทางลาพัง
 บันได o สวมเสือ้ ผ้าที่ถอดออกได้ง่าย
 ใบพัด: อย่าว่ายอ้อมท้ายเรือ o ยืนคอยเรือบนฝั่ง ไม่รอบนโป๊ ะ
 แม่ยา่ นาง o สังเกตจานวนการบรรทุกที่ขา้ งเรือ
อันตรายจากกระแสนา้ ขณะขึน้ -ลงเรือ
 Rip current: ปลายสะพาน, หัวแหลม o รอเรือจอดเทียบท่าให้เรียบร้อยก่อนขึน้ -ลง
o ทยอยขึน้ -ลง เพื่อรักษาสมดุลเรือ
อันตรายจากโรคภัย
o ดูจงั หวะคลืน่ ก่อนก้าว
 อาการเมาเรือ (motion sickness): สมองรับสัญญาณขัดแย้ง
o ระวังกราบเรือ
กัน
o ระวังเสือ้ ผ้าเกี่ยวพัน
 กินยาแก้เมาเรือก่อนขึน้ เรือ 30 min
o งดใช้มือถือ
 อยูใ่ นที่อากาศถ่ายเท
o ไม่ถือของพะรุงพะรัง
 มองไกล
o ส่งของให้คนบนเรือก่อนก้าว
 หลับตา
ขณะเดินทาง
 จุดเน่ยกวาน: แก้อาการใจสั่น
 เส้นลมปราณเยิ่น: แก้อาเจียน พะอืดพะอม ท้องเสีย o เรือหลังคา/ด้านข้างเปิ ดโล่ง: สวมชูชีพตลอดเวลา
 ตะคริว: esp. น่อง o เรือหลังคาปิ ด: ไม่ควรใส่ชชู ีพ เอาไว้ใกล้ตวั
 เกลือแร่ไม่สมดุล o หาทางหนีเมื่อเกิดเหตุฉกุ เฉิน
 ร่างกายไม่สมดุล o อย่างนั่งกราบเรือ-หลังคาเรือ
 นา้ เย็น (กล้ามเนือ้ หดเกร็ง) o กระจายกันนั่งเพื่อรักษาสมดุล
 แก้ตะคริว: อย่าตกใจ o หาที่ยดึ เกาะเมื่อเรือโคลง/ลมแรง
o ไม่ควรดื่มของมึนเมาเมื่อลงเรือ
Fang AE26
ผู้เขียน: canine
เผยแพร่โดย หจก. มอร์ เซอร์วิสเซส
การปฏิบตั ิตนเพื่อความปลอดภัยเมื่อตกจากเรือ/เรือล่ม  Phytoplankton (แพลงก์ตอนพืช): ต่างสี=ต่าง
o ว่ายออก ลอยตัว รอความช่วยเหลือ ชนิด/ระยะการเจริญเติบโต
 เมื่อตกจากเรือ  Zooplankton (แพลงก์ตอนสัตว์): ตัวอ่อนของสัตว์
 คุมสติ  แพลงก์ตอนถาวร/ชั่วคราว
 ว่ายออกห่างจากเรือจนพ้นระยะอันตรายจากใบจักร  เป็ นแหล่งอาหารของสัตว์นา้ อื่น
แล้วหยุดว่าย พืชและสาหร่าย (Plant and Algae)
 ตะโกนขอความช่วยเหลือ สาหร่าย (Algae)
 เมื่อเรือล่ม
o พืชชัน้ ต่า: ไม่มีราก-ลาต้น-ใบที่แท้จริง
 สละเรือเร็วที่สดุ แล้วว่ายออกห่างเพื่อป้องกันนา้ ดูด
o มีสารสีในเซลล์
o ถอดรองเท้า ทิง้ สิง่ ของที่ไม่จาเป็ น
 สาหร่ายสีเขียวแกมนา้ เงิน (Blue-green algae):
o หาวัตถุลอยนา้ ช่วยพยุงตัว, ถอดเสือ้ -กางเกงทาโป่ งลอยนา้
cyanobacteria – เขียว-ฟ้า
o ลอยตัวนิ่งๆ
 Oscillatoria (สาหร่ายขนแมว): แพลงก์ตอน
o ฝั่งไกล อย่าพยายามว่ายเข้าฝั่ง
 บ่อกุง้ : เพิ่มจานวนมาก พอตายแล้วเกิด
o เกาะกลุม่ ด้วยการคล้องแขนหรือผูกชูชีพ
แอมโมเนีย=กลิน่ สาบโคลน
วิธีการช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยทางนา้  Spirulina (สาหร่ายเกลียวทอง)
o ตะโกน โยน ยืน่  โปรตีนสูง 50-70% ของนา้ หนักแห้ง: อาหารเสริม
 ตะโกนแจ้ง 1669  สาหร่ายสีเขียว (Green algae): chlorophyll –เขียว
 ตะโกนบอกคนตกนา้  สาหร่ายพวงองุ่น: กินได้
 โยนวัตถุลอยนา้  สาหร่ายใบเฟิ รน์ : กินไม่ได้, ใส่ตป ู้ ลา
 ยื่นวัตถุยาว  สาหร่ายใบมะกรูด
 ถ้าไม่เคยฝึ ก ไม่ควรลงไปช่วย  ช่วยดูดซับ C ในอากาศ
o ปฐมพยาบาลตามอาการ  โครงสร้างหินปูนเคลือบใบ พอตายแล้วจะหลุดออก
o ไม่อมุ้ พาดบ่า – ทรายจากสาหร่าย
o ฟื ้ นแล้วต้องไปพบแพทย์แม้จะสบายดี  สาหร่ายสีนา้ ตาล (Brown algae): นา้ ตาลทอง-เหลืองทอง
 Sea weed: เป็ นวัชพืชทะเล

