You are on page 1of 123

ั่ ทดลองทำ ธรณีวท

เวอร์ชน ิ ยา
พม่า
ปรับปรุงตรงไหนก็ได ้นะ รกหน่อยก็ขออภัย
ข้ อมูลทางภูมิศาสตร์ คร่าว ๆ เกี่ยวกับสหภาพเมียนมาร์
• สามารถแบ่งลักษณะพื ้นที่คร่าว ๆ ออกเป็ น 5 พื ้นที่ ได้ แก่

• 1. ชายฝั่ งทางตะวันตก

• เป็ นชายฝั่ งติดกับอ่าวเบงกอล (Bay of Bengal) และแนวเทือกเขาอาระกันโยมา (Arakan Yoma) มีแม่น้ำสายสันไหลจากเทื


้ อกเขาอาระกันโยมาลงสูอ่ า่ วเบงกอล

• 2. เทือกเขาสูงทางเหนือและทางตะวันตก

• ระดับความสูงประมาณ 450 ถึง 3,650 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง เป็ นเทือกเขาอาระกันโยมา และเทือกเขานากะ ทัง้ 2 เทือกเขานันได้
้ รับอิทธอพลจากรอยเทือกเขานันได้
้ รับอิทธิพลจากรอยเลื่อนย้ อนมุมต่ำ (Thrust
fault)

• 3. ที่ราบภาคกลาง

• เป็ นที่ราบลุม่ แม่น้ำของแม่น้ำอิระวดีและแม่น้ำสะโตง ซึง่ ถูกขนาบด้ วยรอยเลื่อนขนาดใหญ่ทงสองด้


ั้ าน และเป็ นบริเวณที่เกิดแผ่นดินไหวบ่อยครัง้ ระดับความสูงไม่เกิน 450 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง มีเทือกเขาเตี ้ย ๆ

• 4. ที่ราบสูงฉาน

• อยู่ทางตะวันออกของประเทศ อยู่ในเขตรัฐฉาน, รัฐกะยา และบางส่วนของรัฐกะยิน มีระดับความสูงระหว่าง 450 ถึง 3,650 เมตรจากระดับน้ำทะเล (ระดับความสูงเฉลี่ย 900 เมตรจากระดับน้ำปานกลาง มีแม่น้ำสาละวิน

• 5. พื ้นที่ทางภาคใต้

• ครอบคลุมพื ้นที่บริ เวณแม่น้ำเมยจนถึงแหลมวิคตอเรี ย เป็ นแนวเทือกเขาตะนาวศรี ระดับความสูงระหว่าง 0 ถึง 3,650 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง ชายฝั่ งเว้ าแหว่งและมีเกาะแก่งมากมาย มีแม่น้ำเมย , แม่น้ำตะนาวศรี
แผนทีภ
่ ม
ู ป
ิ ระเทศ
ของประเทศพม่า แผนทีก่ ารแบ่งเขตทาง
ธรณีวท
ิ ยาของ
ประเทศพม่า

ภาพจาก A Preliminary Synthesis of


ภาพจาก Evers, Mariele & Taft, the Geological Evolution of Burma
Linda. (2016). A review of current with Refernce to the Tectonic
and possible future human-water Development of Southeast Asia
dynamics in Myanmar’s river Geol. Soc. Malaysia Bulletin 6,July
basins. Hydrology and Earth 1973;pp. 87-116 โดย Maung Thein
System Sciences. 2016.
• กลุม่ รอยเลื่อนเทือกเขาอินโด-พม่า (Indo-Burman Ranges Fault Zone) เป็ นรอยเลื่อน ย้ อนกลับทิศตะวันออกของเทือเขาซึง่ เป็ นแนวยาวในทิศเหนือ-ใต้
จนถึงลุม่ น้ำอิระวดีฝั่ง เป็ นรอยเลื่อนมีพลัง

• กลุม่ รอยเลื่อนสะเกียง-ปานหลวง-ตวงกุย (Sagaing-Panlaung-Tuanggui Fault Zone) เป็ นรอยระนาบขวาเข้ าครอบลุมพื ้นที่ตงแต่


ั ้ ฝั่งตะวันออกของ
แม่น้ำอิระวดีซงึ่ ครอบคลุมพื ้นที่สว่ นใหญ่ของที่ราบลุม่ ภาคกลางของพม่าจนถึงฝั่ งตะวันตกของแม่น้ำสะโตง

• กลุม่ รอยเลื่อนแม่สะเรี ยง-แม่ปิง-ด่านเจดีย์สามองค์ (Mae Sariang-Mae Ping-Three Pagoda Fault Zone) วางตัวทางด้ านตะวันตกของ
ประเทศไทย วางตัวในแนวตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต้ จากข้ อมูลแผ่นดินไหวพบว่ามีขนาด เล็กและเกิดเป็ นกระจุกในเขตประเทศพม่า
แผนทีเ่ ขตแนวรอย
แผนทีก ่ ารแบ่งเขต แผนทีเ่ ขตแนวรอย
เลือ ่ ำค ัญใน
่ นทีส
ภูมป
ิ ระเทศของ เลือ ่ ำค ัญใน
่ นทีส
ประเทศพม่า
ประเทศพม่า ประเทศพม่า

ภาพจาก ธรณีวิทยาเอเซียตะวันออกเฉียง ภาพจาก Myanmar


ใต้ (Geology of SE Asia) ปั ญญา Gold Geology Report
จารุศิริ สัน อัศวพัชร สุวภาคย์ อิ่มสมุทร Collection by Myo
กิตติ ขาววิเศษ สันติ ภัยหลบลี ้ Aung Ex-Exploration
Geologist
แผนทีธ
่ รณีวท
ิ ยาของพม่า
ภาพจาก Geology of
Myanmar KYAW
KYAW OHN
ภาพจาก Metcalfe, I.. (2017). Tectonic
evolution of Sundaland. Bulletin of
the Geological Society of Malaysia. 63.
27-60.
ภาพจาก Geology of
Myanmar by KYAW
KYAW OHN
ภาพจาก Shi, Guanghai & Harlow,
George & Wang, Jing & Wang, Jun
& Enoch, NG & Wang, Xia & Cao,
Shu & Enyuancui, W. (2012).
Mineralogy of jadeitite and
related rocks from Myanmar: A
review with new data. European
Journal of Mineralogy. 24. 345-
370.
ภาพแสดงแอ่งสะสม
่ ำค ัญของ
ตะกอนทีส
ประเทศพม่า

ภาพจาก A Preliminary Synthesis of


the Geological Evolution of Burma
with Refernce to the Tectonic
Development of Southeast Asia
Geol. Soc. Malaysia Bulletin 6,July
1973;pp. 87-116 โดย Maung Thein
ั้ นทีส
แผนภาพภาพแสดงลำด ับชนหิ ่ ำค ัญ
ของประเทศพม่า

ภาพจาก A Preliminary Synthesis of the


Geological Evolution of Burma with Refernce to
the Tectonic Development of Southeast Asia
Geol. Soc. Malaysia Bulletin 6,July 1973;pp. 87-
116 โดย Maung Thein
• หินยุคพรีแคมเบรียนในประเทศพม่า
มีชอื่ เรียกว่าหินโมก๊อก สว่ นมากเป็ นหินแปรเกรดสูงหรือหินอัคนีสเี ข ้ม หินแปร
เชน่ หินไนสซ ์ งึ่ ปะปนกับหินมิกมาไทต์ หินไนสเ์ หล่านีว้ างตัวอยูใ่ ต ้หินจําพวกหิน
อ่อน , หินแคลก์ซล ิ เิ กต , หินแกรนูไลต์ , หินควอรตไซต์ เป็ นฐานหินของพม่า
(Burma basement) Bender (1983) ให ้อาณาเขตของหินยุคนีก ้ ว ้างถึง 130
กิโลเมตร อายุของหินโมก๊อกยังไม่ชด ั เจนว่ามีอายุเท่าไหร่ หินโมก๊ อกเป็ นหินแปรซึง่ เป็ นแหล่งกำเนิดของ
ทับทิมและแซปไฟร์ ที่มีคณ
ุ ภาพระดับโลก โดยหลักเป็ นหินอ่อนที่ประกอบได้ ด้วยแร่ high-grade phlogopite + corundum และพบการแทรกดันเข้ ามาของหินไซยีไนต์
(Chhibber 1934a, b; Iyer 1953; Searle & Haq 1964; Bender 1983; Mitchell et al. 2007; Searle et al. 2007; Themelis 2008) โดย
ตังอยู
้ ต่ ามขอบทวีปไซบูมาซุ (ทางตะวันตกของที่ราบสูงฉานไทย) พบรอยชันไม่ ้ ตอ่ เนื่องกับกลุม่ หินเมอร์ กยุ ซึง่ เป็ นหิน diamictites จากสภาพแวดล้ อมธารน้ำแข็งพัดพา ( Pebbly
mudstone ) (Mitchell et al. 2004) หรื อกลุม่ หินปูนมะละแหม่ง (Brunnschweiler 1970, 1974) ซึง่ หินปูนมะแหล่งนันอาจะเป็ ้ นต้ นกำเนิดของ Mogok
metamorphic rock belt โดยมีความยาวต่อเนื่องลงไปถึง Phuket Slate Belt (Ridd & Watkinson 2013) และหินจำพวกแกรนิตแนวตะวันตกซึง่ มีธาตุดีบกุ สูง
Mitchell (1977) and Cobbing et al. (1986, 1992)
• หินยุคแคมเบรียนในประเทศพม่า
• กลุม
่ หินดังกล่าวมีความหนา มากกว่าพันเมตรและวางตัวแบบไม่ตอ ่ เนือ
่ งกับหินกลุม ่ แรกทีแ ่ ก่
กว่า กลุม ่ หินทีส ่ ำคัญ คือ กลุม ่ หินชวงมะยี (Chaungmagyi Group)
• กลุม่ หินชวงมะยี ประกอบด ้วย หินทรายสกปรก และหินทรายเฟลด์สปาร์ สลับกับหินโคลน
และหินดินดาน, หินปูน, หินทรายแป้ ง บางชว่ งอาจมีการวางชน ั ้ เฉียงระดับ (cross-bedding)
และรอยรูสต ั ว์ (burrow) , มีหน ิ อีกชุดหนึง่ วางตัวอยูบ่ นกลุม ่ หินชวงมะยี เรียก กลุม ่ หินปาง
ยุน (Pangyun Beds) ซงึ่ เป็ นพวกหินทรายสช ี มพูถงึ สเี ทามีไมก ้าปน หินทรายแป้ งสแ ี ดง
และหินดินดานสเี ขียนเทาและเขียวนาตาล ้ํ และมีหน ิ กรวดมน, หินโดโลไมต์ชมพูเทา และ
หินตะกอนภูเขาไฟอยูใ่ นชน ั ้ ล่าง ๆ กลุม ่ หินชวงมะยีวางตัวสลับกับชุดหินภูเขาไฟบอร์ดวิน
(Bawdwin) ซงึ่ พบในทางตอนเหนือของรัฐฉานเป็ นหินจําพวกไรโอไลต์และเถ ้าภูเขาไฟ
จนถึง กรวดภูเขาไฟ อาจสลับกับหินทรายบ ้าง กลุม ่ หินอีกกลุม ่ หนึง่ ทีอ ่ ายุใกล ้เคียงกันคือ
กลุม ่ โมโล เรียน ซงึ่ เป็ นหินทรายซงึ่ มีซากไทรโลไบต์ ชอ ื่ Eosaukia Buravasi อายุแคม
เบรียนตอนบน สว่ นล่างของกลุม ่ หินเป็ นหินกรวดมนสลับโดโลไมต์ ชุด หินล่างประกอบด ้วย
หินปูนอินทรียเ์ นือ ้ ทรายสเี หลืองถึงเหลืองอ่อน พบซาก ดึกดําบรรพ์จําพวก ไบโอซวั
(Bryozoa), ซส ี ตอน (Cystoid), ไทรโลไบต์, แบรคิโอบอด และซากเซฟาโลปอด ทีช ื่ ออ
่ อ
โทเซอรัส (Orthoceras) ,เอคทิโนเซอรัส (Actionceras)สว่ นในชุดบนประกอบด ้วย
หินดินดาน และหินดินหลากส ี (เชน ่ แดง เหลือง สม้ ม่วง ฟ้ า) วางตัว
แผนภาพแสดงการกระจายต ัวของ ั้ นของกลุม
ลำด ับชนหิ ่ หินชว
กลุม
่ หินชวงมะยี งมะยี
(บริเวณสดี ำ) หมวดหินภูเขาไฟบอร์ดวิน
หมวดหินปางยุน

ภาพจาก Dew, R., Keith


Morley, C., Aung
Myint, T., & Collins,
A. (2019). Age and
provenance of the
Chaung Magyi Group,
Yeywa Dome, Myanmar,
based on U-Pb dating
of detrital zircons.
Journal of Asian
Earth Sciences,
103967.
หมวดหินทีส ่ ามารถเทียบ
หมวดหินปางยุน เทียบเคียงได้ก ับ ก
เคียงก ันได้ หินตะรุเตา
กลุม
่ หินมะละแหม่ง เทียบเคียงได้ก ับ
กลุม่ หินตะรุเตา
ภาพจาก Wernette, S.
หมวดหินลอยปี น เทียบเคี
J., Hughes, N.ยC.,
งได้ก ับก
หินทุง่ สง Myrow, P. M., &
Aung, A. K.
(2021). The first
systematic
description of
Cambrian fossils
from Myanmar: Late
Furongian trilobites
from the southern
part of the Shan
State and the early
Palaeozoic
palaeogeographical
affinities of
Sibumasu. Journal of
Asian Earth
Sciences, 214,
104775.
แผนภาพแสดงหมวดหินที่
สำค ัญในบริเวณต่าง ๆ
ของประเทศพม่า
หินในยุคพรีแคมเบรียน
• หินโมก๊ อก (Mogok Gneiss)
• กลุม่ หินชวงมะยี (Chaungmagyi Group)
• กลุม่ หินปางยุน (Pangyun Beds)
• ชุดหินภูเขาไฟบอร์ ดวิน (Bawdwin)

ซึง่ ได้ อธิบายไปแล้ วในสไลด์หน้ าที่ผา่ นมา


หินในยุคแคมเบรียน
• Moloheim group (กลุม
่ หินมะละแหม่ง) เทียบได้ก ับ กลุม

หินตะรุเตา
กลุม่ หินปูนมะละแหม่งเป็ นตะกอนเนื ้อเม็ดประกอบไปด้ วยตะกอนที่โดนแปรสภาพเล็กน้ อย เป็ นตะกอนเนื ้อละเอียด เป็ นหินทรายสีชมพู น้ำตาล และหินควอตซ์ไซต์สีออ่ น และมีเนื ้อหยาบ มี
หินทรายสีชมพู, หินทรายเกรย์แวค, หินกรวดมน และหินโดโลไมต์ปะปนบ้ าง โดยพบเป็ นแก่นกลางของ Pindaya Range (เทือกเขาพินยาดา) และ Hethin Hill (เนินเขาเฮทิน) ซึง่ อยูใ่ นเขต
ของ Bawsaing Range (เทือกเขาบาวซาน) มีหลักฐานการค้ นพบฟอสซิล Saukiella (เป็ นไทรโลไบต์ Genus หนึง่ ) และไทรโลไบต์ชนิดใกล้ เคียงใน micaceous sandstone โดย
ให้ อายุเป็ นยุคพรี แคมเบียนตอนปลาย มีความหนาประมาณ 3500 ฟุต ด้ านล่างชันหิ ้ นสัมผัสกับกลุม่ หินช่วงมะยี (Chaungmagyi group) ซึง่ มีอายุอยูใ่ นมหายุคพรี แคมเบียน (La
Touche, 1913) พบเป็ นรอยชันไม่ ้ ตอ่ เนื่อง ส่วนด้ านบนชันหิ
้ นสัมผัสกับหมวดหินลอยปี น (Lokepyin formation) พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างค่อยเป็ นค่อยไป

กลุ่มหินตะรุ เตา (Tarutao Group)