สิ่งมีชีวติ ในทะเล (Marine life)  บางชนิดมีถงุ ลมที่โคนใบให้ลอยตัวในนา้


 ส่วนใหญ่อยูใ่ นที่นา้ เย็น-ปานกลาง
สิง่ มีชีวติ ขนาดเล็ก (Microscopic life)
 Giant Kelp
o สิง่ มีชีวิตขนาดเล็ก: พืช-สัตว์
 Kombu
o เห็นได้ยากด้วยตาเปล่า: microscope
 Wakame (ผักกาดทะเล)
 ไวรัส แบคทีเรีย โปรโตซัว แพลงก์ตอนพืช-สัตว์
 Sargassum (สาหร่ายทุน ่ )
 Foraminifera: โปรโตซัว
 High iodine: ทายา-อาหารเสริม
 ตายแล้วทับถมใต้ทะเลเป็ นหินตะกอน: เป็ นข้อมูล
 Sargasso sea (Atlantic ocean): กีดขวางการ
ศึกษาอายุชนั้ หิน (โครงสร้างเป็ น Ca)
เดินเรือ
 ซากดึกดาบรรพ์ดชั นีใช้หาแหล่งนา้ มัน
 แหล่งเพาะพันธุ-์ อนุบาลสัตว์นา้ : Anguilla eel
 แพลงก์ตอน: สมช.ล่องลอยในมวลนา้ เคลือ่ นทวน
(ปลาตูหนา/ปลาไหลหูดา), glass eel
กระแสนา้ ไม่ได้

Fang AE26
ผู้เขียน: canine
เผยแพร่โดย หจก. มอร์ เซอร์วิสเซส
 สาหร่ายสีแดง (Red algae)  แมงกะพรุนไฟ: พิษเยอะ
 ทาวุน ้ (agar)  แมงกะพรุ นถ้วย: พิษน้อย
 Laver (สายใบ/จีฉา่ ย)  แมงกะพรุ นลอดช่อง: กิน – เนือ้ เยอะ

กลุม่ พืชมีดอก (Flowering plant)  แมงกะพรุ นหนัง: กิน


 เรือรบโปรตุเกส/หมวกอุศเรน: พิษแรงมาก
o วิวฒ
ั นาการสงสุดในกลุม่ พืช: ราก-ลาต้น-ใบ แท้จริง
 แมงกะพรุ นกล่อง/ต่อทะเล: พิษแรงมาก
 Seagrass (หญ้าทะเล)
 Sea anemone: polyp
 คล้ายหญ้าบก: ปรับตัวเพื่ออยูใ่ นทะเล e.g. ลดปากใบ
 ปะการังแข็ง (stony coral): polyp
 ไทยมี 13 ชนิด
สร้างหินปูนเป็ นโครงร่างคา้ จุนร่างกาย
หญ้าต้นสน: ผักดอง (PH, ID)

สาหร่ายเซลล์เดียวในเนือ้ เยื่อ (zooxanthellae): ให้


 พะยูน: ตัวกินหลัก

สี, ผลิตอาหาร 70-80% ของที่ตอ้ งการ


 เกาะลิบง อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม ตรัง: แหล่งหญ้า
 Staghorn coral
ทะเลใหญ่ที่สดุ ในไทย
 Cauliflower coral
 Mangrove forest (ป่ าชายเลน/ป่ าโกงกาง)
 Brain coral
 รากคา้ จุน: เลน – ให้ลาต้นตัง้ ตรง
 Massive coral
 รากอากาศ: ทราย – ดินสอ/โคน
 Boomerang coral
 กุง้ กุลาดา
 Mushroom coral
 กุง้ แชบ๊วย
 ปะการังอ่อน (soft coral): ไม่มีโครงสร้างหินปูนข้างใน
 ปูดา/ปูทะเล
นา้ ลึก
 ปูแสม
 กัลปั งหา (sea fan): โครงสร้างโปรตีน
 ลิงแสม
 Red coral: โครงร่างแข็ง หินปูนหนาแน่นมาก นา้ ลึก-
 ต้นจาก: บอกจุดเชื่อมระหว่างนา้ จืด-นา้ ทะเล – ลูกจาก
เย็น
 ต้นตาด/ต๋าว/ฉก: อยูบ ่ นบก – ลูกชิด
 Coral reef: บริเวณที่มีปะการังขึน้ อยูร่ วมกันหนาแน่น
สัตว์ทะเล (Sea animals)
เป็ นเวลานาน
สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง (Invertebrate)  พบเฉพาะเขตร้อน-อบอุน่ ของโลก
o สัตว์หลายเซลล์กลุม่ แรกๆ ทีเ่ กิดขึน้ บนโลก  Coral triangle (SEA-Oceania): ความหลากหลาย
 กลุม่ ฟองนา้ (Sponge) ของสิง่ มีชีวติ ในทะเลมากที่สดุ ในโลก
 รู พรุ นทั่วตัว: เครือ่ งกรองนา้ แห่งท้องทะเล  ปฐมพยาบาลเมื่อถูกพิษแมงกะพรุ น
 ฟองนา้ ครก (Barrel sponge): กลุม ่ ฟองนา้ ขนาดใหญ่  หลีกเลีย่ งการขัดถู
ที่สดุ ในโลก  ล้างด้วยนา้ ส้มสายชู 30s: ไม่มีนา้ ส้ม – แช่นา้ อุน่
 Venus flower basket: โครงร่างใยแก้วสานกัน 30-90 min
 Wedding shrimps:  เอาหนวด/เมือกออก
 ฟองนา้ ถูตวั (Bath sponges): มีเฉพาะเส้นใยโปรตีน ไม่  ส่งหาแพทย์
มีหนาม  ห้ามใช้นา้ จืด แอมโมเนีย แอลกอฮอล์
 กลุม่ สัตว์มเี ข็มพิษ (Cnidaria): polyp/medusa  กลุม่ หนอนทะเล
 เข็มพิษ (nematocyst)  หนอนตัวแบน (Flat worms)
 แมงกะพรุ นแผงคอสิงโต: ใหญ่ที่สดุ ในโลก  Planaria: มีทงั้ เพศผู-้ เมียในตัวเดียว
 แมงกะพรุ นไฟอินโดนีเซีย: พิษเยอะ  Fencing flat worm