อยูใ่ นช่วงยุคแคมเบียนตอนปลายถึงยุคออร์ โดวิเชียนตอนต้ น (Bunopas, 1981) เป็ นหินทรายเนื ้อควอตซ์ชนบางถึ
ั้ งชันหน้
้ า ลักษณะ Tabular cross beds ไม่ชดั เจน ความหนา
ชันหิ
้ น 1,000 m (Bunopas, 1981); 850 m (Tansuwan and others, 1982)
หินควอรต์ไซต์ตะรุเตา (Tarutao quartzite) เป็ นหินควอร์ ตไซต์, หินฟิ ลไลต์ยคุ แคมเบรี ยน
หินในยุคออร์โดวิเชย ี น
• Lokepyin group (กลุม ่ หินลอยปี น) เทียบได้ก ับกลุม ่
หิหินนยุคทุ
ออร์ง
่ โดวิ
สง เชียนในรัฐฉานตอนใต้ เช่น กลุม่ หินพินยาดา (Pindaya Group) สามารถแบ่งออกเป็ น 4 หมวดหินย่อย คือ (เรี ยงลำดับจากหมวดหินล่างสุดไปบนสุด) Lokepyin
Formation (หมวดหินลอยปี น) ส่วนประกอบหลักเป็ นหินทรายแป้งสีเทา, Wunbye Formation (หมวดหินวันเบ) โดยหลักเป็ นชันหิ ้ นปูนซึง่ มีรอยขุดของสัตว์และมีหินทรายแป้งสี
เทาเป็ นชันแทรก,
้ Nan-on Formation (หมวดหินนานก๊ อง) โดยหลักเป็ นชันหิ้ นทรายแป้งสีเหลืองหรื อสีจางและหินโคลน และ Tanshauk Member (หมูห่ ินแต่นเฉ๋า) หินดินดาน
สีมว่ งและหินทรายแป้ง ซึง่ Nan-on Formation (หมวดหินนานก๊ อง) ก็จดั เป็ นส่วนหนึง่
หมวดหินศิธา (Sitha Formation) ประกอบด้ วยสโตมาโทไลต์และโครงสร้ างจากวัตถุอินทรี ย์ ประมาณอายุยคุ ออร์ โดวิเชียนตอนกลาง ประกอบด้ วยหินปูนชันหนาระดั
้ บปานกลาง
ถึงหนาสีเทาถึงออกเหลืองและแสดงการถูกสิ่งมีชีวิตรบกวน สะสมเป็ นชันบาง
้ มีหินปูนชันบาง
้ ซึง่ สามารถเทียบเคียงได้ กบั หมวดหินวันเบ (Wunbye Formation) ในรัฐฉานตอนใต้
หมวดหินคูเลอิน (Kunlein Formation) ส่วนล่างประกอบด้ วยชันหิ ้ นระดับความหนาปานกลางถึงหนา สีเทาออกเขียวของหินโคลนเนื ้อปูน และมี Micaceous
sandstone สีจาง ส่วนหินโคลนเนื ้อปูนนัน้ จะมีหินทรายแป้งปนด้ วย ประมาณอายุยคุ ออร์ โดวิเชียนตอนปลาย พบฟอสซิลเป็ นจำนวนมากของแบรคิโอพอด, เอไคโนเดิร์ม ตัวอย่างซาก
ฟอสซิล Aulechinus sp., Rhynchonella sp., Strophodonta sp. , ร่องรอยต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต และโครงสร้ างจากสารอินทรี ย์ โดยหมวดหินคูเลอิน (Kunlein
Formation) อยูด่ ้ านบนของหมวดหินนางเบาะ Nyaungbaw Formation และอยูด่ ้ านล่างของหมวดหินศิธา Sitha Formation
หมวดหินคูเลอิน (Kunlein Formation) สามารถเทียบเคียงได้ กบั หมวดหินนานออน (Nan-on Formation) ของกลุม่ หินพินยาดา Pindaya Grou ในรัฐฉานตอนใต้
(Maung Thein, 2014).
• กลุม ่ หินทุง
่ สง (Thung Song Group)
ยุคออร์โดวิเชย ี น ชนั ้ บนเป็ นชนั ้ หินดินดานเนือ้ ทรายสลับกับชน ั ้ หินปูน ชว่ ง
ชนั ้ ล่างและชว่ งกลางนัน ้ เป็ นหินสเี ทาเข ้มเป็ นชนั ้ หนาของหินปูนกับแถว
โคลน ความหนา 200 เมตร เป็ นหินดินดานเนือ ้ ปูนสน ี ้ำตาลแดงและมีเลน
หินปูนขนาดเล็กแทรกกระจายอยูใ่ นเนือ ้ ความหนา 75 เมตร และชน ั ้ ต่อมา
เป็ นหินปูนสเี ทาออกเขียวเป็ นชน ั ้ หนาและมีแถบโคลนแทรก ความหนา
150 เมตร ความหนารวม 900-1410 เมตร สภาพแวดล ้อมการสะสมตัวตัง้ แต่
เขตชายฝั่ งไปจนถึงทะเลลึก
• หมวดหินปูนทุง ่ สง (Thung Song Limestone)
ยุคออร์ โควิเชียน อาจจะยาวนานถึงยุคดีโวเนียน เป็ นหินปูนเนื ้อเทาออกโคลน เป็ นชันหนาชั
้ ดเจน
หินในยุคไซลูเรียน-ดีโวเนียนในพม่ า
ชุดหินลินวี (Linwe group) ประกอบด้ วยหินปูนเนื ้อดิน ซึง่ มีซากฟาคอยดัล (Phacoidal) สีชมพูปนเทา หิน โคลนเนื ้อปูน และหินดินดาน พบซากแกรบโตไลต์
(graptolite) มากมาย บางครัง้ พบว่า เป็ นหินดินดานสีแดงอยูข่ ้ างล่าง (Red Shale Member) และหินมาร์ ล เนื ้อทราย อยูข่ ้ างบน (Sandy Marl Member) มีอีกชื่อ
เรี ยกที่เป็ นทางการว่า Orthoceras Beds ประกอบด้ วยชันหิ ้ นปูนสีชมพู, ม่วง, เทา, สีออ่ น, หินปูนเนื ้อโคลน, หินดินดานเนื ้อปูน, หินโคลนเนื ้อทราย และหินดินดาน โดยหินดินดาน
ลักษณะ Micaceous สีเทา, สีออ่ น และสีดำ หรื อมีหินชนวนแทรก และอาจพบแร่ไพไรต์ รวมทังพบหิ ้ นทรายแทรกด้ วย และช่วงบนชุดหินพบหลักฐานการเกิดปรากฏการณ์ทางภูเขาไฟเป็ น
หินไรโอไลต์, หินไรโอลิติกทัฟฟ์, เถ้ าภูเขาไฟ และชันแร่
้ เบนทอไนต์
ชุดหินนามซิม (Namsim formation) ประกอบด้ วยหินทรายแก้ ว ชันหนามาก
้ สีขาวจนถึง น้ำตาลความหนารวมประมาณ 500 เมตร ปรากฏให้ เห็นแถบรัฐฉานตอนเหนือ พบซากออ
โทเซอรัส, บราดิโอปอด และแกสโตปอด บางช่วงแสดงการวางชันเฉี
้ ยงระดับชัดเจน ประกอบด้ วยหินทรายเม็ดละเอียด และมีหินปูนแทรกสลับช่วงตอนล่าง

หินในยุคไซลูเรียน
กลุม่ หินมิบายาตัง (Mibayataung Group) เป็ นชันหิ
้ นที่พบฟอสซิล Orthoceras, Graptolites, Tentaculites เป็ นชันหิ ้ น เป็ นคำเรี ยกรวม ๆ ของชันหิ
้ นที่ยงั จัดจำแนกชื่อไม่ได้
ซึง่ อยูร่ ะหว่าง กลุม่ หินพินยาดา (Pindaya Group) และ หินปูนที่ราบสูง (Plateau Limestone) โดยสามารถจัดจำแนกได้ เป็ น into หมวดหินลินเว (Linwe Formation), หมวดหินวา
เบีย (Wabya Formation) และหมูห่ ินต่างกะนินจิ (Taungrningyi Member)
หมวดหินนยองเบาะ (Nyaungbaw Formation) อาจสามารถระบุได้ วา
่ อยูใ่ นยุคไซลูเรี ยนจากหลักฐานการพบไมโครฟอสซิล ชันหิ
้ นหนาระดับปานกลางถึงหนา หินสีชมพู,
ม่วง, น้ำตาลแดง, หรื อเป็ นหินปูน
ออกโคลน และแทรกสลับกับหินดินดานเนื ้อปูน โดยพบหลักฐานของฟอสซิลแกรปโตไลต์ในยุคไซลูเรี ยนตอนต้ นและสามารถพบได้ ในหมวดหินลินเว (Linwe Formation) ทางตอนใต้ ของรัฐฉาน
หินในยุคดีโวเนียน
หมวดหินซิบิงยี (Zebingyi Formation) ประกอบด้ วยหินปูนชันขาวปน
้ สีเทาในช่วงล่าง ถูกวางทับด้ วยหินปูน / หินดินดานสีดํา และหินปูนชันบางสี
้ ขาวในช่วงบน ๆ บางส่วนมีซากแกรบไตไลต์ เซบฟาโล
ปอด (ออโทเซอรัส และไทรโลไบต์) พบมากบริ เวณขอบที่ราบสูงและแถบรอย เลื่อนสะเกียงทางตะวันออก ของเมืองมัณฑะเลย์ Pascoe (1959) กําหนดอายุหินชุดนี ้ให้ เป็ นดีโวเนียนตอนล่าง อาจประมาณอายุได้
ในช่วงยุคดีโวเนียบตอนต้ นถึงตอนกลางโดยมีกลุม่ สิ่งมีชีวิตที่หลากหลายเช่นพวกไทรโลไบต์ , เซฟาโลพอด และพวกเทตาคูไลต์ เป็ นต้ น โดยแบ่งออกเป็ น 3 ชันย่
้ ยอ คือ ชันล่
้ างเป็ นชันหิ
้ นระดับ
ความหนาบางถึงปานกลางของหินโคลนเนื ้อปูนแทรกสลับกับหินดินดานเนื ้อปูนและหินทรายแป้ง โดยมีสีออ่ น พบฟอสซิลของเทตาคูไลต์ , ชันกลางเป็
้ นชันหิ
้ นระดับความหนาบางถึงปานกลาง เป็ น
หินปูนสีขาวถึงเทาอ่อน บางส่วนกลายสภาพเป็ นเนื ้อโดโลไมต์และแทรกสลับด้ วยเนื ้อทรายแป้ง, ชันบนเป็
้ นหินทราย ระดับความหนาบางถึงปานกลาง ขนาดตะกอนละเอียดถึงปานกลาง เม็ด
ตะกอนสีชมพูถงึ ออกแดง เป็ นหินทรายเนื ้อควอตซ์ โดยด้ านล่างหมวดหินสัมผัสกับหมวดหินนยองเบาะ (Nyaungbaw Formation) ลักษณะเปลี่ยนแปลงอย่างค่อยเป็ นค่อยไป และด้ าน
บนสัมผัสกับหินปูนที่ราบสูงเป็ นรอยชันไม่
้ ตอ่ เนื่อง โดย หมวดหินซิบิงยี (Zebingyi Formation) สามารถเทียบเคียงได้ กบั ช่วงบนของหมวดหินวอเบีย (Wabya Formation) ในรัฐ
ฉานใต้ (Myint Lwin Thein, 1973)
หินในยุคคาร์ บอนิเฟอรั สและเพอร์ เมียน
พบอยูม่ ากทางบริ เวณตอนใต้ ของพม่าแถบเทือกเขาหินซะลิม ซึง่ ส่วนใหญ่เป็ นหินตะกอนเนื ้อเม็ด แบ่งออกเป็ น 4 หมวดหิน คือ กลุม่ หินเล็บยิน (Lebying Group) , กลุม่ หิน
ตวงนิโอ (Taungnyo Series) , กลุม่ หินเมอร์ กยุ (Mergui Series) และกลุม่ มอซิ (Mawchi Series) และทังหมดนี ้ ้วางตัวอยูข่ ้ างใต้ หินปูนที่เรี ยกกลุม่ หินมะละแหม่ง
(Moulmein Limestone) โดยเป็ นตะกอนที่สะสมตัวในน้ำลึก
กลุม่ หินตวงนิโอ (Taungnyo Series) ประกอบด้ วยหินทราย, หินควอตซ์ไซต์, หินดินดาน, หินทรายเนื ้อปูน, หินทรายสกปรก และอาจมีหินปูนบ้ าง มีซากหอยแกสโตปอด, ไบโอ
ซัว, ปะการัง, ออสทาคอด
กลุม่ หินเมอร์ กยุ (Mergui Series) ประกอบด้ วยหินเนื ้อดิน (Argillaceous) มีหินปูนและหินทราย แทรกสลับอยูห่ นาหลายเมตร ซึง่ บางส่วนถูกแปรสภาพเป็ นหินควอร์ ด
ไซต์ ชันถั
้ ดมาคือ หินทราย สกปรกสีเทาเข้ ม สลับกับหินกรวดเหลี่ยมเนื ้อละเอียด ถัดขึ ้นมาเป็ นชันหิ
้ นกรวดมนสลับกับหินทรายสกปรก มีก้อนแกรนิตอยูใ่ นเนื ้อหิน คาดว่ามีอายุอยูใ่ นยุค
คาร์บอนิเฟอรัส เป็ นหินทรายแป้ง, หินดินดาน Diamictites
กลุม่ หินมอชิ (Mawchi Series) ประกอบด้ วย หินโคลน, หินทรายแป้ง, หินควอรต์ไซต์, หินปูนเนื ้อทราย, หินปูน, หินกรวดและหินทราย ซึง่ เม็ดกรวดส่วนใหญ่เป็ นหินปูน
ภาพแสดงหิน Diamictitie ของกลุม
่ หินเม
อร์กย

แผนทีแ
่ สดงการกระจายตัวของ Slate belt
(Mergui Group and Taungyo Group) ในทาง
ตอนใต ้ของประเทศพม่า
ภาพจาก Mitchell, A. (2018). The Mergui Group and
Equivalents in the Slate Belt, Phayaungtaung and the
Gaoligong Range (Northeastern Myanmar). Geological Belts,
Plate Boundaries, and Mineral Deposits in Myanmar, 97–
126.

กลุม่ หินเมอร์ กยุ เป็ นกลุม่ หินหลักของแถบ Slate belt ซึง่ จะถอดยาวลงมาตังแต่
้ ประเทศจีนลงมาถึงประเทศอินโดนีเซีย โดย
ลักษณะทางธรณีวิทยาเป็ นหินตะกอนซึง่ เป็ นหินโคลนหรื อหินเนื ้อโคลนเป็ นหลักอาจพบหิน Mica schists ปะปน หรื อว่าชัน้
หินทรายบางแทรก หรื อชันหิ ้ นควอตซ์ไซต์ รวมทังหิ
้ นกรวดมนเล็กน้ อย, หินปูน แต่โดยหลักหินที่พบเป็ น Pebbly
mudstone หรื อมีอีกชื่อเรี ยกว่า Pebbly wacke หรื อ Diamictite ซึง่ ตะกอนไม่คดั ขนาดมีการปะปนของหิน
แกรนิต ,หินควอรต์ไซต์ ,สายแร่ควอตซ์ ,หินชีสต์ ,หินอ่อน ปะปนอยูใ่ นเนื ้อหิน
ั้ นไทยได้
สามารถเทียบเคียงก ับชนหิ
ส่ วนหินอายุเพอร์ เมียนของภาคตะวันออกของพม่ า แบ่งออกเป็ น 2 ชุดหิน คือ
ชุดหินปูนทิซิพิน (Thisipin Formation) ซึง่ ประกอบด้ วยหินปูนชันหนามากมี ้ ซากหอยแบรคิโอพอด และปะการัง
ชันถั
้ ดมา เป็ นหินปูนเนื ้อเชิร์ต และชันบนเป็
้ นหินปูนชันบาง
้ บางช่วงมีการวางชันเฉี ้ ยงระดับจากซาก ปะการังและฟอแรมมินิเฟ
อร่า (จําพวก Psendoschwagerina) ทําให้ เชื่อว่าเป็ นอายุเพอร์ เมียนตอน ปลาย ที่สะสมตัวในทะเลตื ้น ลักษณะโดย
หลักนันประกอบไปด้
้ วย 5 Lithofacies ซึง่ Lithofacies ที่ 1 นันเป็ ้ นชันหิ
้ นกรวดมนสีน้ำตาลเทาไม่เป็ นชัน้
Lithofacies ที่ 2 นันเป็ ้ นชันหิ้ นบาง สีเหลืองน้ำตาล และสีเทาเนื ้อโคลน เป็ นหินปูนแบบ Floatstone, Packstone,
และหินดินดานเนื ้อปูนปนทรายแป้ง พบพวกฟิ วซูลนิ ิด, แบรคิโอพูด ซึง่ มีอายุอยูใ่ นช่วงยุคเพอร์ เมียนตอนต้ น และบางส่วนก็กลาย
สภาพเป็ นโดโลไมต์ ส่วน Lithofacies ที่ 3 นันเป็ ้ นชันหิ
้ นหนาเทาของ Wackestone, Floatstone Lithofacies
ที่ 4 เป็ นชันหิ
้ นหนาสีเทาของ Packstone, Grainstone Lithofacies ที่ 5 เป็ นชันหิ ้ นหนาแต่ไม่แสดงชันสี
้ เทาเข้ มเนื ้อ
ปนเชิร์ตของหิน Wackestone, Floatstone
หมวดหินปูนทิซิพิน (Thisipin Formation) มีความโดดเด่นเรื่ องฟอสซิลจำพวกฟิ วซูลนิ ิด, ไบรโอซัว, ปะการัง, แบรคิ
โอพอด ซึง่ มีอายุตงแต่
ั ้ เพอร์ เมียนตอนต้ นถึงเพอร์ เมียนตอนปลาย
• หินปูนอีกชุดทีอ ่ นกว่าเรียกว่าหมวดหินปูนบางยี (Nwabangyi Formation) ซงึ่ ถูกกลาย
่ อ
สภาพให ้เป็ นโดโลไมต์ (dolomitized) ประกอบด ้วยหินปูนชน ั ้ บาง ๆ มีซากฟอแรมินเิ ฟ
อร่า ชนิด Shanita amosi และหอยแกสโตปอด ชน ั ้ ถัดขึน ้ มาเป็ นหินปูนนาลึ ้ํ กสเี ทาเข ้มจัด
ทําพวก (micrite) และชน ั ้ บนเป็ นพวกหินปูนกรวดเหลีย ่ ม และแทรกกลางชน ั ้ ด ้วยหินปูน
้ ละเอียดสเี ทา ซงึ่ แสดงอายุเพอร์เมียนตอนปลาย
เนือ
หมวดหินปูนบางยี (Nwabangyi Formation) ลักษณะโดยหลักนัน ้ ประกอบไปด ้วย 4
Lithofacies ซงึ่ Lithofacies ที่ 1 เป็ นหินกรวดมนสเี ทา และมีหน ิ ปูน Packstone-Wackestone
สเี ทา Lithofacies ที่ 2 เป็ นหินโดโลไมต์สข ี าวทีไ่ ม่แสดงชน ั ้ ชด
ั เจนและมีหน ิ ปูน
Wackestone Lithofacies ที่ 3 เป็ นหินโดโลไมต์ชน ั ้ บางสเี ทาและหินปูน Wackestone-
Floatstone พบฟอสซล ิ เล็กน ้อยของฟอแรมินเิ ฟอร่า, แกรสโตพอด, ปะการัง Lithofacies ที่
ั ้ บางสเี ทาของ Dolomitic packstone-grainstone Lithofacies และวางตัวต่อเนือ
4 เป็ น ชน ่ ง
กับหมวดหินปูนนาเท็ก (Natteik Limestone Formation) ยุคไทรแอสซก ิ ตอนต ้น
• ชุดหินมะตะบัน (Mataban Bed) พบซากฟอสซล ิ ทีย ่ งั ระบุชนิดไม่ได ้เด่นชด ั เป็ น
หินดินดานสลับกับหินทราย และพบซากหอยแบรดิโอปอด จําพวกสไปริเฟอร์ (Spirifer)
และมาร์ตน ิ า (Martina) ซงึ่ อาจแสดงว่าหินมีความต่อเนือ ่ งจากยุคเพอร์เมียนจนถึงยุค
ไทรแอสสก ิ
โดยหินดังกล่าวนันจะมี
้ ลกั ษณะเป็ นชันรอยต่
้ อแบบไม่ตอ่ เนื่อง โดยจะอยูท่ บั หมวดหินลินเว (Linwe Formation) ยุคไซลูเรี ยน หมวดหินนานอัน (Nan-on Formation)
ยุคดีโวเนียนตอนปลาย หมวดหินวุนเบ (Wunbye Formation) ยุคดีโวเนียนตอนกลาง (Amos 1975; Garson et al. 1976; Zaw Win 1992, 2004) โดย
ลักษณะหลัก ๆ นันสามารถแบ่
้ งออกได้ เป็ น 3 อย่าง คือ 1. หน่วยหินโดโลไมต์ (ช่วงยุคเพอร์ เมียนตอนกลางถึงยุคไทรแอสซิกตอนต้ น) 2. หน่วยหินปูนปนเชิร์ต (ช่วงยุคไทรแอสตอนต้ นถึง
ตอนกลาง) 3. หน่วยหินปูนปะการัง (ช่วงยุคไทรแอสซิกตอนกลางถึงปลาย)

หน่วยหินโดโลไมต์ประกอบด้ วยชันหิ
้ นโดโลไมต์หนาฟอสซิลพวกปะการัง, แบรคิโอพอด และฟอแรมินิเฟอร่ายุคเพอร์ เมียนเป็ นจำนวนหลายชันหิ
้ น ชันหิ
้ นปูนปนเชิร์ตที่เป็ นเนื ้อชัดเจน
พบฟอสซิลแอมโมไนต์ ส่วนชันหิ
้ นปูนปะการังนันเป็
้ นปะการัง, ฟองน้ำ และหินปูนสาหร่าย โดยประกอบไปด้ วย 3 หมวดหินย่อย (เรี ยงลำดับจากหมวดหินล่างไปบน) หมวดหินปูนทิพีซีน
(Thitsipin Limestone), หมวดหินโดโลไมต์นวาบังยี (Nwabangyi Dolomite) และหมวดหินนาตเต็ก (Natteik formations) มีชื่อเรี ยกโดยรวมว่า กลุม่ หินโดโลไมต์
ที่ราบสูงฉาน (Shan Dolomite Group) สภาพแวดล้ อมเป็ นแบบมหาสมุทรตื ้น ตัวอย่างฟอสซิลที่พบได้ มาก คือ ปะการังยุคเพอร์ เมียนตอนกลาง (ส่วนมากเป็ นจำพวก
waagenophyllids),แบรคิโอพอด, ฟอแรมินิเฟอร่า (schwagerinid fusulines) โดยเฉพาะหมวดหินปูนทิพีซิน(Thitsipin Formation)
หินปูนเพอร์ เมียน ไทรแอสซิกของประเทศพม่ า แผนภาพหมวดหินทีส ่ ำค ัญของ
หินปูนในประเทศพม่า

ภาพแสดงการกระจา
ยต ัวของหินปูนเพอร์
เมียน ไทรแอสซก ิ
ของประเทศพม่า

ภาพจาก Zaw Win, Kyi Kyi Shwe, & Ohnmar


Soe Yin. (2017). Chapter 15 Sedimentary
facies and biotic associations in the
Permian–Triassic limestones on the Shan
Plateau, Myanmar. Geological Society,
London, Memoirs, 48(1), 343–363.
สภาพแวดล้อมการสะสมต ัว
ั้ นที่
ล ักษณะลำด ับชนหิ
พบ
หมวดหินชเวมินบอน (Shweminbon Formation) มีชื่อเสียงเรื่ องแหล่งแร่สการ์ นของแร่ทองแดงและทองคำ
โดยเป็ นหนึง่ ในแหล่งสะสมที่ใหญ่ที่สดุ ของพม่า ตังอยู
้ ร่ ะหว่างแนวรอยต่อระหว่าง Central basin และที่ราบสูงฉาน
โดย Naing et al. (2013) ได้ ให้ ข้อสังเกตว่ากระบวนการในการตกผลึกของแร่ทองคำนันเป็ ้ นรูปแบบ Calcic
skarn type หินที่พบการแทรกดันขึ ้นมานันเป็ ้ นหินไดออไรต์, หินแกรโนไดออไรต์ และหินแกรนิต ซึง่ ผลจากการแทรก
ดัน คือ การเกิดหินอ่อนสีขาว, เทา และพบหินทรายแป้งสีออ่ น, หินทราย ซึง่ มีอายุการสะสมอยูใ่ นช่วงยุคไทรแอสซิกถึงยุค
จูแรสซิก บริ เวณดังกล่าวยังใกล้ เคียงกับหมวดหินปูนบางยี (Nwabangyi Formation)ยุคเพอร์ เมียนตอนปลาย
ถึงยุคไทรแอสซิกตอนต้ น กระบวนการในการเกิดการตกผลึกทองคำนันเกิ ้ ดจากการแทรกดันของพนังของหินไดออไรต์ในยุค
ไทรแอสซิก-จูแรสซิกเข้ ายังหินคาร์ บอเนตหรื อหินตะกอนเนื ้อเม็ดของหมวดหินชเวมินบอน
• หินในยุคจูแรสซก

หมวดหินชาวชูชอง (Kyaukhsu Chaung formation ) คาดว่าอายุอยูใ่ นยุคจูแรสซิกตอนกลางถึงยุคครี เทเชียสตอนต้ น เป็ นหิน Pebbly mudstone, หินโคลนเนื ้อปูน,
หินดินดาน, มีชนเฉี
ั ้ ยงระดับ และมีหินกรวดมน ส่วนฐานเป็ นหินกรวดมนซึง่ มีสว่ นประกอบของหินควอตซ์ไซต์ , หินโคลนสีดำ และหินเชิร์ตสีแดง โดยมีเนื ้อ matrix เป็ นสีแดง และสลับชันกั
้ บ
หินทราย, หินทรายแป้ง, มี Ripple marks และมีชนบนสุ
ั้ ดเป็ นหินปูนสีดำเนื ้อละเอียดที่พบฟอสซิลฟอแรมมินิเฟอร่าและสาหร่าย รวมทังหิ
้ นทรายเนื ้อปนทัฟฟ์, หินโคลน และหินกรวดมน
Zaw Win et al. (1998, unpublished)
ชันหิ
้ นน้ำเยา (Nawyau beds) ชันหิ ้ นกรวดมนเนื ้อหยาบและมีเม็ดกรวดเป็ นหินปูนโผล่ขึ ้นมาบ้ างตามแนวที่ราบสูงหินปูนเป็ นชันหิ
้ นแดงที่พบฟอสซิลพบในรัฐฉานเหนือ อายุคาดว่าอยู่
ในช่วงยุคไทรแอสซิกถึงยุคครี เทเชียสตอนต้ นพบหิน Pillow basalt หรื อหินบะซอลต์ที่สะสมเป็ นชันหนา,
้ หินพนังไดอะเบส, หินแอนดีไซต์ และหินตะกอนภูเขาไฟ
หมวดหินเนปิ ดอร์ ช่อง (Ngapyawdaw Chaung Formation) และหินเซอร์ เพนทิไนต์และหินชีสต์ที่มีแร่คลอไรต์ (Than Tun & Khin Myint, personal
communication, 2002) หินพนังเดไซต์ ซึง่ พบใกล้ เมืองมิตจินา Yang et al. (2012) ได้ รายงานว่ามีอายุในช่วงยุคจูแรสซิกตอนกลาง และจากการตรวจสอบอายุด้วยวิธีแร่เซอร์ คอน
หรื อการใช้ ไอโซโทปของยูเรเนียม-ตะกัว่ ในการตรวจสอบอายุของหินบะซอลต์, หินแกบโบร, หินแกรนิต , หินไพรอกซีไนต์ and Liu et al. (2016) พบว่าอายุอยูใ่ นช่วงยุคจูแรสซิกตอนปลาย
ชุดหินลอยอัน (Loi-an series) พบเกลือระเหย (Panngo Evaporite of Brunnsweiler, 1962) อายุในยุคไทรแอสซิกปรากฏในรัฐฉานเหนือ สะสมตัวในสภาพแวดล้ อม
ทะเล โดยในช่วงยุคจูแรสซิกตอนต้ นนันเป็
้ นทะเลตื ้น (จากหลักฐานแอมโมไนต์ที่พบ) และเป็ นแอ่งสะสมตะกอนและต่อมาในช่วงยุคจูแรสซิกตอนปลายนันพบการสะสมของ
้ Subgreywackes
และถ่านหิน ชุดหินนี ้ยังพบหินทราย Greywackes, หินชนวน และหินควอต์ไซต์ที่คาดว่าอายุยคุ จูแรสซิก โดยพบได้ ในที่ราบสูงหรื ออาจพบปะปนกับหินปูนที่ราบสูง (Plateau
Limestones)
ี ส
หินในยุคครีเทเชย
Kalaw Formation (หมวดหิน
กะลอ)
หินทรายในหมวดหินกะลอนันเป็
้ นหิน litharenite และอาร์ โคส โดยหินกรวดมนที่พบนันมี
้ สว่ นประกอบ
80 ถึง 90 เปอร์ เซ็นต์ที่เป็ น Pebbles ซึง่ เชื่อมประสานกันด้ วยทรายแป้งที่มีสว่ นประกอบของเหล็ก
ออกไซด์ เป็ นทรายละเอียด และมีผลึกแร่แคลไซต์ เป็ นหินที่เกิดการสะสมตัวบนบก โดยประกอบด้ วยเม็ด
ตะกอนที่เป็ นหินคาร์ บอเนต, หินเชิร์ต, หินโคลน และหินกรวดมนของตัวหมวดหินเอง โดยสภาพแวดล้ อมที่
เกิดนันเป็
้ นเนินตะกอนรูปพัดหรื ออาจเป็ นแม่น้ำขนาดใหญ่ และเกิดเป็ นหมวดหินวางตัวไม่ตอ่ เนื่องบนกลุม่ หิน
ลอยอัน แต่ไม่พบหลักฐานฟอสซิล โดยจากการศึกษานันคาดว่ ้ าน่าจะมีอายุอยูใ่ นช่วงยุคครี เทเชียส (Khin
Maung Win (1978), Maung Thein (2014)) ลักษณะของหินกรวดมนนันเป็ ้ นหินที่มีเม็ด
ตะกอนเป็ นส่วนประกอบหลัก มีการคัดขนาดตะกอนที่แย่ มี matrix เป็ นทรายแป้ง

แผนภาพจาก Racey, Andrew. (2009). Mesozoic red bed sequences from SE Asia
and the significance of the Khorat Group of NE Thailand. Geological Society,
London, Special Publications. 315. 41-67.
หินในมหายุคซโี นโซอิค
หมวดหิน
จอกต ัน

หมวดหินนา
ซานบอ
หมวดหิน
มายุ
หมวดหินยี่
ซอ
หมวดหินลอง
บริ เวณ Central Basins ของประเทศพม่านันเป็
้ นบริ เวณที่การสะสมของหินตะกอนเป็ นชันหนาตั
้ งแต่
้ ยคุ ครี เทเชียสตอนปลายจนถึงปั จจุบนั โดยหน่วยหินตะกอนที่ส ำคัญนัน้ คือ
หมวดหินปูนปองชอง (Paung Chaung Limestone) ในยุคครี เทเชียสตอนต้ น, หมวดหินกะบอ (Kabaw Formation) ในยุคครี เทเชียสตอนปลาย, หินกรวดมนปองกี
(Paunggyi Conglomerates) ในสมัย Paleocene หินดินดานลองชี (Laungshe Shale) หินทรายทิลิน (Tilin Sandstone) ตะกอนโคลนทะเบยิน (Tabyin Clay)
หินทรายพอนดอง (Pondaung Sandstones) และหมวดหินยอว (Yaw Formation) สมัย Eocene และกลุม่ หินเพกู (Pegu Group) สมัย Oligocene ถึงสมัย
Miocene โดยมีความหนารวมกันมากกว่า 15000 เมตรในเขตแอ่งตะกอนมินบู (Minbu Salin Basin) (Tainsh 1950)

กลุม่ หินเพกู (Pegu Group) รวมถึงชันหิ


้ นทรายที่แทรกสลับกับหินดินดานและถ่านหินที่สะสมตัวในเขตปากแม่น้ำและเขตทะเลตื ้น (รวมทังหิ
้ นดินดานแถบนัน)
้ และมีหินปูนแทรก
สลับด้ วย (Aung Khin & Kyaw Win 1969; Kyi Khin & Myitta 1999) จากการศึกษาพบว่ากลุม่ หินเพกู (Pegu Group) และ Irrawaddian (อิระวดี)
sandstones นันสะสมตั ้ วในสภาพแวดล้ อมทะเลตื ้น, ชะวากทะเล หรื อเป็ นบริ เวณที่น้ำขึ ้น-ลง