Fang AE26
ผู้เขียน: canine
เผยแพร่โดย หจก. มอร์ เซอร์วิสเซส
 หนอนตัวกลม (Round worms)  เพรียงคอห่าน (Goose barnacle)
 พยาธิอนิสซาคิส (Anisakis simplex)  กัง้ ตัก๊ แตน (Mantis shrimp)
 พบในปลาทะเลเขตอบอุน่ -ร้อน  Spear hand: ใช้ลา่ เหยื่อ (ปลา) คล้ายเคียว –
 โต-วางไข่ในคนไม่ได้ คล้ายของตั๊กแตนตาข้าว
 ชอนไชผ่านเนือ้ เยื่อ-ลาไส้  Smasher hand: แบบค้อนทุบ ใช้ลา่ เหยื่อ (หอย/ปู)
 สารเคมีก่อให้เกิดอาการแพ้  ดวงตาพัฒนาที่สดุ ในกลุม่ arthopods
 วิธีปอ้ งกัน  แมลงสาบทะเล (Isopod)
 กินสุก  เหาลิน้ ปลา esp. ในปลาทู: สุกแล้วกินได้
 60ºC 5min  กุง้ (Shrimp/Prawn – เรียกได้ทงั้ คูไ่ ม่มีความแตกต่าง)
 กินดิบ  กุง้ กุลาดา (Giant tiger prawn)
 -35ºC 15hr  หนึง่ ในกุง้ ที่ใหญ่ที่สดุ ในโลก
 -20ºC 7d  กุง้ แชบ๊วย (Banana prawn)
 ฉลากระบุกินดิบได้  ไม่สามารถเพาะเลีย้ งได้
 หนอนปล้อง (Segmented worms)  กุง้ ขาวแวนนาไม (White leg prawn)
 ไส้เดือนทะเล/แม่เพรียง/เพรียงเลือด/เพรียงทราย  Alien species
(polychaete)  กุง้ ก้ามกราม/กุง้ แม่นา้ (Giant river prawn)
 ฝังตัวอยูใ่ นพืน้ ทราย  กุง้ นา้ จืด
 อาหารสัตว์นา้ จาพวกกุง้ : ฟาร์มกุง้  วางไข่นา้ กร่อย
 บุง้ ทะเล (Bristle worms)  ก้ามต่างจากกุง้ ทะเล
 หนอนถั่ว (Peanut worms)  กุง้ ดีดขัน (Snapping/pistol shrimp)
 หนอนท่อ  ก้ามข้างนึงใหญ่กว่า
 หนอนฉัตร  ปลาบู-่ กุง้ ดีดขัน: symbiotic relationship
 หนอนริบบิน้ (Ribbon worms)  ล็อบสเตอร์ (Lobster): กึ่งกุง้ กึง่ ปู
 ตัวค่อนข้างแบน  Marine/American lobster
 สัตว์ที่มีความยาวมากที่สดุ ในโลก  ก้ามแบน แผ่ใหญ่
 งวง (probosic): กาวเหนียว – จับเหยื่อ/กวาดทราย  กุง้ หัวโขน/กุง้ มังกร (Spiny lobster)
 กลุม่ สัตว์ขาปล้อง (Arthopods)  กัง้ กระดาน (Slipper lobster)
 แมงดาทะเล (Horse shoe crab)  ปู (Crab)
 Living fossil  ปูเสฉวน (Hermit crab)
 ตัวผูเ้ กาะตัวเมียจนถึงฤดูผสมพันธุ์  คล้ายปู แต่ไม่ใช่ปจู ริงๆ
 แมงดาจาน/แมงดาหางเหลีย่ ม: ไม่มีพิษ  ปูมะพร้าว/ปูขโมย (Coconut crab)
 แมงดาถ้วย/แมงดาหางกลม: มีพิษบางฤดู –  ในไทยโดนกินจนสูญพันธุไ์ ปแล้ว
หลีกเลีย่ งการบริโภค  ปูมา้ (Blue swimming crab)
 เพรียงหิน (Rock barnacle)  ว่ายนา้ เก่ง: เปลือกบาง+เบา
 ฐานยึดติดกับหิน/พืน้ แข็ง: เคลือ่ นที่ไปไหนไม่ได้  ปูทะเล (Giant mud crab)
 แผ่นหินปูนประกบเป็ นปล่อง  หาดเลน
 สัตว์ที่อวัยวะเพศยาวที่สดุ ในโลกเมื่อเทียบกับ  เปลือกหนัก-หนา ก้ามหนัก
ขนาด/สัดส่วนตัว  จับปิ ้ง: ดูเพศปู

Fang AE26
ผู้เขียน: canine
เผยแพร่โดย หจก. มอร์ เซอร์วิสเซส
 นมปู: มีเพรียงถั่วงอก – ไม่ใช่ปรสิต สุกแล้วกินได้  หอยฝาเดียว
 ปูไก่/ปูบก (Land crab)  การเวียนของหอย
 ป่ าชายหาด
 อาศัยแค่ความชืน้ แทบไม่ตอ้ งลงนา้ เลย
 Christmas Island red crab
 อาศัยอยูบ่ นภูเขา
 อพยพลงมาวางไข่ที่ทะเล
 กลุม่ หอยและหมึก (Mollusk)
 หอยสองฝา
 เปลือกประกบกันพอดีเฉพาะตัวมันเอง
 หอยแมลงภู่ (Green mussel)
 Byssus ขนหอย: ยึดเกาะกับวัตถุตา่ งๆ
 เลีย้ งแบบแพเชือก
 หอยแครง (Blood cockle)  หอยสังข์ (Shankla/Conch shell)
 เลือดแดง: hemoglobin แทนทีจ่ ะเป็ น  พราหมณ์
hemocyanina เหมือนหอยทั่วไป (เลือดฟ้า-ไม่  เชื่อว่าเป็ นสัตว์ศกั ดิส์ ทิ ธิ์จากการกวน
มีส)ี – จับ O2 ดี (อาศัยในที่ไม่มี/มี O2 น้อย) เกษียรสมุทร
 นาหอยแครง: ดินเลน  หอยชักตีน (Conch shell)
 ปูถ่วั : ปรสิตในหอย – สุกแล้วกินได้ไม่อนั ตราย  หอยหวาน/หอยตุ๊กแก (Buccinid whelk)
 หอยคราง  แพง – เลีย้ งยาก
 ใหญ่กว่าหอยแครง  รสชาติดี
 มีขนบนเปลือก  ขอบมน
 เนือ้ เหนียว  มีลาย 3 แถวเรียงเป็ นระเบียบ
 หอยจอบ/หอยซองพลู (Pen shell)  หอยหมาก
 ใหญ่ ฝังในพืน้ ทราย  ถูกกว่า – เพาะเลีย้ งมากกว่า
 เอ็นกินได้  ขอบเป็ นเหลีย่ มมุม
 Noble pen shell @ Mediterranean sea  ลายไม่เป็ นระเบียบ
 Byssus: เอามาทอเป็ นงานหัตถกรรม  หอยเป่ าฮือ้ /หอยโข่งทะเล/หอยร้อยรู (Abalone)
 โดนกรดมะนาวเป็ นสีเหลืองทอง  หอยตาวัว/หอยอูด (Turban shell)
 หอยมุก (Pearl oyster)  ฝาปิ ดหอยตาวัว (Cat’s eye)
 ชัน้ มุกเคลือบหอยหนามาก  หอยเบีย้ จั่น (Money cowry)
 มุก: หอยสร้างสารเคลือบสิง่ แปลกปลอมที่เข้า  ใช้แทนเบีย้ สมัยก่อน
ไป ไม่ให้ระคายเคือง  มัลดีฟส์: แหล่งผลิตหอยเบีย้ ส่ง
 มุกธรรมชาติ: รูปร่างตามสิง่ ที่เข้าไป  หอยเต้าปูน (Cone shell)
 หอยมือเสือ (Giant clam)  ฉมวกพิษในงวง: พิษแรงมาก – ล่าปลาเป็ น
 หอยสองฝาขนาดใหญ่ที่สดุ ในโลก อาหาร
 มีสาหร่ายเซลล์เดียวสังเคราะห์แสง=อาหาร  ทากทะเล (Sea slug)
 วิวฒ
ั นาการจากหอยฝาเดียว: สลัดฝา