ยุคครี เทเชียสตอนปลายถึงสมัยไพลสโตซีนตะกอนที่สะสมตัวในแอ่ง Central Basins นันได้


้ ถกู ทับถมด้ วยหินและตะกอนจากภูเขาไฟในช่วงยุคควอเทอร์ นารี (Pivnik et al.
1998; Kyi Khin & Myitta 1999; Aung Naing Soe et al. 2002; Mitchell et al. 2010) โดยพบหลักฐาน ophiolitic 2 ที่ที่เด่นชัด ที่แรกคือ หินอัลตราเมฟิ ก
ที่ Tagaung–Myitkyina Belt (TMB) (ตาเค้ า-มิดจิน่า เบลท์) ที่สอง คือ รอยต่อระหว่าง Myanmar Central Basins (MCB) กับ Indo-Burman Ranges
(IBR) หรื ออีกชื่อคือ Western Ranges (แนวเทือกเขาตะวันตก)
ภาพตำแหน่ง Tagaung–Myitkyina Belt (TMB) ภาพจาก
Gardiner, N. J., Robb, L. J.,
Morley, C. K., Searle, M. P.,
Cawood, P. A., Whitehouse, M. J., ภาพแสดง Indo-Burma Range ภาพจาก Khin, Kyi &
… Myint, T. A. (2016). The Zaw, Khin & Aung, Lin. (2017). Chapter 4 Geological
tectonic and metallogenic and tectonic evolution of the Indo-Myanmar Ranges
framework of Myanmar: A Tethyan (IMR) in the Myanmar region. Geological Society,
mineral system. Ore Geology London, Memoirs. 48. 65-79.
Reviews, 79, 26–45.
หมวดหินทีส
่ ามารถเทียบเคียงได้
• Peninsular Thailand
ี ดงชุมพร (Chumphon red beds)
หมวดหินสแ
หินทรายสีแดงแทรกสลับชันหิ ้ นทรายแป้งและชันหิ
้ นดินดาน Raksaskulwong (2002) พบหลักฐานฟอสซิลหอยสองฝาและซากพืช อายุยคุ จูแรสซิกตอนต้ น ความหนาชันหิ
้ น
350 เมตร เป็ นส่วนหนึง่ ของกลุม่ หินตรัง
หมวดหินปูนคลองโกน (Khlong Kon limestone)
หินปูนสีเทาอ่อนถึงเทาปานกลาง เป็ นหินปูนเนื ้อละเอียด เนื ้อ Massive อายุประมาณยุคไทรแอสซิกตอนกลาง (Grant-Mackie and others, 1980) และอายุยคุ ไทร
แอสซิกตอนกลางถึงตอนปลาย (Sashida and others, 1999) ความหนาชันหิ ้ น 600 เมตร เกิดในสภาพแวดล้ อมลากูนหรื อสภาพแวดล้ อมเขตแนวปะการัง (Sashida and
others, 1999)
กลุม่ หินแก่งกระจาน (Kaeng Krachan Group)

เป็ นลำดับของชันหิ
้ นทรายความหนาระดับบางถึงปานกลางและหินโคลน หินเนื ้อ Pebbly และหินทรายเนื ้อควอตซ์ ยุคเพอร์ เมียนตอนต้ น (Chaodumrong, 2010) ความหนา 1760
เมตร เกิดในสภาพแวดล้ อมทะเลตื ้นถึงเขตทะเลลึกรูปแบบการเกิดเกี่ยวข้ องกับธารน้ำแข็ง
หมวดหินเขาดิน (Khao Din formation)

หินดินดานสีน้ำตาลถึงน้ำตาลแดงแทรกสลับกับหินทรายเนื ้อทัฟฟ์, หินทรายอาร์ โคส, หินโคลน, หินทรายเกรย์แวค Kosuwan and Nakapadungrat (1992) ยุคไซลูเรี ยน
ถึงยุคคาร์ บอนิเฟอรัส เกิดในสภาพแวดล้ อมทะเล พบฟอสซิลของ Posidonomya sp., Thaiaspis sethaputi และ spiriferid.
หมวดหินควนทัง (Kuan Tung Formation)

หินปูนสีเทา เนื ้อ Massive เป็ นชันหนาในส่


้ วนล่าง และค่อยๆ เปลี่ยนเป็ นชันบางของหิ
้ นปูนสีแดงในส่วนกลาง และส่วนบนเป็ นสาหร่ายและก็พบหลักฐานสโตมาโตรไลต์
(Wongwanich and Boucot, 2011) ยุคไซลูเรี ยนตอนปลายถึงยุคดีโวเนียนตอนต้ น (Wongwanich and Boucot, 2011) ความหนารวม 105 เมตร
• กลุม ่ หินทุง่ สง (Thung Song Group)
ยุคออร์โดวิเชย ี น ชนั ้ บนเป็ นชน ั ้ หินดินดานเนือ ้ ทรายสลับกับชน ั ้ หินปูน ชว่ งชน
ั้
ล่างและชว่ งกลางนัน ้ เป็ นหินสเี ทาเข ้มเป็ นชน ั ้ หนาของหินปูนกับแถวโคลน ความ
หนา 200 เมตร เป็ นหินดินดานเนือ ้ ปูนสน ี ้ำตาลแดงและมีเลนหินปูนขนาดเล็กแทรก
กระจายอยูใ่ นเนือ ้ ความหนา 75 เมตร และชน ั ้ ต่อมาเป็ นหินปูนสเี ทาออกเขียวเป็ น
ชน ั ้ หนาและมีแถบโคลนแทรก ความหนา 150 เมตร ความหนารวม 900-1410 เมตร
สภาพแวดล ้อมการสะสมตัวตัง้ แต่เขตชายฝั่ งไปจนถึงทะเลลึก
• กลุม ่ หินตะรุเตา (Tarutao Group)
อยูใ่ นช่วงยุคแคมเบียนตอนปลายถึงยุคออร์ โดวิเชียนตอนต้ น (Bunopas, 1981) เป็ นหินทรายเนื ้อควอตซ์ชนบาง
ั้
ถึงชันหน้
้ า ลักษณะ Tabular cross beds ไม่ชดั เจน ความหนาชันหิ ้ น 1,000 m (Bunopas, 1981); 850
m (Tansuwan and others, 1982)
• หินไนสิกคอมเพล็กขนอม (Khanom gneissic complex)
หินไนส์, หินชีสต์, หินแคล์กซิลิเกต, หินควอตซ์ไซต์ และหินอ่อน อายุมหายุคพรี แคมเบรี ยน Kosuwan and Charusiri (1997)
• Western Thailand
• Sri Sawat limestone (หมวดหินปูนศรีสวัสดิ)์
หินปูนสีเทาเข้ มถึงเทาอ่อน, หินทรายสีแดง, หินดินดาน, ดินเหนียวปนปูน และหินปูน Bunopas (1981, 1983) อายุยคุ ไทรแอสซิกตอนกลางถึงยุคจูแรสซิกตอนปลาย ความหนา 400-600 m
สภาพแวดล้ อมเป็ นทะเลตื ้นซึง่ ต่อมาเกิดการเปลี่ยนแปลงการสะสมตัวเป็ นไม่ใช่ทะเลเมื่อสิ ้นสุดยุคไทรแอสซิก

• Sai Yok Limestone (หมวดหินปูนไทรโยค)


หินปูนเนื ้อ Massive เนื ้อปนดินหรื อเป็ นหินโดโลไมต์เป็ นชันหนา
้ Bunopas (1980a, 1981) อายุยคุ เพอร์ เมียนตอนต้ นถึงตอนกลาง ความหนา 400-900 m สภาพแวดล้ อมสะสมตัวเป็ นไหล่ทวีป
กว้ าง เป็ นส่วนหนึง่ ของกลุม่ หินราชบุรี

• Thong Pha Phum Group (กลุม่ หินทองผาภูมิ)


เป็ นเนื ้อดินเหนียวปนปูนปนทรายในส่วนล่างที่สดุ (ความหนา 30 เมตร) และเมื่อขึ ้นมาจะเป็ นหินดินดานสีดำความหนา 30 เมตร เมื่อขึ ้นมาจะเป็ นหินทรายแป้งเนื ้อปูนสีเทาเข้ ม และถัดจากชันนี
้ ้ขึ ้นไปจะเป็ น
ลำดับของชันหิ ้ นบาง, nodular limestone ตังแต่ ้ หินปูนบริ สทุ ธิ์ไปจนถึงหินปูนเนื ้อดิน เนื ้อทรายแป้งจนถึงเนื ้อทราย สีตงแต่
ั ้ สีเทาถึงสีแดง มีฟอสซิล ชันบนสุ
้ ดนันเป็
้ นหินดินดานสีเทาเขียว Bunopas (1981)
อายุยคุ ออร์ โดวิเชียนถึงประมาณยุคคาร์ บอนิเฟอรัส ความหนามากกว่า 1075 m. เทียบเคียงได้ กบั Mibayataung Formation ของประเทศพม่า

• หมวดหินปูนท่ามะนาว (Tha Manao limestone)


หินปูน, หินโคลนเนื ้อปูน ส่วนล่างสุดเป็ นหินปูนซึง่ เป็ นชันหนา
้ โดยอุดมไปด้ วย chert nodules พบฟอสซิลของนอติลอยด์ ส่วนบน
เป็ นชันหิ
้ นบางของหินปูนซึง่ แทรกสลับกับหินทราย, หินควอตซ์ไซต์, หินฟิ ลไลต์ชนบาง ั้ ส่วนบนสุดเป็ นหินปูนเนื ้อโดโลไมต์สีเทาเข้ มถึงอ่อน
หรื อออกน้ำตาลเป็ นชันบางซึ
้ ง่ วางตัวอยูข่ ้ างใต้ อย่างต่อเนื่องกับชันหิ
้ นดินดานสีขาวของหมวดหินบ่อพลอย (Bo Phoi Formation)
Bunopas (1981) อายุยคุ ออร์ โดวิเชียน ความหนา 450 เมตร สะสมตัวในทะเลตื ้น เป็ นส่วนหนึง่ ของกลุม่ หินเจ้ าเณร พบฟอสซิล
Receptaculitids (Fisherites) and the Nautiloids ชนิด Georgina, Wutinoceras และ Armenoceras
• กลุม
่ หินเจ ้าเณร (Chao Nen group)
หินทราย, หินควอตซ์ไซต์, หินปูน และหินโคลนเนื ้อปูน Bunopas (1981) ยุคแคมเบรี ยนตอนปลายถึงยุคออร์ โดวิเชียน ความหนา 1050 เมตร

• หมวดหินควอร์ ตไซต์เจ้ าเณร (Chao Nen quartzite)


ชันหิ
้ นสีน้ำตาลอ่อน, สีเทาอ่อน, สีเทาเขียว หินทรายตะกอนขนาดปานกลางถึงละเอียดเป็ นชันชั
้ ดเจนและ หินควอตซ์ไซต์ แทรกสลับกับหินดินดานและหินฟิ ลไลต์และมีชนหิ
ั ้ นปูน
แทรกเล็กน้ อย และมีเศษเปลือกหอย อายุยคุ แคมเบียนถึงยุคออร์ โดวิเชียนตอนต้ น Bunopas (1981) ความหนามากกว่า 600 เมตร
ภาพจาก Aung, Aye & Cocks, L.. (2017). Chapter
14 Cambrian–Devonian stratigraphy of the
แผนทีแ ่ สดงการกระจายต ัวของหินในยุคแคมเบรียน ออร์โด Shan Plateau, Myanmar (Burma). Geological
ี น ซล
วิเชย ิ เู รียน ดีโวเนียน ในทีร่ าบสูงฉาน ประเทศพม่า Society, London, Memoirs. 48. 317-342.
หมวดหินทีส
่ ามารถเทียบ
เคียงได้

ภาพขยาย 2
วิธอ
ี า่ นออกเสย ี ง
กลุม่ หินนองกังยี (Naungkangyi
group)
กลุม ่ หินเวย์ตอ
๋ ง (Ngwetaung
group)
• หมวดหินป่ าแก่ (Pa Kae Formation)
ส่วนล่างสุดความหนา 34 เมตร เป็ นหินปูนสีแดง ไม่เป็ นชันชั
้ ดเจนและเป็ นชันบางมาก
้ เป็ นชันโคลนสี
้ แดงและพบเศษซากไครนอยด์จ ำนวนมาก พบเศษสโตรมาโตรไลต์ ส่วนบนหนา
32 เมตร โดยหลักเป็ น Nodular limestone ยุคออร์ โดวิเชียนตอนปลาย ถูกปิ ดทับอย่างต่อเนื่องด้ วยหมวดหินวังตง (Wang Tong Formation) Wongwanich and
others (1990)
• หมวดหินวังตง (Wang Tong Formation)
หินดินดานสีดำ พบฟอสซิลแกรปโตไลต์ในส่วนล่าง ถัดขึ ้นมาชันบนเป็
้ นหินทรายแป้งสีเทาเข้ มและหินดินดานซึง่ พบฟอสซิลแกรปโตไลต์เช่นกัน และแทรกสลับด้ วยหินเชิร์ตในส่วนบน
ยุคออร์ โดวิเชียนตอนปลายถึงยุคไซรูเลียนตอนต้ น ความหนา 50-110 m สภาพแวดล้ อมในทะเลลึก Wongwanich and others (1990)

• หมวดหินควนทัง (Kuan Tung Formation)


หินปูนสีเทา เป็ นชันหนาหรื
้ อชัน้ Massive ในส่วนล่างและค่อย ๆ เปลี่ยนเป็ นชันบางของหิ
้ นปูนสีแดง ชันล่
้ างความหนา 44 m. ชันกลางความหนา
้ 46 m.(ที่เป็ นหินปูนสีแดง)
ส่วนชันบนเป็
้ นสาหร่ายและมีเศษสโตรมาโทไลต์ ยุคไซลูเรี ยนตอนปลายถึงยุคดีโวเนียนตอนต้ น (Wongwanich and Boucot, 2011) ความหนาหมวดหินรวม 105 เมตร
สภาพแวดล้ อมระดับทะเลตื ้นถึงลึก

• หมวดหินป่ าเสม็ด (Pa Samed Formation)


ชันหิ
้ นดินดานสีดำ พบฟอสซิลเทนทาคิวไลต์ในส่วนล่าง และในส่วนกลางนันพบฟอสซิ
้ ลหินทราย, หินดินดานและหินปูน และส่วนบนนันพบหิ
้ นทรายที่มีหินดินดานสีแดงและสีเทา
ยุคดีโวเนียนตอนต้ นถึงยุคคาร์ บอนิเฟอรัสตอนต้ น (Agematsu and others, 2006; Wongwanich and others, 2002) ความหนา 167 - 567 m. สภาพ
แวดล้ อมระดับทะเลลึก

• หมวดหินควนกลาง(Khuan Klang Formation)


หินดินดานสีน้ำตาลแดงออกเทาแทรกสลับกับหินทราย หินทรายแป้ง และหินเชิร์ต พบฟอสซิลหอยสองฝา, แบรคิโอพอดและเศษของไทรโลไบต์ (Ueno and
Charoentitirat,2011) ยุคคาร์ บอนิเฟอรัสตอนต้ น ความหนา 120 เมตร เกิดในทะเล
หมวดหินทีส
่ ามารถเทียบ
เคียงได้

ภาพจาก Clive Burrett และ Mongkol Udchachon and


Hathaithip Thassanapak. (2016) Palaeozoic correlations
and the palaeogeography of the Sibumasu (Shan-Thai)
Terrane - a brief review. Research & Knowledge, 2(2), 1-
17.
หมวดหินทีส
่ ามารถเทียบ
เคียงได้

ภาพจาก Palaeozoic correlations and


the Palaeogeography of the
Sibumasu(Shan-Thai) Terrane -
a brief review
Clive Burrett
, Mongkol Udchachon
 and Hathaithip Thassanapak
• กลุม
่ หินราชบุรี (Ratburi Group)
พื ้นที่สว่ นมากนันจะพบลำดั
้ บหินปูนซึง่ เป็ นชันหิ
้ นบางและชันหิ
้ นหนาปานกลางที่ถกู ปกคลุมด้ วยหินปูนชันหนา
้ Massive โดยในบริ เวณที่ลำดับการสะสมสมบูรณ์นนั ้ ส่วนล่างจะเป็ นชัน้
หินปูนหนาที่มีตะกอนเนื ้อเม็ด และส่วนกลางจะเป็ นหินปูนชันบางถึ
้ งหนาปานกลาง และส่วนบนจะเป็ นหินปูนชันหนาปานกลางถึ
้ งหนาซึง่ ถูกปิ ดทับด้ วยลำดับของชันหิ
้ นปูนที่หนา Massive,
หินโดโลไมต์, หินอ่อน, และเนื ้อถูกแทนที่ด้วยหินปูน ยุคเพอร์ เมียนตอนกลางถึงตอนปลาย (Chaodumrong and others, 2004, 2007) ความหนาชันหิ ้ น 1450 เมตร สภาพ
แวดล้ อมทะเลตื ้นในระดับที่แสงแดดส่องถึง