Fang AE26
ผู้เขียน: canine
เผยแพร่โดย หจก. มอร์ เซอร์วิสเซส
 กินสัตว์เข็มพิษ: เก็บมาใช้เอง  เม่นหัวใจ (Heart urchin)
 Clione/Sea angle  เหรียญทะเล/อีแปะทะเล (Sand dollar/Sea cookie)
 ทะเลลึก  เม่นดอกไม้ (Flower urchin)
 นา้ เย็นจัด  ปลิงทะเล (Sea cucumber)
 หมึกทะเล  เปลือกหินปูนบางๆ
 วิวฒ
ั นาการสูงสุดในกลุม่ mollusk  เครือ่ งดูดฝุ่ นแห่งท้องทะเล: อาหาร=เศษตะกอน
 ตา  Pearlfish
 สมองเรียนรู-้ แก้ปัญหา  เข้าไปอยูใ่ นรูทวารของปลิงทะเลตอนกลางวัน
 หอยงวงช้าง (Chambered nautilus) รอหากินกลางคืน
 หมึกโบราณ สัตว์มีกระดูกสันหลัง (Vertebrate)
 ทะเลลึก
o Backbone/skull/eyes
 ประมาณ ammonite
 ปลา (Fishes)
 เปลือกหนาแต่ลอยนา้ : ช่องแก๊ส – model เรือ
 วิวฒั นาการเริม่ ต้นของพวก chordates
ดานา้
 ปลาปากกลม (Cyclostomes/Lawless fished)
 หมึกกล้วย/หมึกศอก
 ช่องเหงือก >1 ช่อง
 หมึกหอม
 ไม่มีขากรรไกร
หมึกกระดอง/หมึกเจาะ (Cuttlefish)
Lamprey

 ลิน้ ทะเล: แกนแข็งมีหินปูน


 Gill slit 7 คู่
 หมึกยักษ์/หมึกสาย/หมึกวุยวาย (Octopus)
 ส่วนใหญ่อยูใ่ นนา้ จืด
 หนวด 8 เส้น
 เป็ นปรสิต
 ภูมิแพ้อาหารทะเลเปลือกแข็ง (Shellfish allergy)
 ปลาไหลเมือก (Hagfish)
 แพ้โปรตีนของสัตว์เปลือกแข็ง
 Gill slit 12 คู่
 อาการเกิดในไม่กี่นาทีหรือเป็ นชั่วโมง
 อยูใ่ นนา้ เค็ม
 ลมพิษ ผื่นคัน
 กินซากสัตว์ที่ตายแล้ว
 บวม
 อยูใ่ นเขตนา้ อุน่ (Temperate zone): ไม่เจอใน
 ปวดคล้ายเข็มทิ่มในปาก
เขตร้อน (Tropical zone)
 ปวดท้อง ท้องเสีย คลืน่ ไส้ อาเจียน
 ปลากระดูกอ่อน (Cartilaginous fishes)
 หายใจลาบาก
 โครงสร้างกระดูกอ่อน
 ชีพจรเต้นเร็ว ช็อก ถึงขัน้ เสียชีวิต
 ช่องเหงือก 5-7 ช่อง
 กลุม่ สัตว์มีหนามตามลาตัว (Echinoderms)
 ไม่มีถงุ ลม: ตับขนาดใหญ่
 หนาม/แผ่นหินปูนเคลือบตามตัว
 กระเบน (Rays)
 เท้าท่อ (tube feet) เป็ นตัวเคลือ่ นที่
 รูปร่างแบนราบ
 การงอกใหม่ (Regeneration)
 ช่องเหงือก-ปากอยูด่ า้ นล่าง: อยูท่ อ้ งนา้
 ดาวทะเล (Sea star/starfish)
 กระเบนนก-กระเบนค้างคาว: กระโดด –
 ดาวมงกุฎหนาม (Crown of Thorns starfish)
หนีภยั , กาจัดปรสิตที่เกาะอยูบ่ นร่าง
 เม่นทะเล (Sea urchin)
 กระเบนราหู (Manta ray): ขนาดใหญ่,
 ตายแล้วหนามร่วง
อยูใ่ กล้ผิวนา้ – กรองกินอาหาร
 ไข่หอยเม่น (uni): จากทัง้ ตัวผู-้ เมีย
 Stingray ทิ่ม: แช่นา้ อุน่ – พิษเป็ นโปรตีน
Fang AE26
ผู้เขียน: canine
เผยแพร่โดย หจก. มอร์ เซอร์วิสเซส
 กระเบนไฟฟ้าไม่มี: เป็ น electric organ  ปลาทูนา่ (Tuna)
แทน – หางคนละแบบ  Otoro: ส่วนที่มีไขมันอยู่
 ฉลาม (Shark)  ปลาแซลมอน (Salmon)
 ฉลามขาว (White shark): ดุรา้ ย – ไม่เจอใน  วางไข่นา้ จืด โตในทะเล
ไทย  Facts
 ฉลามเสือ (Tiger shark): เจอ  ในไทยเกือบทัง้ หมด Norway imported
 ฉลามหัวค้อน (Hammerhead shark): เจอ  อดีตญปไม่นิยมกินดิบเพราะปรสิตเยอะ
 ฉลามเสือดาว (Leopard shark): กินหอยสอง – Norway imported
ฝาเป็ นอาหาร – ฉลามใจดี  Norway: กระชังเลีย้ งกลางทะเล
 Basking shark  พฤติกรรมการเปลีย่ นเพศของปลา: สิง่ กระตุน้
 ไม่มีฟัน: กรองกิน  ปลาการ์ตนู (Anemone fish)
 Deep water @ Atlantic ocean  ปลาปะการังจิ๋ว (Basslet, Anthias)
 ฉลามวาฬ (Whale shark)  พฤติกรรมการรวมฝูง (Schooling)
 ปลาขนาดใหญ่ที่สดุ ในโลก  หลายสิบถึงหลายล้านตัว
 ไม่มีฟัน: กรองกิน  ข้อดี
 ปลากฉนาก (Sawfishes)  ลดความเสีย่ งการถูกล่า
 กึ่งฉลาม-กระเบน: เหงือกอยูด่ า้ นล่างเหมือน  เพิ่ม eff การหาอาหาร-ผสมพันธุ-์ ว่ายนา้
กระเบน  สัตว์เลือ้ ยคลาน (Reptiles)
 ปลาโรนิน (Bowmouth guitarfish/Mud  ผิวแห้ง มีเกล็ดปกคลุม
skate/Shark ray)  สวนใหญ่ออกลูกเป็ นไข่-วางไข่บนบก
 มีเกล็ด  ใช้ปอดหายใจตลอดชีวิต
 ปลาโรนัน (Guitarfish)  เต่าทะเล (Sea turtle)
 ไม่มีเกล็ด  หัวหดเข้ากระดองไม่ได้
 ปากแหลมกว่าโรนิน  ขาคูห่ น้าเป็ นใบพายขนาดใหญ่
 ปลากระดูกแข็ง (Bony fishes)  ต่อมขับเกลือ (Salt gland)
 ช่องเหงือก 1 ช่อง  ไม่คอ่ ยขึน้ มาอาศัยบนบก: ยกเว้นตัวเมียตอน
 โครงร่างภายในเป็ นกระดูกทัง้ หมด วางไข่
 ถุงลม (Air bladder)  เต่าทะเลในไทยมี 5 ชนิด
 Selacant 1. เต่าตนุ (Green turtle)
 ปลาปอด (Lung fish) 2. เต่ากระ (Hawksbill turtle)
 ม้านา้ (Seahorse) 3. เต่าหญ้า (Olive Ridley turtle)
 ปลาแสงอาทิตย์ (Sunfish/Molamola)  เต่าชนิดเดียวที่กินหญ้าเป็ นอาหาร
 ปลาที่มีการวางไข่มากที่สดุ ในโลก 4. เต่ามะเฟื อง (Leatherback turtle)
 ปลาริบบิน้ (Oarfish)  เต่าทะเลที่มีขนาดใหญ่ที่สดุ ในโลก
 King of herrings  กระดองเป็ นหนังหนา
 รูปร่างคล้ายพญานาค  ไม่มีเกล็ดที่หวั
 ปลากระดูกแข็งที่มคี วามยาวมากที่สดุ ในโลก  กินปลา, แมงกะพรุนเป็ นอาหาร
5. เต่าหัวค้อน: ไม่คอ่ ยพบ