สามารถแบ่งกลุม่ ย่อยได้ เป็ น โดย (Chaodumrong and others (2004, 2007)) ได้ ทำการแบ่งกลุม่ ย่อย
ออกเป็ น 5 หมวดหิน คือ Thung Nang Ling (หมวดหินทุง่ นางลิง) , Khao Muang Khrut Sandstone
(หมวดหินทรายเขาเมืองครุฑ), Phap Pha (หมวดหินพับผ้ า), Phanom Wang (หมวดหินพนมวัง), and Um
Luk Formations (หมวดหินอุ้มลูก)
เทียบเคียงระหว่างหมวดหินประเทศไทยและหมวดหินประเทศพม่าใน

ยุคเพอร์เมียนและยุคจูแรสซก

หมวดหินปูนห้วย
หินฝน

หินปูนคาเมาคาลอ หมวดหินปูนพระกลุม
่ หิน
หมวดหิน ราชบุร ี
วอ
ี ะลอ
โดโลไมต์ชช ตารางจาก Stokes, R. B.
(1988). Correlation of the Permian
“Phawa Limestone” of Thailand with
the “Kamawkala Limestone” of Burma.
Journal of Southeast Asian Earth
Sciences, 2(1), 35–39.
• หมวดหินปูนพระวอ (Phra Woh Limestone)
ส่วนล่างเป็ นหินโดโลไมต์เนื ้อหยาบและหนา Massice ที่มีหินทรายเนื ้อควอตซ์แทรกเล็กน้ อย ส่วนบน 150 เมตรนันเป็
้ นหินปูนเนื ้อโดโลไมต์และหินเชิร์ด Bunopas (1981) ยุค
เพอร์ เมียนตอนกลางถึงตอนปลาย ความหนา 650 เมตร สภาพแวดล้ อมสะสมตัวในเขตของไหล่ทวีป เทียบเคียงได้ กบั หินปูนคาเมาคาลอ (Kamawkala Limestone) ในประเทศพม่า
(Stokes, 1988)

• หมวดหินปูนห้ วยหินฝน (Huai Hin Fon limestone)


หินปูนเนื ้อโคลนเป็ นชันชั
้ ดเจน (บริ เวณหน้ าเหมือง) และหินทรายเนื ้อปูนสลับชันกั
้ บหินดินดาน หินปูนและดินเหนียวปนปูน Bunopas (1981) อายุยคุ จูแรสซิก ความหนา 680
เมตร สะสมในทะเล

• หมวดหินดินดานห้ วยหินฝน (Huai Hin Fon shale)


หินทรายแป้งสีเทาเขียว, หินดินดาน, หินทราย สลับชันกั
้ บหินปูนที่พบฟอสซิล Posidonia sp.หินดินดานสีเทาเข้ มพบฟอสซิลแอมโมไนต์ อายุยคุ จูแรสซิก ความหนา 770 เมตร
สะสมในทะเล
โดยทัว่ ไปหินโดโลไมต์จะพบฟอสซิลได้ น้อย แต่วา่ จากการสำรวจของ Dr Vince
Campbell และนักศึกษาจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เมื่อปี 1972 พบว่าหน้ าเหมือง
แห่งหนึง่ ที่เป็ นหินโดโลไมต์มีฟอสซิลที่หลากหลายทังฟอสซิ
้ ลของแบรคิโอพอด เช่น
Leptodus sp. , Notothyris praelecta Reed , Phricodothyris sp. ,
ไครนอยด์, ฟองน้ำ, นอติลอยด์, ไบรโอซัว โดยฟอสซิลมีอายุอยูใ่ นช่วงเพอร์ เมียนคาดว่ามีอายุ
อยูใ่ นช่วง Artinskian to Kazanian (Waterhouse 1973, Yangadi in
Toriyama et al. 1975). และสามารถเทียบเคียงได้ กบั หินปูนคาเมาคาลอ
(Kamawkala Limestone) ในประเทศพม่า ซึง่ สามารถเทียบเคียงได้ กบั หมวดหินปูน
พระวอ (Phra Woh Limestone)
ภาพจาก Biostratigraphic Correlation of Marine Jurassic
Rocks within Thailand and Southeast Asia Meesook, A
and J.A.Grant-Mackie
• Mai Hung Formation (หมวดหินไม ้ฮุง)
• lower Middle Jurassic (Aalenian) Well-bedded sandy limestone with oncolites
in the lower part; massive bedded in the middle part; and sandy limestone in
the upper part Meesook and Grant-Mackie (1996), Meesook and Saengsrichan
(2011) ความหนา 40-70 m สะสมตัวในทะเลตืน ้
• Kong Mu Formation (หมวดหินกองมู)
• lower Middle Jurassic (Aalenian) or younger Mainly fine- to medium-grained
arkosic sandstone with slightly calcareous cement in the lower part Meesook
and Grant-Mackie (1996), Meesook and Saengsrichan (2011) ความหนา 65 m
สะสมตัวในทะเลตืน ้
Bender(1983) ได้ กล่าวถึงชันหิ ้ นยุคจูแรสซิกในประเทศพม่าว่ามีฟอสซิลที่เกี่ยวข้ องกับทังทะเลและบนบก
้ โดยในพื ้นที่รัฐฉานใต้ นนพบฟอสซิ
ั้ ล Tmetoceras sp. ซึง่ สามารถ
เทียบเคียงชันหิ
้ นช่วง Aalenian (จัดอยูใ่ นยุคจูแรสซิกตอนกลาง 174.1 ถึง 170.3 ล้ านปี ก่อน) ในพื ้นที่แม่สอด (von Braun and Jordan, 1976) และในบริ เวณใกล้ เคียง
พรมแดนไทยพม่าก็มีชนหิ
ั ้ นในยุคจูแรสซิกตอนต้ นซึง่ สามารถเทียบเคียงกันได้ โดยตรง บริ เวณระหว่างเมือง Namru (น้ำรู) และ Lashio (ลาชู) ในเขตรัฐฉานตอนเหนือ La TOUOiE
(1913) ได้ บรรยายถึงชันหิ
้ นยุคจูแรสซิก ชื่อ "Namyau Limestones" (หินปูนน้ำเยา) ว่าพบเป็ นกลุม่ Brachiopod fauna
ในเขตตะวันตกของยูนนานและทางเหนือของรัฐฉานนันมี
้ การกระจายตัวของชุดหินน้ำเยา (Namyau series) และชันหิ ้ นหลิ่วเวิ ้น (Liuwun beds) เป็ นชันหิ ้ นในยุคจูแรสซิก
ที่เกิดในทะเลจากการตรวจสอบอายุของฟอสซิลหอย (Reed, 1936) โดยใกล้ เมืองกะลอนันเป็ ้ นบริ เวณของชุดหินลอยอันที่มีชนถ่
ั ้ านหินซึง่ พบว่ามีฟอสซิลพืชในยุคจูแรสซิกและฟอสซิล
Alectryonia (สัตว์จำพวกมอลัสกาชนิดหนึง่ ) โดยคาดว่ามีอายุอยูใ่ นช่วงจูแรสซิกตอนกลางถึงตอนปลาย ชันหิ
้ นยุคจูแลสซิกซึง่ เกิดในทะเลนันพบในบริ
้ เวณอำเภอแม่สอดและจังหวัด
กาญจนบุรีใกล้ บริ เวณพรมแดนประเทศไทย-พม่า ส่วนบนของกลุม่ หินแม่เมยนันพบฟอสซิ
้ ลในยุคจูแรสซิกตอนต้ นของ Pseudolioceras (สัตว์จำพวกมอลัสกาชนิดหนึง่ ), ฟอสซิลในยุคจู
แรสซิกตอนกลางของ Tmetoceras (Ammonoidea ชนิดหนึง่ ), ฟอสซิลในยุคจูแรสซิกตอนปลายของ Epimayaites (Ammonoidea ชนิดหนึง่ ) และเป็ นชันหิ ้ นที่ถกู ปิ ด
ทับอย่างไม่ตอ่ เนื่องด้ วยชันหิ
้ นแดงกะลอ (Braun and Jordan, 1976) และบริ เวณถัดไปก็จะพบฟอแรมมินิเฟอร่าในยุคจูแรสซิก
โดยสาเหตุที่เทียบเคียงกับชันหิ
้ นยุคจูแรสซิกของไทยได้ ยากนันเนื
้ ่องจากว่าหอยสองฝา 68 สปี ชีส์จากหมวดหินน้ำเยา (Namyau series) Healey (1908) โดยมีเพียงสปี ชีส์
Astarte sp. ที่พบได้ ทงในประเทศไทยและประเทศพม่
ั้ า ส่วนหอยสองฝาอีก 63 สปี ชีส์นนมี
ั ้ ความแตกต่างกับที่พบในประเทศไทยค่อนข้ างมากดังนันคาดว่
้ าอายุที่พบก็น่าจะมีความแตก
ต่างกันด้ วย (Reed, 1931, 1936)
การกระจายตัวของหิน
Granitoids
ในประเทศพม่า

ภาพจาก Myanmar
Gold Geology Report
Collection by Myo
Aung Ex-Exploration
Geologist
จาก Michael P. Searle, Laurence J. Robb, Nicholas J. Gardiner,
2016. "Tectonic Processes and Metallogeny along the
Tethyan Mountain Ranges of the Middle East and South Asia
(Oman, Himalaya, Karakoram, Tibet, Myanmar, Thailand,
Malaysia)", Tectonics and Metallogeny of the Tethyan
Orogenic Belt,

ข้ อมูลหิน Central Granitoid Belt


หินแกรนิตที่อดุ มด้ วยแร่ดีบกุ (Mitchell, 1977) the back-arc tin granitoid belt (Mitchell, 1981) และ Central Granitoid Belt นันมี
้ อายุอยูใ่ นช่วงยุคครี เท
เชียสตอนปลายถึงสมัยอีโอซีนตอนต้ น โดยตัวอย่างเหมืองที่สำคัญ คือ เหมืองเมชี (Mawchi mine) และเหมืองเฮอมิงยี (Hermyingyi mine)
ตารางคุณสมบัตแ ิ ละชว่ งอายุของหิน Central
Granitiod Belt
จากการตรวจสอบด้ วยวิธีการตรวจวัดไอโซโทปนันหิ
้ น

สมัยอีโอซน แกรนิตในเขต Slate belt มีอายุดงั ตารางที่ 6.1


สมัยอีโอซน ที่ ภูเขาเมพอลอ (Mawpalaw Taung) ใกล้ เมือง
ตานพยูซะยะ (Thanbyuzayat) ซึง่ ตังอยู ้ ท่ างใต้ ของ
เมืองมะละแหม่ง (Moulmein) ได้ มีการรายงานโดย
สมัยอีโอซนี
Mi Paik and Khin Zaw (2014) ว่าจากการ
สมัยอีโอซน ี ตรวจสอบโดยใช้ วิธีไอโซโทปเซอร์ คอน ยูเรเนียม-ตะกัว่ ได้
อายุของหินเพกมาไทต์ที่มีแร่ดีบกุ อยูท่ ี่ประมาณ 106.8
สมัยอีโอซน ี -พาลีโอซน ี
± 1.8 ล้ านปี ซึง่ มีความเกี่ยวข้ องกับหินมัสโคไวต์-
สมัยพาลิโอซน ี ไบโอไทต์แกรนิตไทป์ S ที่เป็ นแหล่งของกราเน็ต และเป็ น
หลักฐานดีบกุ ที่เก่าที่สดุ ในเขต Slate belt
สมัยพาลิโอซน ี ตารางจาก Mitchell, A.
(2018). Granites, Minor
สมัยพาลิโอซน ี Intrusions, and
Mineralization in the
Slate Belt, Phayaungtaung,
สมัยพาลิโอซน ี
and Gaoligong Range.
Geological Belts, Plate
ี -พาลีโอซน
สมัยอีโอซน ี Boundaries, and Mineral

ี Deposits in Myanmar, 155–


สมัยพาลิโอซน
199.
ี สตอน
ยุคครีเทเชย
ปลาย
สมัยพาลิโอซน ี

ี สตอน
ยุคครีเทเชย
ปลาย
ยุคครีเทเชยี สตอน
ปลาย
ยุคครีเทเชย ี สตอน
ปลาย

ี สตอน
ยุคครีเทเชย
ปลาย ภาพจาก Mitchell, A.
ยุคครีเทเชยี สตอน (2018). Granites,
ปลาย Minor Intrusions, and
ยุคครีเทเชย ี สตอนต ้น Mineralization in the
Slate Belt,
ี สตอนต ้น
ยุคครีเทเชย Phayaungtaung, and
Gaoligong Range.
ี สตอนต ้น
ยุคครีเทเชย Geological Belts,
Plate Boundaries, and
ิ ตอนปลาย
ยุคจูแรสซก Mineral Deposits in
Myanmar, 155–199.
ตำแหน่งเมือง ตำแหน่งเมือง Kyaikto (ไช
Dawei (ทะวาย) โถว)
ตำแหน่งเมือง
ตำแหน่ งเมือง Mawchi (เมชิ) Padatchaung (พะดัด
ชอง)

ตำแหน่งเมืองในตาราง
หน ้าทีผ
่ า่ นมา

ตำแหน่งเมือง Mawlamyine (มะละ ตำแหน่งเมือง Nyaunggyat ตำแหน่งเมือง Payangazu


แหม่ง) (นองก๊ าด) (พระยากานซู)
ต ัวแทนหิน Eastern Granitoid ตารางจาก Wang, Weiqing & Dong, Guochen & Zhuanrong, Sun & Dong, Pengsheng &
Pan, Yanning & Yanick, & Ketchaya, Yanick & Lemdjou, Yanick Brice & Geng, Jianzhen.

Belt
(2020). The genesis of Eocene granite‐related Lailishan tin deposit in western Yunnan,
China: Constraints from geochronology, geochemistry, and S–Pb–H–O isotopes.
Geological Journal.
ี สตอนต ้น
ยุคครีเทเชย

สมัยอีโอซน

สมัยอีโอซน

บริ เวณเมืองเถิงซง (Tengchong)-เมืองเหลียงเห่อ (Lianghe) เป็ นบริ เวณที่มีหินแกรนิตในสมัยเทอร์ เชียรี่ ตอนต้ น, หินแกรนิตยุคครี เทเชียสตอนต้ นและตอนปลาย, หินแกรโนไดออ
ไรต์และหินไบโอไทต์แกรนิต ซึง่ ส่วนมากขนาดผลึกปานกลาง โดยมีการตกผลึกของดีบกุ ที่เทเหยาชาน (Tieyaoshan) และที่สีปานชื่อ (Qipanshi) หินแกรนิตยุคครี เทเชียสตอน
ปลายแบ่งออกเป็ น 2 หน่วยหลัก คือที่เซี่ยวหลงเห่ (Xiaolonghe) และหยุงเฟิ นชาน (Yunfengshan) จากการตรวจสอบอายุด้วยวิธีไอโซโทปของเซอคอน ยูเรเนียม-ตะกัว่ ได้
อายุอยูท่ ี่ 67.8±1.4 ล้ านปี และ 76.0± 1.0 ล้ านปี (อยูใ่ นยุคครี เทเชียสตอนปลาย) (Xu et al. 2011). และจากการตรวจสอบอายุที่ ซิ่งสี (Xinqi) ไล่ลี่ย์ชาน
(Lailishan) และไบหัวน่อ (Baihuanao) ด้ วยวิธีเดียวกันได้ อายุตงแต่ ั ้ 52.1±0.8 ถึง 56.3±1.1 Ma (Xu et al. 2011) (อยูใ่ นสมัยอีโอซีน)
ตำแหน่ งภูเขา Lailishan
ตำแหน่งภูเขา Tleyaoshan (เทเหยา
ชาน )
ข้ อมูลหิน Eastern Granitoid Belt
วัดอายุได้ อยูใ่ นช่วง 207 ถึง 216 ล้ านปี (รอยต่อยุคไทรแอสซิกกับยุคเพอร์ เมียน) ที่หินแกรนิตเคียงตง (Kyaing Tong granites) ส่วนหินแกรนิตทาชีเล็ก (Tachileik
granites) มีอายุอยูใ่ นช่วง 246 ถึง 250 ล้ านปี (ยุคเพอร์ เมียน) เป็ นหิน Biotite monzogranites และหิน Granodiorites โดยทังสองเป็ ้ นหินแกรนิตชนิด I ไทป์ เกิดขึ ้น
พร้ อมกระบวนการ continental arc ช่วงยุคเพอร์ เมียน และกระบวนการ syn-collisional magmatism ในช่วงยุคไทรแอสซิกตอนต้ น โดยทังสองแทรกดั ้ นผ่านหินฐานซึง่ เป็ นหิน
ในยุคพรี แคมเบียน และตะกอนในมหายุคพาลีโอโซอิก (MGS, 2014)

• หินแกรนิตเคียงตง (Kyaing Tong granites) เป็ นหิน Biotite monzogranite มี Medium , Fine Texture พวกแร่รอง แมกนีไทต์ เซอร์ คอน อะพาไทต์ หินมอนโซ
ไนต์ ซีโนไทม์

• หินแกรนิตทาชีเล็ก (Tachileik granites) เป็ นหินแกรโนไดโอไลต์มี Medium , Fine Texture พวกแร่รอง แมกนีไทต์ เซอร์ คอน อะพาไทต์ หินมอนโซไนต์ ซีโนไทม์ และก็มีหิน
Biotite monzogranite มี Fine texture แร่รอง แมกนีไทต์ เซอร์ คอน อพาไทต์

• หินแกรนิตอยด์ทวังเพ็ง (Tawngpeng Granitoid) (La Touche, 1913) ในพื ้นที่รัฐฉานเหนือเป็ นบริ เวณที่มีการแทรกดันของหินอัคนีที่ใหญ่มาก โดยแทรกดันผ่านกลุม่ หินช่วง
มะยี (Chaung Magyi Group) ซึง่ มีอายุมหายุคพรี แคมเบียน โดยหินแกรนิตอยด์ทวังเพ็ง (Tawngpeng Granitoid) ประกอบด้ วยแร่ควอตซ์, แพลจิโอเคลส, ออร์ โทเคลส,
ไมโครไคลน์, มัสโคไวต์, ไบโอไทต์ มีเนื ้อหินที่หยาบ เนื ้อหินแบบ Porphyritic texture โดย Phenocrysts อาจใหญ่ถงึ 3 เซนติเมตร และพบแร่สฟี น, อพาไทต์ และเซอร์ คอน
เป็ นแร่รอง
ข้อมูล Western Granitoid Belt
มีหนิ แกรนิตอยด์ทแ ี่ ทรกดันตัวหลายขนาดซงึ่ เป็ นหินภูเขาไฟทีม ี ายุน ้อย (ซงึ่ โดย
่ อ
หลักเป็ น Central Volcanic Arc ของประเทศพม่า) โดยเป็ นแนวตัง้ แต่เมืองตวงต๋อง
ลอง (Taungthonlon) ไปจนถึงเมืองวันโท (Wuntho) และเมืองซาเลจิ (Salingyi) และ
บริเวณโพพา (Popa) หินแกรนิตซาเลจิ (Salingyi Granite) มีสเี ทาถึงสช ี มพู มีเนือ้ หิน
ขนาดปานกลาง มีแร่หลักคือแร่ควอตซ,์ ออร์โทเคลส, ไบโอไทต์ และฮอร์นเบลนด์
เล็กน ้อย พืน
้ ทีส
่ งู ซาเลจิ (Salingyi Uplands) เป็ นพืน้ ทีท
่ ม
ี่ ที งั ้ หินอัคนีและหินแปร
ปะปนกันอย่างซบ ั ซอนแทบทั
้ ง้ หมดนัน
้ มีอายุยคุ เทอร์เชย ี รี่
ี ส
ยุคครีเทเชย
ตอนต้น

สม ัยไมโอ

ซน
ตัวอย่างรหัส SC034 เป็ นพนังแทรกดัน ใกล้ เมือง(ซาเบตวง) Sabetaung โดยอยูใ่ กล้
เคียงกับเหมืองทองแดงทางตะวันของแม่น้ำชิน-ดวีน (Chindwin River) โดยประกอบ
ด้ วยหินแอนดีไซต์ และหิน Dacitic porphyry ที่แทรกดันผ่านหินทรายสมัยไมโอซีนตอน
ต้ น, หินโคลน และกรวยหินกรวดเหลี่ยมซึง่ เกิดจากการระเบิดของภูเขาไฟ (Kyaw Win
and Kirwin, 1998; Mitchell et al., 2011) และจากการตรวจสอบอายุโดยใช้
ไอโซโทปเซอร์ คอน ยูเรเนียม-ตะกัว่ พบว่าอายุ 13.6 ± 0.1 ล้ านปี (สมัยไมโอซีน)

ตารางจาก Mitchell, A.,


Chung, S.-L., Oo, T., Lin,
T.-H., & Hung, C.-H.
(2012). Zircon U–Pb ages
in Myanmar: Magmatic–
metamorphic events and the
closure of a neo-Tethys
ภาพจาก Trung, Nguyen & Duc, Nguyen &
ocean? Journal of Asian Nguyen, Minh & Thinh, Lam & D.D.A, Tuan
Earth Sciences, 56, 1–23. & Kim, Lavane. (2020). Addressing urban
water scarcity in Can Tho City amidst
climate uncertainty and urbanization.
Khaing, Kyaw & Yonezu, Kotaro &
Tindell, Thomas & Watanabe,
Koichiro & Aye, May. (2020).
Mitchell, A., Chung, S.-L., Oo, Vein Mineralogy and
T., Lin, T.-H., & Hung, C.-H. Hydrothermal Gold
(2012). Zircon U–Pb ages in Mineralization at the Kyaw Soe
Myanmar: Magmatic–metamorphic Thu Prospect in the Wabo
events and the closure of a neo- Deposit, Mandalay Region,
Tethys ocean? Journal of Asian Central Myanmar. Open Journal
Earth Sciences, 56, 1–23. ภาพจากhttps://www.wikiwand.com/ of Geology. 10. 137-154.
en/Geology_of_Myanmar
้ ทีศ
ภาพพืน ึ ษาในเขตเมืองซาเลจิ (Sa
่ ก

ภาพจาก Teza Kyaw , Pyae Phyo Han ,


Htay Maung Abstract , Zaw
Win.PETROLOGY OF IGNEOUS
ROCKS EXPOSED IN KHUNTHA-
MINDAW AREA, SALINGYI
TOWNSHIP. J. Myanmar Acad. Arts
Sci. 2020 Vol. XVIII. No.5A
หน่วยหินฮอร์ นเบลนด์ชีสต์ในพื ้นที่คาดว่าอายุเก่ากว่ายุคครี เทเชียส หินไดออไรต์เนื ้อปานกลางถึงหยาบมีสว่ นประกอบหลัก คือ แร่ควอตซ์ , เฟลด์สปาร์ , ฮอร์ นเบลนด์ โดยหินไดออไรต์จากการ
ตรวจสอบอายุด้วยวิธีไอโซโทปเซอร์ คอน ยูเรเนียม-ตะกัว่ พบว่าอายุ 105.3±1.7 ล้ านปี (ยุคครี เทเชียสตอนต้ น) (Mitchell, 2012) หินแกรนิตเนื ้อหยาบถึงปานกลาง แร่หลัก คือ แร่
ควอตซ์, เฟลด์สปาร์ และไบโอไทต์ รวมทังแร่ ้ ฮอร์ นเบลนด์เล็กน้ อย อายุจากการตรวจสอบจากแร่ไบโอไทต์นนอยู ั ้ ท่ ี่ 103±1 ล้ านปี (ยุคครี เทเชียสตอนต้ น) (United Nation, 1978)
หินแกบโบรเนื ้อหยาบ แร่หลัก คือ แร่ฮอร์ นเบลนด์, แร่เฟลด์สปาร์ และแร่จำพวกไพรอกซีน ส่วนหินบะซอลต์นนมี ั ้ อายุเก่าแก่กว่ายุคครี เทเชียส (United Nations, 1978) หินแอนดีไซต์
แพลจิโอเคลส มี Phenocryst เป็ นแร่ฮอร์ นเบลนด์ ซึง่ มีขนาดตังแต่ ้ 0.5 ถึง 4 มิลลิเมตร หินเดไซต์ มี Phenocryst เป็ นแร่ควอตซ์, เฟลด์สปาร์ และไบโอไทต์ ส่วนพนังแร่เพกมาไทต์
นันเนื
้ ้อผลึกใหญ่มากส่วนประกอบหลัก คือ แร่ควอตซ์และมีเฟลด์สปาร์ เล็กน้ อย (Nyaung bin aing taw ya)
ถ ้าแบ่งจำแนกตามชนิดหินแกรนิต
ภาพจาก Htun, Kyaw & Yonezu, ภาพจาก ORE GENESIS OF
Kotaro & Zaw Myint, Aung & Tindell, GRANITE-RELATED Sn-
Thomas & Watanabe, Koichiro.
W DEPOSIT IN TAGU
(2019). Petrogenesis, Ore
AREA, MYEIK REGION,
Mineralogy, and Fluid Inclusion
SOUTHERN MYANMAR
Studies of the Tagu Sn–W Deposit,
Myeik, Southern Myanmar. by KYAW THU HTUN
Minerals. 9. 654.
• 1.1 SLATE BELT GRANITES AS PART OF THE WESTERN GRANITE PROVINCE
หินแกรนิตในเขต Slate belt ซึง่ พบใน Shan Scarps ทอดยาวลงมายังภาคใต้ ของประเทศไทย

• FELSIC I-TYPE, OR A-TYPE GRANITES

เป็ นแหล่งเหมืองดีบกุ และทังสเตนใน Western Granite Province ของประเทศพม่า โดยลักษณะของหินแกรนิตที่พบนันเป็ ้ นหินแกรนิตที่มีแร่ไบโอไทต์ , มัสโคไวต์, ทัวร์ มารี น
และอาจพบการ์ เน็ตบ้ าง มีสายแร่เพ็กมาไทต์ที่มีมสั โคไวต์, เฟลด์สปาร์ , ควอตซ์, ทัวร์ มารี น และลักษณะเนื ้อหินนันมั
้ กจะไม่เป็ นเนื ้อเดียงกัน คือเป็ น Granite porphyries หรื อว่า
Porphyritic microgranites พบลักษณะ Foliated granites (หินแกรนิตคดโค้ ง) ในเขต Slate belt ในเขตตะนาวศรี (Taninthari) ที่ชายฝั่ งไกคามี (Kyaikkami),
ทะวาย (Dawei) และ เมืองเมอร์ กยุ (Mergui) และเมื่อหินแกรนิตแทรกดัน Slate belt เช่นที่หินแกรนิตพวงลอ (Paungdaw granite) จะทำให้ เกิดการแปรสภาพเป็ น
Sericite schist และ phyllitic mudstones
• I-TYPE AND MAGNETITE-SERIES GRANITES

เป็ นหินไดโอไรต์ พบกระจัดกระจายส่วนมากทางตะวันตกของ Slate belt Cobbing et al. (1992) ได้ รายงานว่า พบลักษณะของหินแกรนิตไทป์ I มากกว่าไทป์ S ในบริ เวณ
Western Granite Province ตัวอย่างเช่น หมวดหินจ๊ ากซุตวง (Kyauksu Taung Formation) ซึง่ เป็ นส่วนหนึง่ ของกลุม่ หินเมอร์ กยุ (Mergui Group) ที่เป็ นหิน
Diamictites ถูกแทรกดันโดยหินแกรโนไดออไรต์เยบุกซอน (Yebokson granodiorite) ทำให้ เกิดเป็ น Hornfels aureole Cobbing et al. (1992) และอีกตัวอย่าง
คือ หิน Hornblende granites และหิน from the ชายฝั่ งไกคามี (Kyaikkami (Amherst) coast) (Nyunt Htay et al. (1980, unpublished)), หิน
hornblende-biotite granites ในชายฝั่ งที่เมืองทวาย (Dawei)

• HORNFELS AUREOLES

ส่วนประกอบหลักเป็ นแร่แอนดาลูไซต์, คลอไรต์, หินไบโอไทต์ฮอร์ นเฟลด์

• GRANITES AND TIN MINERALIZATION IN THE GAOLIGONG RANGE MYANMAR AND THE TENGCHONG REGION OF
YUNNAN

กลุม่ หินเมอร์ กยุ (Mergui Group) ซึง่ โดยหลักเป็ นหิน Diamictite อยูท่ างตะวันตกของเทือกเขาเกาลีกง (Gaoligong Range) โดยถอดยาวเข้ าไปในจีนผ่านแผ่นเถิงชง
(Tengchong block) in เขตยุนนาน (Yunnan) Wang et al. (2014). พบการแทรกดันหินแกรนิตยุคครี เทเชียสตอนปลายถึงสมัยอีโอซีนตอนต้ นแทรกดันผ่านชันหิ ้ นเดิม และ
เป็ นแหล่งแร่ดีบกุ ที่สำคัญของประเทศจีน ส่วนหินแกรนิตเคียงตง (Kyaing Tong granites) ส่วนหินแกรนิตทาชีเล็ก (Tachileik granites) มีเป็ นหิน Biotite
monzogranites และหิน Granodiorites โดยทังสองเป็ ้ นหินแกรนิตชนิด I ไทป์
ตำแหน่งเมือง Mawchi
ตำแหน่งจังหวัด (เมช)ิ ตำแหน่งเมือง Padat ตำแหน่งเหมือง
Tanintharyi (ตะนาวศรี) Myaung (พะดัดเมือง) Hermyingyi mine (เหมือง
ตำแหน่งเมือง เฮอร์ มิงยี่)
Nyaunggyat (นองก๊ าด)

ตำแหน่งเมือง Mergui (เม


ตำแหน่งเมือง Kyaikkami (ไก อร์กย
ุ )
คามี)

ตำแหน่งเหมือง Taungphila
mine (เหมืองทังพิลา่ )
ตำแหน่งเขตป่ า ตำแหน่งเมือง Kyaing Tong (เกียงตง)
ตำแหน่งเมือง Tachileik (ทา
สงวน Yebokson (เย
ชิเล็ก)
บุกซอน)
ภาพแสดงชว่ งเวลาตาม
ธรณีกาลทีเ่ กิด
ปรากฏการณ์ทาง
ธรณี วท
ภาพจากิ ยาในประเทศพม่ า
A Preliminary Synthesis of
the Geological Evolution of Burma
with Refernce to the Tectonic
Development of Southeast Asia
Geol. Soc. Malaysia Bulletin 6,July
1973;pp. 87-116 โดย Maung Thein
ตัวอย่างภูเขาไฟในประเทศพม่า เช่น Mount Loimye (ภูเขาไฟลอยเมีย) เป็ นกรวยภูเขาไฟสลับชัน้ ลักษณะวางตัวอยูบ่ น
ฐานหินแกบโบรและฐานหินตะกอนซึง่ เป็ นหินปูน ลำดับหินภูเขาไฟเป็ นหินทัฟฟ์สีเขียวแก่ ตะกอนถูกพนังหินแกบโบรแทรกดัน และ
ถูกปกคลุมด้ วยหินแอนดีไซต์, หินบะซอลต์ และหินทัฟฟ์ รวมทังขี ้ ้เถ้ าภูเขาไฟ, agglomerate (หินกรวดเหลี่ยมภูเขาไฟ) บาง
ที่ก็พบ Pillow lavas เป็ นชันความหนากว่
้ าร้ อยเมตร ซึง่ มีอย่างต่ำ 5 รอบการไหลของลาวา พบหินกรวดเหลี่ยมภูเขาไฟ แม้ วา่
ปั จจุบนั จะไม่มีภมู ิประเทศที่เป็ นกรวยภูเขาไฟสลับชันให้
้ เห็นอย่างชัดเจนแล้ ว
ที่ราบสูงวันโท (Wuntho Massif) มีจดุ สูงสุด คือ ภูเขาเมียงตอง (Mt. Maingthon) ระดับความสูงอยูท่ ี่ 1672
m.
จากการประมาณอายุของ Mawgyi (มอวยี) Andesitic Intrusions ได้ 70.7±4.2 ล้ านปี (ยุคครี เทเชียสตอน
ปลาย)
และเป็ นแหล่งที่เกี่ยวข้ องกับการสะสมตัวของเหมืองทองคำและทองแดงแบบ Porphyry
ภาพแสดงการแบ่งบริเวณ
ต่าง ๆ ในประเทศพม่าตาม
ภาพแสดงอายุของหินแกรนิต ล ักษณะทางธรณีวทิ ยา
ในบริเวณต่าง ๆ ของประเทศ
พม่า

ภาพจาก Mitchell, A., Htay, M.