Fang AE26
ผู้เขียน: canine
เผยแพร่โดย หจก. มอร์ เซอร์วิสเซส
 อุณหภูมิฟักไข่  นกนางนวล (Gull)
 32ºC+ : ตัวเมียทัง้ หมด  นกนางนวลแกลบ (Tern)
 28ºC- : ตัวผูท้ งั้ หมด  นกนางนวลอาร์กติก (Arctic tern): บินอพยพ
 30ºC : 50-50 ขัว้ โลกเหนือ-ใต้
 Effects of climate change  นกอัลบาทรอส (Albatros)
 โลกร้อนขึน้ =ตัวผูเ้ กิดน้อยลง  นกบินได้ขนาดใหญ่ที่สดุ ในโลก
 ตัวเมียผสม: นา้ เชือ้ ไม่พอ=ไข่ฝ่อ  นกเพนกวิน (Penguin)
 จระเข้นา้ เค็ม (Crocodile): ไอ้เขีย้ ม  โครงกระดูกตัน: บินไม่ได้
 ปากเรียวแหลม/ยาวกว่าจระเข้นา้ จืด  ปี กเปลีย่ นเป็ นครีบว่ายนา้ (flippers)
 ไม่มี 4 เกล็ดตรงส่วนหัว  South pole only
 Biggest reptile  สัตว์เลีย้ งลูกด้วยนม (Mammals)
 งูทะเล (Sea snake)  กลุม ่ โลมาและวาฬ (Cetacean, Dolphin and Whale)
 หางเป็ นใบพาย  หายใจด้วยปอด
 ไม่ขนึ ้ บก: ยกเว้นผสมพันธุ-์ วางไข่บางชนิด  รูจมูกบนหัว (Blow hole): 1-2 รู, พ่นลมหายใจ
 กินปลาเป็ นหลัก (blow/spout)
 ส่วนใหญ่เป็ นงูพิษร้ายแรง  ขาหน้าเป็ นใบพาย ขาหลังหายไป
 งูสมิงทะเลปากเหลือง (Sea kraits)  มีหาง: สะบัดบน-ล่าง
 เลือ้ ยขึน้ บกได้  วาฬ vs โลมา
 ออกลูกเป็ นไข่: วางไข่บนบก  โลมา: วาฬมีฟัน ขนาดเล็กกว่า
 งูทะเลท้องเหลือง (True sea snakes)  โลมาทุกชนิดเป็ นวาฬ
 ปรับตัวเพื่ออยูใ่ นทะเลอย่างสมบูรณ์  ชนิดของวาฬและโลมา
 เลือ้ ยขึน้ บกไม่ได้ 1. Baleen whale: แผงกรอง – กรองกิน
 ออกลูกเป็ นตัว  ขนาดใหญ่
 อิกวั น่าทะเล (Marine Iguana)  วาฬสีนา้ เงิน (Blue whale)
 วิวฒ
ั นาการจากอิกวั น่าบก  World’s biggest animal
 Galapagos only  วาฬบรูดา้ (Bryde’s whale): เพชรบุรี
 กินสาหร่ายทะเล
 Salt gland
 สัตว์ปีก (Aves/Birds)
 กระดูกกลวง
 จะงอยปาก
 ไม่มีฟัน: กึ๋น (Gizzard)
 ขาเป็ นเกล็ด
 นกทะเล (Sea bird)
 ใช้ชีวิตส่วนใหญ่อยูใ่ นทะเล: ปรับตัวเพื่ออยูท่ ะเล
 กินสัตว์ทะเลเป็ นอาหาร
 เท้าพังผืด