T., & Htun, K. M.
(2021). Middle Jurassic arc
reversal, Victoria–Katha
Block and Sibumasu Terrane
collision, jadeite formation
and Western Tin Belt
generation, Myanmar.
Geological Magazine, 1–17.
แผนภาพบ่งบอกถึงชว่ งเวลาของการแปร
สภาพ, การโผล่ขน ึ้ มาของแมกม่า, การ
ตกผลึกของแมกม่าทีส ่ ำคัญ
เสนฟ้ ้ า คือ Marine sedimentary rocks
and timimg of suture zone clousure
สส ี ม้ คือ I-type (Calc-alkali) magmatism
สเี หลือง คือ Regional Barrovian-type
metamorphism
สช ี มพู คือ S-type (more peraluminous)
granite ซงึ่ เกิดในชว่ งเปลือกโลกชนกัน

จาก Michael P. Searle, Laurence J. Robb, Nicholas J. Gardiner,


2016. "Tectonic Processes and Metallogeny along the
Tethyan Mountain Ranges of the Middle East and South Asia
(Oman, Himalaya, Karakoram, Tibet, Myanmar, Thailand,
Malaysia)", Tectonics and Metallogeny of the Tethyan
Orogenic Belt
แหล่งทรัพยากรแร่ในประเทศพม่า

ภาพจาก Myanmar
Gold Geology Report
Collection by Myo
Aung Ex-Exploration
Geologist
แผนทีแ่ สดงความสมั พันธ์ระหว่างชนิด
ของเหมืองแร่กบ
ั แนวหิน Granitoid หลัก
ของประเทศพม่า ภาพจาก Myanmar
Gold Geology Report Collection by
Myo Aung Ex-Exploration Geologist
ี่ ำคัญของ
ภาพแหล่งแร่ทส
ประเทศพม่า

ภาพจาก Myanmar
Gold Geology Report
Collection by Myo
Aung Ex-Exploration
Geologist
แหล่งปิ โตรเลียมใน
ประเทศพม่า

ภาพจาก Ridd, M. F., & Racey, A.


(2015). Chapter 4 Onshore
petroleum geology of Myanmar:
Central Burma Depression.
Geological Society, London,
Memoirs, 45(1), 21–50.
ภาพแสดงแหล่งปิ โตรเลียมของประเทศพม่าที่
สะสมตัวอยูบ
่ นพืน
้ ทวีป

ภาพจาก Ridd, M. F., & Racey, A.


(2015). Chapter 4 Onshore
petroleum geology of Myanmar:
Central Burma Depression.
Geological Society, London,
Memoirs, 45(1), 21–50.
ภาพแสดงการผลิตปิ โตรเลียมของประเทศพม่า
ั้ นต่าง ๆ
ในชนหิ
และล ักษณะสภาพแวดล้อมโบราณ

ภาพจาก Ridd, M. F., & Racey, A.


(2015). Chapter 4 Onshore
petroleum geology of Myanmar:
Central Burma Depression.
Geological Society, London,
Memoirs, 45(1), 21–50.
ภาพแสดงการผลิตปิ โตรเลียมของประเทศพม่า
ั้ นต่าง ๆ
ในชนหิ

ภาพจาก Harun, Farieza & Zainetti, Francesco &


Cole, Gary. (2014). The Petroleum System of the
Central Burma Basin, Onshore Myanmar.
ภาพบริเวณทีม ี ารสำรวจแหล่งปิ โตรเลียม
่ ก
ในประเทศพม่า

ภาพจากhttps://www.bangkokpost.com/
business/356692/drilling-for-details
ตารางแสดงคุณสมบัตช ั ้ หินทีเ่ ป็ นแหล่งกักเก็บปิ โตรเลียม
ิ น
่ ำคัญของประเทศพม่า
ทีส
ตารางจาก Ridd, M. F., & Racey, A. (2015). Chapter 4 Onshore petroleum geology of
Myanmar: Central Burma Depression. Geological Society, London, Memoirs, 45(1), 21–50.
สรุปธรณีวท
ิ ยาประเทศพม่าแบบคร่าว ๆ
ั้ นในบริเวณทีส
ภาพชนหิ ่ ำค ัญคร่าว ๆ

ภาพแสดงตำแหน่งของ Sinoburman
Highland, Central Burma Basin ภาพ
จากhttps://www.geoexpro.com/articl
es/2019/03/the-geology-and-
hydrocarbon-potential-of-myanmar

ภาพจาก Myanmar Gold Geology Report Collection by Myo Aung Ex-


Exploration Geologist
ภาพแสดงวิว ัฒนาการของแผนเปลือกโลกใน
ภาพจาก Mitchell, A., Htay, M. T.,
่ งเวลาต่าง
บริเวณ Mogok metamorphic belt ในชว
& Htun, K. M. (2021)
ความรู้เสริม
Mogok metamorphic belt (MMB) ความยาวกว่า 1450 กิโลเมตร ความกว้ าง 40 กิโลเมตร เป็ นหิน
Regional metamorphic rock ซึง่ โดยมากเป็ นหินไคยาไนต์และซิลลิมาไนต์ชีสต์ รวมทังหิ
้ นแกรนิต
และยังแบ่งรูปแบบทางธรณีวิทยาของประเทศพม่าได้ อีกรูปแบบนึง
1. Eastern province
ยุคคาร์ บอนิเฟอรัสตอนปลายถึงยุคเพอร์ เมียนตอนต้ นเกิดการสะสมตัวหิน Diamictites สะสมเป็ น Slate belt
2. Western province east of the Sagaing Fault
ประกอบด้ วยหินไคยาไนต์ชีสต์และหินควอตซ์ไซต์ เมื่อไล่ไปทางตะวันออกจะเป็ นหินที่แปรสภาพต่ำลงมาเป็ นหินชีสต์ที่มี
แร่ไมกา, คลอไรต์, ทัลก์ในบริ เวณ Tagaung-Myitkyina belt ซึง่ บริ เวณ belt นี ้ถูกปิ ดทับด้ วย Upper
Triassic turbidites, serpentinized harzburgites หินบะซอลต์, หินเชิร์ต สะสมใน Syncline ถูกปิ ด
ทับด้ วยรอยชันไม่
้ ตอ่ เนื่องของหินปูนยุคครี เทเชียสตอนกลาง (Clegg, 1941)
3. Western province west of the Sagaing Fault
หินชีสต์ถกู ปิ ดทับด้ วย Upper Triassic turbidites และก็มี Hornblende pegmatites ในยุคจูแรสซิก
pillow basalts, amphibolites ถูกปิ ดทับด้ วยรอยชันไม่้ ตอ่ เนื่องของหินปูนยุคครี เทเชียสตอนกลาง
4. Active plate boundaries
อยู่ระหว่าง Sagaing Fault และ active subduction zone west of Myanmar

ภาพแสดงวิว ัฒนาการของแผนเปลือกโลกในภาพจาก Mitchell, A., Htay, M. T., &


่ งเวลาต่
บริเวณ Mogok metamorphic belt ในชว Htun,
าง K. M. (2021)
ภาพแสดงวิว ัฒนาการของแผนเปลือกโลก
ประเทศพม่า

ภาพจาก Gardiner, N. J., Robb, L. J.,


Morley, C. K., Searle, M. P., Cawood, P.
A., Whitehouse, M. J., … Myint, T. A.
(2016). The tectonic and metallogenic
framework of Myanmar: A Tethyan mineral
system. Ore Geology Reviews, 79, 26–45.
ภาพจาก Ningthoujam, P. S.,
Dubey, C. S., Guillot, S.,
Fagion, A.-S., & Shukla, D.
P. (2012). Origin and
serpentinization of
ultramafic rocks of Manipur
Ophiolite Complex in the
Indo-Myanmar subduction zone,
Northeast India. Journal of
Asian Earth Sciences, 50,
128–140.

ภาพแสดงวิว ัฒนาการของแผนเปลือกโลก
ประเทศพม่า ในการเกิด Ophiolite ซงึ่ พบหล ักฐาน
การสะสมต ัวทางภาคเหนือของประเทศพม่า
ภาพแสดงวิว ัฒนาการของแผนเปลือกโลก
ประเทศพม่า ในการเกิด Ophiolite ซงึ่ พบหล ัก
ฐานการสะสมต ัวทางภาคเหนือของประเทศ
พม่า
ภาพจาก N Ovung, T., Ghosh,
B., & Ray, J.
(2020). Petrogenesis of
neo-Tethyan ophiolites
from the Indo-Myanmar
ranges: a review.
International Geology
Review, 1–13.

ภาพจาก Verencar, A., Saha, A.


Ganguly, S., & Manikyamba, C
(2020). Tectono-magmatic
evolution of Tethyan oceanic
lithosphere in supra
subduction zone forearc
regime: Geochemical
fingerprints from crust-mant
sections of Naga Hills
Ophiolite. Geoscience
Frontiers.
ภาพหน้าต ัดภาคเหนือของประเทศพม่า แสดงให้เห็นถึง Ophiolites และหล ักฐาน
กระบวนการเคลือ่ นทีข
่ องแผ่นเปลือกโลกทีเ่ กีย
่ วข้อง

ภาพจาก Acharyya,
S. K.
(2015). Indo-
Burma Range: a
belt of
accreted
microcontinent
s, ophiolites
and Mesozoic–
Paleogene
flyschoid
sediments.
International
Journal of
Earth
Sciences,
104(5), 1235–
1251.
ภาพหน้าต ัดหินในบริเวณประมาณละติจด ู ที่ 21 องศาเหนือของประเทศพม่า ภาพจาก Myanmar Gold Geology Report
Collection by Myo Aung Ex-Exploration Geologist
ภาพโมเดลอธิบายปรากฏการณ์ทางธรณีวท
ิ ยาทีเ่ กิดขึน
้ ในพืน
้ ที่ Central Basin ของประเทศพม่า ภาพจาก Naing Maw
Than, Kyi Khin, & Myint Thein. (2017). Chapter 7  Cretaceous geology of Myanmar and
Cenozoic geology in the Central Myanmar Basin. Geological Society, London, Memoirs,
48(1), 143–167.
สรุปธรณีวท
ิ ยาประเทศไทยแบบคร่าว
ภาพแผนทีท
่ างธรณีวท
ิ ยาของ
ประเทศไทย

ภาพจาก PALEOZOIC SUCCESSION IN THAILAND WORKSHOP


ON STRATIGRAPHIC CORRELATION OF THAILAND AND
MALAYSIA Haad Yai, Thailand 8-10 September, 1983 Sangad
ตารางแสดงชนหิ ั้ นมหายุคพาลีโอโซอิกทีส
่ ำค ัญในพืน
้ ที่
ต่าง ๆ ทว่ ั ประเทศไทย
• Phuket series (หินสมัยภูเก็ต) เป็ นคำเรียกของ Tarutao group (กลุม
่ หินตะรุเตา)
เนือ
่ งจากสามารถเทียบเคียงกันได ้
• Kanchanaburi series (หินสมัยกาญจนบุร)ี เป็ นคำเรียกของ Tanaosri group (กลุม ่
หินตะนาวศรี)
• Lansang gneiss complex (หินไนสล ์ านสางคอมเพล็กซ)์
หินไนส์ที่มีเนื ้อหลายขนาดและมีผลึกเฟลด์สปาร์ ใหญ่ชดั เจน, ชันสะสมชั
้ ดเจนของหินแคล์กซิลิกเกต, หินเนื ้อควอตซ์, หินมิกมาไทต์ และหินเพกมาไทต์ Campbell (1973) อายุ
มหายุคพรี แคมเบียน ความหนาประมาณ 3500 เมตร

• Sukhothai Group (กลุม่ หินสุโขทัย) เป็ นคำเรี ยกของ Thung Saliam Group (กลุม่ หินทุง่ เสลี่ยม) ลำดับชัน้
หินของหินทัฟฟ์, หินปูน, หินอ่อน และหินเชิร์ต อายุยคุ ไซลูเรี ยนถึงยุคดีโวเนียน Bunopas (1981, 1982)

• Pak Chom chert (หมวดหินเชิร์ตปากชม)


หินดินดานและหินเชิร์ต Bunopas (1981) อายุยคุ ไซลูเรี ยนถึงประมาณยุคดีโวเนียนตอนปลาย (Sashida and others, 1993)

• Mae Hong Son Formation (หมวดหินแม่ฮ่องสอน)


เป็ นชันหิ
้ นเชิร์ตสีดำหรื อสีน้ำตาลและมีหินทราย, หิน Subgreywacke, หินดินดานสีเทา และหินเชิร์ตแทรกชัน้ บางครัง้ พบชันหิ
้ นปูนด้ วย เป็ นชันชั
้ ดเจน Bunopas (1981)
อายุยคุ ไซลูเรี ยนตอนปลายถึงยุคคาร์ บอนิเฟอรัส ความหนา 500 เมตร สภาพแวดล้ อมชายฝั่ งทะเลตื ้น
• Tanaosri group (กลุม
่ หินตะนาวศรี)
หิน Greywacke, หินทรายแป้ง, หินโคลน และหิน Pebbly mudstone ยุค Devonian-Carboniferous Javanaphet (1969)

• Dan Lan Hoi Group (กลุม่ หินด่านลานหอย)


หินกรวดเหลี่ยมภูเขาไฟสีแดงและสีเขียว, หินทัฟฟ์ และหินทรายเนื ้อทัฟฟ์, หินทรายสีแดงและสีเทา, หินทรายแป้ง และหินดินดาน Bunopas (1981) อายุยคุ คาร์ บอนิเฟ
อรัส ความหนา 1600 เมตร สภาพแวดล้ อมสะสมใน Back-arc

• Phrae Group (กลุม่ หินแพร่ )


หินกรวดเหลี่ยมภูเขาไฟ, หินกรวดมน, หินเกรย์แวค, หินเนื ้อโคลน และหินปูน ยุคคาร์ บอนิเฟอรัสถึงยุคเพอร์ เมียน Bunopas (1981) ความหนา 4000 เมตร

• Wang Saphung Formation (หมวดหินวังสะพุง)


หินตะกอนเนื ้อเม็ดและหินปูน, หินกรวดมน, หินดินดาน, หินทราย Charoenprawat and others (1984) อายุยคุ คาร์ บอนิเฟอรัสตอนกลางถึงตอนปลาย ความ
หนา 440 เมตร
ั้ นในมหายุคมีโซโวอิคที่
ตารางแสดงชนหิ
้ ทวีปของพืน
เกิดการสะสมบนพืน ้ ที่
ประเทศไทย
• Lampang Group (กลุม
่ หินลำปาง)
หินตะกอนเนื ้อเม็ด ขนาดตะกอนละเอียด เป็ นหินทรายแดงและเป็ น Platform Limestone และ turbiditic sandstone รวมทังหิ
้ นโคลน อายุยคุ ไทรแอสซิกตอนต้ นถึง
ตอนกลาง ความหนา 3,000 m สภาพแวดล้ อมสะสมตัวทะเลตื ้นถึงลึก Chaodumrong and Burrett (1997)

• Nam Phong Formation (หมวดหินน้ำพอง )


ชันหิ
้ นทรายและหินทรายแป้ง หินโคลนสีแดง ในส่วนบนและส่วนล่าง ส่วนกลางเป็ นหินทรายและหินกรวดมน Ward and Bunnag (1964) อายุยคุ ไทรแอสซิกตอนต้ น ความ
หนา 1,465 m ที่ชนหิ
ั ้ นแบบฉบับ สภาพแวดล้ อมสะสมตัวบนบก

• Huai Hin Lat Formation (หมวดหินห้ วยหินลาด)


หินกรวดมน, หินกรวดมนเนื ้อปูน, หินทรายสีเทาถึงเทาเข้ ม, หินทรายแป้ง, หินดินดานสีดำ, ดินเหนียวเนื ้อปูน พบฟอสซิลพืช Neocalamites sp., Clathropteris sp.
Iwai and others (1964, 1966), Chonglakmani and Sattayarak (1984) ความหนาชันหิ ้ น 140 m. ที่ชนหิ
ั ้ นแบบฉบับ (Chonglakmani and
Sattayarak, 1978) อายุยคุ ไทรแอสซิกตอนบน

• Khorat Group (กลุม่ หินโคราช)


เป็ นชันหิ
้ นตะกอนเนื ้อเม็ดพวกหินทราย, หินทรายแป้ง, หินโคลน, หินดินดานและหินกรวดมน สีแดง ยุคไทรแอสซิกตอนปลายถึงยุคครี เทเชียส ความหนารวมประมาณ 5000 เมตร
แบ่งออกเป็ น 9 หมวดหินตามวิธีการแบ่งของ (DMR, 2007; Jin-Geng and Meesook, 2013) โดยทังหมดนั ้ นสะสมตั
้ วบนพื ้นทวีป คือ Huai Hin Lat (หมวดหินห้ วยหิน
ลาด), Nam Phong (หมวดหินน้ำพอง), Phu Kradung (หมวดหินภูกระดึง), Phra Wihan (หมวดหินพระวิหาร), Sao Khua (หมวดหินเสาขัว), Phu Phan (หมวด
หินภูพาน), Khok Kruat (หมวดหินโคกกรวด), Maha Sarakham (หมวดหินมหาสารคาม), Phu Thok Formations (หมวดหินภูทอก)
• Loei group (กลุม ่ หินเลย)
เป็ นชันหิ
้ นคาร์ บอเนตกับเนื ้อซิลิก้าผสมกัน สมัย Pennsylvanian ถึงยุคเพอร์ เมียน (Ueno and
Charoentitirat (2011)) เทียบเคียงได้ กบั Saraburi Group (กลุม่ หินสระบุรี)
• Kuchinarai group (กลุม่ หินกุฉินารายณ์)
หินทราย, หินทรายแป้ง หินโคลน และหินกรวดมน หลายสี ยุคไทรแอสซิกตอนปลาย (Booth and Sattayarak,
2011) ความหนา 750 m. สภาพแวดล้ อมเนินตะกอนรูปพัด, สะสมตามทางไหลของน้ำ, ทะเลสาบน้ำจืด เทียบเคียงได้ กบั
Huai Hin Lat Formation (หมวดหินห้ วยหินลาด)