Fang AE26
ผู้เขียน: canine
เผยแพร่โดย หจก. มอร์ เซอร์วิสเซส
2. Toothed whale: ฟั นแหลมคม – ล่าเหยื่อ
 รวมโลมาด้วย
 โลมาปากขวด (Bottlenose dolphin)
 โลมาหลังโหนก (Hump-backed
dolphin)
 นาร์วาฬ (Narwhal)
 วาฬเพชฌฆาต (Killer whale/Orca)
 วาฬหัวทุย (Sperm whale)
 แบ่งซีกสมองในการนอน
 เกยตืน้ (Stranding)
 กลุม่ พะยูน (Sirenian)
 Sea cow
 กลุม่ พะยูนที่ใหญ่ที่สดุ ในโลก  วอลรัส (Walrus)
 สูญพันธุไ์ ปแล้ว  มีเขีย้ วทัง้ ตัวผู-้ เมีย
 กลุม ่ นากทะเล (Sea otter)
 พะยูน/วัวทะเล (Dugong)
 หมีขวั้ โลก (Polar bear)
 กินหญ้าทะเล
 Manatee o วันทะเลโลก 8 มิถนุ ายน
 Atlantic ocean
 ต่อมนา้ นมตรงรักแร้ อันตรายจากสัตว์ทะเล
อันตรายจากสัตว์ทะเลมีพิษ กัด แทง ต่อย เพื่อปล่อยพิษ
(Venomous animals)
o ฟองนา้ (Sponge)
 อาการบาดเจ็บจากการสัมผัสฟองนา้
 ระคายเคืองจากหนาม (Spicules)
 คัน แสบร้อน เป็ นตุม่ นา้
 บาดเจ็บจากสารพิษ crinotoxin: ฟองนา้ ไฟ (fire
sponges)
 กลุม่ แมวนา้ (Seals)  ระคายเคือง ผิวหนังอักเสบ
 มีกระดูกขาทัง้ 4 ข้าง  การปฐมพยาบาล

 แมวนา้ (True seal)  ล้างบริเวณที่สมั ผัสโดน: ใช้นา้ ทะเลล้าง


 มีแต่รูหู ไม่มีใบหู  เอา spicules ออก: เทปกาว/บัตรพลาสติกขูด
 Harp seal พรางตัวกับหิมะ  ประคบเย็นบรรเทาอาการปวด
 แมวนา้ เสือดาว (Leopard seal): กินเพนกวิน  ยาต้านฮิสตามีน (antihistamine)/ สเตียรอยด์
เป็ นอาหารหลัก (corticosteroids): กรณีอกั เสบรุนแรง
 แมวนา้ ช้าง (Elephant seal) o กลุม่ สัตว์มเี ข็มพิษ (Cnidaria)
 สิงโตทะเล (Eared seal)  กะเปาะเข็มพิษ (Nematocyst)

 ใบหูเล็กๆ  Cnidocil: ไกจับสัมผัสในการยิงเข็มพิษ

Fang AE26
ผู้เขียน: canine
เผยแพร่โดย หจก. มอร์ เซอร์วิสเซส
 แมงกะพรุน (Jellyfish)  การปฐมพยาบาล: เน้นการยับยัง้ การปล่อยพิษเพิ่ม –
 แมงกะพรุนถ้วย/แมงกะพรุนพระจันทร์ (Moon พิษจาพวกโปรตีน
jellyfish): พิษอ่อน  หลีกเลีย่ งการถู/ขยี ้
 แมงกะพรุนไฟ (Sea nettle): พิษปานกลาง-แรง  ล้างด้วยนา้ ส้มสายชู 30s
 แมงกะพรุนเรือรบโปรตุเกส/แมงกะพรุนขวดเขียว  เสานา้ ส้มสายชู
(Portuguese Man-of-War, Blue Bottle): พิษแรง  ห้ามใช้นา้ จืด/แอมโมเนีย/แอลกอฮอล์
 กล้ามเนือ้ ชักเกร็ง  ถ้าไม่มีนา้ ส้ม: นา้ อุน่ ที่สดุ ที่ทนได้ 30-90 mins
 อัมพาต  นาหนวด-เมือกที่ยงั เหลือออก: ขูดเบาๆ
 หัวใจวาย  ส่งหาหน่วยแพทย์
 แมงกะพรุนกล่อง/จอกแก้ว/สาโหร่ง (Box o บุง้ ทะเล (Fire worms)
jellyfish/Sea wasp): กลุม่ มีพษิ รุนแรงที่สดุ ในโลก  ตุม ่ นา้ ผื่นคัน
แต่ไม่ได้อนั ตรายทุกชนิด  การปฐมพยาบาล
 พบมากในออสเตรเลีย  ใช้แหนบดึงขนออกให้ได้มากที่สดุ
 ยิ่งหนวดเยอะยิ่งพิษแรง  ปฐมพยาบาลตามอาการ
 เจ็บปวดแผลอย่างแรง  แช่นา้ อุน่ 30-60 mins
 คลืน่ ไส้ o เม่นหนามดอกไม้ (Flower urchin)
 กระสับกระส่าย  อยูต ่ ามพืน้ กรวด
 กล้ามเนือ้ อ่อนแรง  เขีย้ วพิษ (Pedicellaria)
 กล้ามเนือ้ หน้าท้อง, หลังเกร็ง o ดาวมงกุฎหนาม (Crown-of-thorns starfish)
 หัวใจเต้นผิดจังหวะ/หัวใจวาย  สารพิษในหนาม
 นา้ ท่วมปอด  เลือดแตก ไม่หยุดไหล
 ตาข่ายป้องกัน  อักเสบ ปวดแสบปวดร้อน
 แมงกะพรุนอิรุคนั จิ (Irukandji jellyfish)  แบคทีเรีย
 ตัวเล็กมาก  การปฐมพยาบาล
 อาการเกิดภายใน 5-120 mins o หมึกสายวงฟ้า (Blue ring octopus)
 ชีพจรเต้นเร็ว  พิษในต่อมนา้ ลาย
 เหงื่อแตก ใจสั่น  Tetrodotoxin (TTX): ไม่ถกู ทาลายด้วยความร้อน
 ความดันสูงมากจนอาจมีเลือดออก จากการปรุงอาหารธรรมดา
 นา้ ท่วมปอด  อัมพาต
 กล้ามเนือ้ เกร็งอย่างรุนแรง  วงฟ้าทั่วตัว: ระวังหลอนกับวง ocellus ของหมึกสาย
 แตนทะเล: ตัวอ่อนสัตว์มีพษิ พวกแมงกะพรุน บางชนิด
 ผื่นคัน (Seabather’s eruption) o หอยเต้าปูน (Cone shell)
 ขนนกทะเล/ไฮดรอย (Hydroid): พิษอ่อน-ปานกลาง  ฉมวกพิษ
 เจอแถวสะพาน/ทุน่  อัมพาต ชา
 ปะการังไฟ (Fire coral): พิษอ่อน-ปานกลาง o ปลากระเบน (Stingray)
 ดอกไม้ทะเล (Sea anemone): พิษอ่อน  หนามที่โคนหาง: เกือบทุกชนิด
 ผื่นแดงคัน ตุม่ นา้ พุพอง o ปลาหิน/ปลากะรังหัวโขน (Stonefish)
 เงี่ยงแข็ง+นา้ พิษ

Fang AE26
ผู้เขียน: canine
เผยแพร่โดย หจก. มอร์ เซอร์วิสเซส
o ปลาสิงโต (Scorpion fish) อันตรายจากการบริโภคสัตว์ทะเลที่มีพิษ (Poisonous
 ถุงนา้ พิษ animals)
o ปลาขีต้ งั เป็ ด (Surgeon fish) o ปลาปั กเป้า (Puffer fish)
 หนามพิษตรงโคนหาง  พิษในเครือ่ งใน เลือด esp. รังไข่
o ปลาดุกทะเล/ปลาปิ่ นแก้ว (Eel catfish)  Tetrodotoxin, TTX
 เงี่ยง 3 เงี่ยง  ทาลายเซลล์ประสาท
 พิษกระเบน  ชาปาก ลิน้ ใบหน้า
o งูทะเล (Sea snake)  ท้องเสีย อาเจียน
 พิษทาลายกล้ามเนือ้  กล้ามเนือ้ เป็ นอัมพาต
 ปั สสาวะสีดา  ระบบหายใจ-หัวใจล้มเหลว
 ไม่มีเซรุ ม ่  พิษทนความร้อน 220ºC: ไม่มียาแก้พิษ
อันตรายจากสัตว์ทะเลทาร้าย (Injurious animals)  ปลาเนือ้ ไก่: ปั กเป้าชนิดหนึง่

o เม่นทะเลหนามดา (Sea urchin)  ปั กเป้าหลังนา้ ตาล: ไม่มีพิษ – เอามาบริโภค


 หนามแหลมแต่เปราะ: เป็ นหินปูน
 ทิง้ หนัง, เครือ่ งใน
 บดหนามเบาๆ จะย่อยสลายไปเอง  ล้างเนือ้ ให้สะอาด
o เพรียงหิน (Rock barnacle)  ถ้าเครือ่ งในแตก, โดนเลือด ไม่ควรบริโภค
 โดนขูด-ถาก
 ปั กเป้าหลังเขียว: มีพิษ – หน้าตาคล้ายๆ กัน
o ฉลาม o แมงดาทะเล (Horseshoe crab)
 บางชนิดมี TTX หรือ taxitoxin
 คนกลัวเพราะ Jaws(1975): คนตายเพราะฉลามจริงๆ
 แมงดาจาน: หางเหลีย่ ม – ไม่มีพษ ิ
มีแค่นิดเดียว (6 คน (2015))
 แมงดาถ้วย: หางกลม – อาจจะมีพิษ (สะสมพิษตาม
 วิธีหลีกเลีย่ งปลาฉลาม
 เชื่อป้ายคาเตือนอย่างเคร่งครัด ฤดูกาล)
 อยูไ่ ม่ไกลชายฝั่ง  เหรา: แมงดาถ้วยตาสีแดง+มีขน – เป็ นลักษณะผัน
 ไม่ใส่เครือ่ งประดับสะท้อนแสง: ฉลามเข้าใจว่าเป็ น แปรเฉยๆ อาจจะมีพษิ เหมือนกัน
ปลา o ปูใบ้ (Xantid crabs)
 ปูใบ้ตาแดง: พิษแรง – TTX
 หลีกเลีย่ งการลงนา้
 ปูใบ้ลาย: พิษแรง
 เช้าตรู-่ ค่า: เวลาหาอาหาร
 ปูใบ้กา้ มดา/ปูใบ้กา้ มโต: ไม่มีพิษ – บริโภค
 ทัศนวิสยั ไม่ดี
 นา้ ขุน่
 เลือด ฉี่ การเคลือ่ นไหวรุนแรง กระตุน้ ฉลามได้ ปรากฏการณ์ ภัยพิบตั ิ และผลกระทบจากมนุษย์
o ปลาสาก/ปลานา้ ดอกไม้ (Barracuda) ปรากฏการณ์และภัยพิบัตทิ างธรรมชาติ
o ปลาหลดหิน/ปลาไหลมอเรย์ (Moray eel) การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate change)
 หายใจทางปาก
o การเปลีย่ นแปลงใดๆ ของสภาพอากาศซึง่ เกิดจากกิจกรรม
 มีฟัน 2 ชุด
ของมนุษย์ ทาให้สว่ นประกอบของบรรยากาศโลก
o ปลาเต็กเล้ง/ปลากระทุงเหว (Needlefish)
เปลีย่ นแปลงไป นอกเหนือจากการเปลีย่ นแปลงโดย
 ปากเป็ นกระดูกแข็ง
ธรรมชาติในช่วงเวลาเดียวกัน
o ปลาวัวหน้าลาย/ปลาวัวไททัน (Titan triggerfish)
o ปลากระเบนไฟฟ้า/ปลาเสียว (Electric rays)

Fang AE26
ผู้เขียน: canine
เผยแพร่โดย หจก. มอร์ เซอร์วิสเซส
 ก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse gases)  ปะการังฟอกขาว (Coral bleaching)
 ไอนา้  อุณหภูมินา้ ทะเลสูงขึน้ : จากเอลนีโญ
 CO2  การเปลีย่ นแปลงความเค็มของนา้ ทะเล
 CH4  ปริมาณตะกอนเพิ่มขึน้
 N2O  มลพิษทางทะเล
 O3  ทะเลกรด (Ocean acidification)
 CFCs  pH 8.0-8.1  7.8-7.9
 ปรากฏการณ์ทางภัยพิบตั ิทางธรรมชาติ  ละลายเปลือกโครสร้างหินปูน
 การแปรปรวนของสภาพอากาศ  Sperm อ่อนแอลง, ไข่ฝ่อ: ตัวอ่อนลดลง
 ฤดูกาลเปลีย่ นแปลง
 ปริมาณฝนเปลีย่ นแปลง
 พายุรุนแรง: ยิ่งร้อนยิ่งรุนแรง
 เกิดภัยธรรมชาติบอ่ ยครัง้ ขึน้
 การเพิม ่ ขึน้ ของอุณหภูมินา้ ทะเล

 เอลนีโญ (El Nino ) – ลานีญา (La Nina)


 มหาสมุทรแปซิฟิกเขตร้อน

 ถ้าถึง 2ºC จะเป็ น Point of no return


 การเพิม่ ขึน้ ของระดับนา้ ทะเล
คลืน่ สึนามิ (Tsunami)
o Out of control

 สิง่ มีชีวิตในทะเลปรับตัวไม่ทนั
 การละลายของธารนา้ แข็งและแผ่นนา้ แข็งทั่วโลก
 การขยายตัวของนา้ ทะเล (Thermal expansion)

Fang AE26
ผู้เขียน: canine
เผยแพร่โดย หจก. มอร์ เซอร์วิสเซส
ปรากฏการณ์นา้ ทะเลเปลีย่ นสี (Red tide)  การสร้างเขื่อน/ฝาย/อ่างเก็บนา้
o ธาตุอาหารในนา้ ทะเลเข้มข้นเกินสมดุล+ความเข้ม  การทาลายปราการธรรมชาติ
แสงอาทิตย์  ป่ าชายเลน
o Phytoplankton blooming  ป่ าชายหาด
 กิจกรรมของมนุษย์จากแผ่นดินและชายฝั่ง  แหล่งหญ้าทะเล
 การเกษตร  แนวปะการัง
 อุตสาหกรรม esp. อุตสาหกรรมนา้ ตาล  การท่องเที่ยว
 ชุมชน: ฟอสเฟต  Ghost fishing
 การเพาะเลีย้ งชายฝั่ ง  การขุดทราย
 การชะล้างดินตะกอนจากแผ่นดิน  การสูบนา้ บาดาล
 ผลกระทบจากการตัดไม้ทาลายป่ า  การสร้างโครงสร้างป้องกันการกัดเซาะ
 ผลกระทบ  หาดแสงจันทร์
 Seaweed blooming: แนวปะการัง ภาวะนา้ มันรั่วไหลในทะเล (Oil spill)
 Oxygen depletion o นา้ มันดิบ/ก๊าซธรรมชาติ
ภัยทางทะเล และผลกระทบจากมนุษย์  สาเหตุการรั่วไหลของนา้ มัน
การกัดเซาะชายฝั่ง (Coastal erosion)  รั่วไหลจากแท่นขุดเจาะ
 รั่วไหลจากท่อส่งนา้ มัน
o Sediment budget
 การแก้ไขนา้ มันรั่ว
 ให้ธรรมชาติจดั การเอง: ดีสดุ แต่นานสุด
 เผาทิง้
 ทุน ่ กันแล้วตักออก
การรุกรานของชนิดพันธุต์ า่ งถิ่น (Alien/Invasive species)
 สาเหตุ
 นา้ อับเฉาเรือ (Ballast tank water)

 สาเหตุการกัดเซาะชายฝั่ง
 กระบวนการธรรมชาติ
 ลักษณะทางกายภาพของชายฝั่งทะเล
 อ่าวปิ ด < ทะเลเปิ ด
 slope
 กระแสนา้ คลืน่
 ลมมรสุม พายุ  ตลาดนัดสัตว์ทะเล
 ระดับนา้ ทะเลสูงขึน้  ผลกระทบ
 Climate change  ฆ่า Native species
 กิจกรรมของมนุษย์  แย่งอาหาร-แหล่งที่อยูอ่ าศัย
 การพัฒนาโครงสร้างขนาดใหญ่
 การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
Fang AE26
ผู้เขียน: canine
เผยแพร่โดย หจก. มอร์ เซอร์วิสเซส
การปนเปื ้อนของสารพิษในอาหารทะเล
o ยาฆ่าหญ้า-แมลง (Pesticide)
 พิษเฉียบพลัน
 ปวดหัว มึนงง
 คลืน่ ไส้ อาเจียน
 เจ็บหน้าอก ปวดกล้ามเนือ้
 เหงื่ออกมาก
 ท้องร่วง เป็ นตะคริว
 หายใจติดขัด
 มองเห็นไม่ชดั
 ตาย
 พิษเรือ้ รัง (สะสม)
 หมัน เสือ่ มสมรรถภาพทางเพศ
 อัมพฤต อัมพาต
 มะเร็ง
o โลหะหนัก (Heavy metal)
 โลหะที่มีความถ่วงจาเพาะมากกว่านา้ 5 เท่าขึน้ ไป
 สลายตัวช้า: สะสมในสิง่ แวดล้อมนาน
 มินามาตะ: ปรอท
o สารประกอบไฮโดรคาร์บอน (Hydrocarbon compound)
 นา้ มันดิบ
o ฟอร์มาลิน (Formalin)
 นา้ แข็ง: เรือประมง/ตลาดปลา

ปั ญหาขยะทะเล (Marine Debris)


o แพขยะ
o 2010: ไทยอันดับ 6
o The Great Pacific Garbage Patch
 แพขยะพลาสติกขนาดใหญ่ลอยอยูใ่ นมหาสมุทรแปซิฟิก
 ขนาดใหญ่กว่าไทยเกิน 2 เท่า
 กาจัดไม่ได้
o 80% มาจากขยะบนบก
การประมงที่ผิดกฎหมาย การท่องเที่ยวทางทะเล และการ
คมนาคมขนส่งทางทะเล

Fang AE26
ผู้เขียน: canine
เผยแพร่โดย หจก. มอร์ เซอร์วิสเซส

You might also like