ั้ นในพืน
ชนหิ ้ ทีร่ าบสูงโคราชของประเทศไทย

ภาพจาก Murray, C. & Heggemann, Heiner & Gouadain, J. &


Krisadasima, S.. (1993). Geological history of the siliciclastic
Mesozoic strata of the Khorat Group in the Phu Phan range
area, northeastern Thailand. 23-49.
ตารางแสดงสภาพแวดล้อมการ
เกิดของหมวดหินในมหายุคมี
้ ทีร่ าบสูงโคราช
โซโซอิกในพืน

ภาพจาก Murray, C. & Heggemann, Heiner & Gouadain, J. &


Krisadasima, S.. (1993). Geological history of the siliciclastic
Mesozoic strata of the Khorat Group in the Phu Phan range area,
northeastern Thailand. 23-49.
ั้ นทีส
ตารางแสดงชนหิ ่ ำค ัญของ
ประเทศไทยในยุคต่าง ๆ

ภาพจาก PALEOZOIC
SUCCESSION IN
THAILAND WORKSHOP
ON STRATIGRAPHIC
CORRELATION OF
THAILAND AND
MALAYSIA Haad Yai,
Thailand 8-10
September, 1983 Sangad
Bunopas
์ บ
• Thabsila gneiss (หินไนสท ิ า)
ั ศล
หินแปรซับซ้ อนมหายุคพรี แคมเบียน เป็ นหินออเกนไนส์ ,หินแกรนิตไนส์, หินไบโอไทต์ ไมโคลไคลน์ ไนส์, หินควอตซ์เฟลด์สปาร์ ไนส์, หินไบโอไทต์ชีสต์, หินควอตซ์ไซต์, หินแคลก์ซิลิเกตและหิน
อ่อน Bunopas (1980a)

• Orb Luang gneiss (หินไนส์ออบหลวง)


หินตะกอนกึง่ หินแปรมหายุคพรี แคมเบรี ยน หินไบโอไทต์ ไมโคไคลน์ ไนส์ , หินแคลก์ซิเกต, หินอ่อน, หินไบโอไทต์ชีสต์ ความหนามากกว่า 3400 เมตร Bunopas (1981)

• Pha Som group (กลุม่ หินผาซ่อม)


หินตะกอนซึง่ บางส่วนโดนแปรสภาพเป็ นหินควอตซ์ไซต์, หินฟิ ลไลต์, หินไมก้ า-ฮอร์ นเบลนด์ชีสต์ อายุยคุ ไซลูเรี ยนถึงดีโวเนียน Bunopas (1969, 1981)

• Pha Som ultramafics (หินอัลตราเมฟิ กผาซ่อม)


หินแกบโบร, หินเพอริ โดไทต์, หินเพอริ โดไทต์, หินเซอร์ เพนทิไนต์ และหินดันไนต์ มีการแทรกดันเล็กน้ อยจากพนังหินอัคนีเมฟิ กและ Pillow lavas Bunopas (1981),
Singharajwarapan (1994) ยุคเพอร์ เมียนตอนกลาง (269±12 Ma) (Barr and Macdonald, 1987)

• Saraburi Group (กลุม่ หินสระบุรี)


ชันหิ
้ นดินดานแทรกสลับกับชันหิ
้ นทรายและชันหิ
้ นปูนบาง มีชนหิ
ั ้ นปูนหนาหรื อชัน้ Massive พบฟอสซิลและปะการัง มีหินดินดานและชันหิ
้ นทรายบางแทรก อายุยคุ เพอร์ เมียน Bunopas
(1981), Hinthong and others (1985) ความหนา 4486 เมตร

• Mae Moei Group (กลุม่ หินแม่เมย)


หินทรายแป้งสีเทาเขียว, หินดินดาน, หินทราย เป็ นชันชั
้ ดเจน หินปูนเนื ้อโคลนสีเทา, หินทรายแป้งเนื ้อปูน ยุคไทรแอสซิกถึงจูแรสซิก Von Braun and Jordan (1976), Bunopas
(1981) ความหนา 2300 เมตร
• Krabi group (กลุม
่ หินกระบี)่
ตะกอนกึง่ แข็งตัวสมัยเทอร์ เชียรี่ หินทรายสีน้ำตาลแดงถึงสีเทา, หินทรายแป้ง, หินโคลน, หินปูน ที่มีถ่านหินแทรก Javanaphet (1969), Sae Leow (1985) ความ
หนา 1400 เมตร สภาพแวดล้ อมสะสมตัวทางไหลของน้ำ, ทะเลสาบน้ำจืด, หนองน้ำนิ่ง, ปากแม่น้ำ

• Mae Sot Group (กลุม่ หินแม่สอด)


หินดินดานแทรกสลับกับหินโคลนและหิน Oil shale, หินดินเหนียวเนื ้อปูน, หินโคลน, หินทราย, หินกรวดมน, หินทรายแป้ง และชันถ่
้ านหิน ยุคเทอร์ เชียรี่ (สมัยพาลีโอจีนถึงสมัย
ไพลโอจีน) Von Braun and Jordan (1976), Thanomsap (1985), Thanomsap and Sitahirun (1992) ความหนา 3000 เมตร สภาพแวดล้ อมการ
สะสมตัว ทะเลสาบน้ำจืด, ทางไหลน้ำ, เนินตะกอนรูปพัด
ั้ นทีส
ตารางแสดงชนหิ ่ ำค ัญในพืน
้ ทีภ
่ าค
เหนือของประเทศไทย

ภาพจาก PALEOZOIC SUCCESSION IN THAILAND WORKSHOP


ON STRATIGRAPHIC CORRELATION OF THAILAND AND
MALAYSIA Haad Yai, Thailand 8-10 September, 1983 Sangad
เขตแนวเทือก เขตขอบทีร่ าบสูง
เขาตะว ันตกของ โคราช
ประเทศไทย

ภาพจาก PALEOZOIC SUCCESSION IN THAILAND WORKSHOP


ON STRATIGRAPHIC CORRELATION OF THAILAND AND
MALAYSIA Haad Yai, Thailand 8-10 September, 1983 Sangad
ั้ นทีส
ตารางแสดงชนหิ ่ ำค ัญในพืน
้ ทีภ
่ าคตะว ัน
ตกของประเทศไทย

ภาพจาก PALEOZOIC SUCCESSION IN THAILAND WORKSHOP


ON STRATIGRAPHIC CORRELATION OF THAILAND AND
MALAYSIA Haad Yai, Thailand 8-10 September, 1983 Sangad
ั้ นทีส
ตารางแสดงชนหิ ่ ำค ัญในพืน
้ ทีท
่ รี่ าบสูง
โคราชของประเทศไทย

ภาพจาก PALEOZOIC SUCCESSION IN THAILAND WORKSHOP


ON STRATIGRAPHIC CORRELATION OF THAILAND AND
MALAYSIA Haad Yai, Thailand 8-10 September, 1983 Sangad
ั้ นทีส
ตารางแสดงชนหิ ่ ำค ัญในพืน
้ ทีภ
่ าคตะว ัน
ออกของประเทศไทย

ภาพจาก PALEOZOIC SUCCESSION IN THAILAND WORKSHOP


ON STRATIGRAPHIC CORRELATION OF THAILAND AND
MALAYSIA Haad Yai, Thailand 8-10 September, 1983 Sangad
ั้ นทีส
ตารางแสดงชนหิ ่ ำค ัญในพืน
้ ทีภ
่ าคใต้
ของประเทศไทย

ภาพจาก PALEOZOIC SUCCESSION IN THAILAND WORKSHOP


ON STRATIGRAPHIC CORRELATION OF THAILAND AND
MALAYSIA Haad Yai, Thailand 8-10 September, 1983 Sangad
แหล่งข้อมูล
• Acharyya, S. K. (2015). Indo-Burma Range: a belt of accreted microcontinents, ophiolites and Mesozoic–Paleogene flyschoid sediments. International Journal of Earth Sciences, 104(5),
1235–1251.
• Aung, L. T., Oo, K. Z., Win, K. M., Moore, G. F., Tun, S. T., & Naing, W. (2020). Active deformation of the Central Myanmar Forearc Basin: Insight from post-Pleistocene inversion of the Pyay
Fault. Journal of Asian Earth Sciences: X, 100037.
• Aung, Aye & Cocks, L.. (2017). Chapter 14 Cambrian–Devonian stratigraphy of the Shan Plateau, Myanmar (Burma). Geological Society, London, Memoirs. 48. 317-342.
• biotic associations in the Permian–Triassic limestones on the Shan Plateau, Myanmar. Geological Society, London, Memoirs, 48(1), 343–363.
• Clive Burrett, Mongkol Udchachon and Hathaithip Thassanapak. (2016) Palaeozoic correlations and the palaeogeography of the Sibumasu (Shan-Thai) Terrane - a brief review.  Research &
Knowledge, 2(2), 1-17.
• Cong, F., Wu, F.-Y., Li, W.-C., Wang, J.-G., Hu, F.-Y., He, D.-F., … Huang, X.-M. (2020). Petrogenesis of the main range and Eastern Province granites in eastern Myanmar: New insights from
zircon U Pb ages and Sr Nd isotopes. Lithos, 105895.
• Dew, R., Keith Morley, C., Aung Myint, T., & Collins, A. (2019). Age and provenance of the Chaung Magyi Group, Yeywa Dome, Myanmar, based on U-Pb dating of detrital zircons. Journal of
Asian Earth Sciences, 103967.
• Evers, Mariele & Taft, Linda. (2016). A review of current and possible future human-water dynamics in Myanmar’s river basins. Hydrology and Earth System Sciences. 2016.
• Gardiner, N. J., Robb, L. J., Morley, C. K., Searle, M. P., Cawood, P. A., Whitehouse, M. J., … Myint, T. A. (2016). The tectonic and metallogenic framework of Myanmar: A Tethyan mineral
system. Ore Geology Reviews, 79, 26–45.
• Geology of Myanmar by KYAW KYAW OHN
• Geology of SE Asia ปั ญญา จารุศริ ิ สน
ั อัศวพัชร สุวภาคย์ อิม ั ติ ภัยหลบลี้
่ สมุทร กิตติ ขาววิเศษ สน
• Harun, Farieza & Zainetti, Francesco & Cole, Gary. (2014). The Petroleum System of the Central Burma Basin, Onshore Myanmar.
• Hnin Hnin Swe , Maw Maw Myint. Stratigraphy of the Rock Units Exposed in Taungkyun Area, Pyin Oo Lwin Township, Mandalay Region
• Htun, Kyaw & Yonezu, Kotaro & Zaw Myint, Aung & Tindell, Thomas & Watanabe, Koichiro. (2019). Petrogenesis, Ore Mineralogy, and Fluid Inclusion Studies of the Tagu Sn–W Deposit,
Myeik, Southern Myanmar. Minerals. 9. 654.
• Khaing, Kyaw & Yonezu, Kotaro & Tindell, Thomas & Watanabe, Koichiro & Aye, May. (2020). Vein Mineralogy and Hydrothermal Gold Mineralization at the Kyaw Soe Thu Prospect in the
Wabo Deposit, Mandalay Region, Central Myanmar. Open Journal of Geology. 10. 137-154.
• Kozai, T., Hirsch, F., Ishida, K., & Meesook, A. (2006). Faunal affinity of Toarcian-Aalenian (Early Jurassic) bivalves from Mae Sot and Umphang (Tak Province), Northwestern Thailand.
Geosciences Journal, 10(3), 205–215.
• Lexicon of Stratigraphic Names of Thailand by Geological Standard Division Bureau of Geological Survey Department of Mineral Resources
• Loveman, M. H., 1919, A connecting link between the geology of the Northern Shan State and Yunnan, Journ. Geol, 27, p. 204–221.
• Maung Thein. A Preliminary Synthesis of the Geological Evolution of Burma with Refernce to the Tectonic Development of Southeast Asia Geol. Soc. Malaysia Bulletin 6,July 1973;pp. 87-116
• Meesook, A and J.A.Grant-Mackie. Biostratigraphic Correlation of Marine Jurassic Rocks within Thailand and Southeast Asia
• Metcalfe, I.. (2017). Tectonic evolution of Sundaland. Bulletin of the Geological Society of Malaysia. 63. 27-60.
• Michael P. Searle, Laurence J. Robb, Nicholas J. Gardiner, 2016. "Tectonic Processes and Metallogeny along the Tethyan Mountain Ranges of the Middle East and South Asia (Oman, Himalaya, Karakoram, Tibet, Myanmar, Thailand, Malaysia)", Tectonics
and Metallogeny of the Tethyan Orogenic Belt
• Mitchell, A. (2018). Granites, Minor Intrusions, and Mineralization in the Slate Belt, Phayaungtaung, and Gaoligong Range. Geological Belts, Plate Boundaries, and Mineral Deposits in Myanmar, 155–199.
• Mitchell, A., Htay, M. T., & Htun, K. M. (2021). Middle Jurassic arc reversal, Victoria–Katha Block and Sibumasu Terrane collision, jadeite formation and Western Tin Belt generation, Myanmar. Geological Magazine, 1–17.
• Mitchell, A. H. G., Htay, M. T., Htun, K. M., Win, M. N., Oo, T., & Hlaing, T. (2007). Rock relationships in the Mogok metamorphic belt, Tatkon to Mandalay, central Myanmar. Journal of Asian Earth Sciences, 29(5-6), 891–910.
• Mitchell, A. (2018). The Mergui Group and Equivalents in the Slate Belt, Phayaungtaung and the Gaoligong Range (Northeastern Myanmar). Geological Belts, Plate Boundaries, and Mineral Deposits in Myanmar, 97–126.
• Mitchell, A., Chung, S.-L., Oo, T., Lin, T.-H., & Hung, C.-H. (2012). Zircon U–Pb ages in Myanmar: Magmatic–metamorphic events and the closure of a neo-Tethys ocean? Journal of Asian Earth Sciences, 56, 1–23.
• Murray, C. & Heggemann, Heiner & Gouadain, J. & Krisadasima, S.. (1993). Geological history of the siliciclastic Mesozoic strata of the Khorat Group in the Phu Phan range area, northeastern Thailand. 23-49.
• Myanmar Gold Geology Report Collection by Myo Aung Ex-Exploration Geologist
• Naing Maw Than, Kyi Khin, & Myint Thein. (2017). Chapter 7  Cretaceous geology of Myanmar and Cenozoic geology in the Central Myanmar Basin. Geological Society, London, Memoirs, 48(1), 143–167.
• Ningthoujam, P. S., Dubey, C. S., Guillot, S., Fagion, A.-S., & Shukla, D. P. (2012). Origin and serpentinization of ultramafic rocks of Manipur Ophiolite Complex in the Indo-Myanmar subduction zone, Northeast India. Journal of Asian Earth Sciences, 50, 128–140.
• N. Ovung, T., Ghosh, B., & Ray, J. (2020). Petrogenesis of neo-Tethyan ophiolites from the Indo-Myanmar ranges: a review. International Geology Review, 1–13.
• Oo, T., Hlaing, T., & Htay, N. (2002). Permian of Myanmar. Journal of Asian Earth Sciences, 20(6), 683–689.
• ORE GENESIS OF GRANITE-RELATED Sn-W DEPOSIT IN TAGU AREA, MYEIK REGION, SOUTHERN MYANMAR by KYAW THU HTUN
• PALEOZOIC SUCCESSION IN THAILAND WORKSHOP ON STRATIGRAPHIC CORRELATION OF THAILAND AND MALAYSIA Haad Yai, Thailand 8-10 September, 1983 Sangad Bunopas
• Racey, Andrew. (2009). Mesozoic red bed sequences from SE Asia and the significance of the Khorat Group of NE Thailand. Geological Society, London, Special Publications. 315. 41-67.
• Ridd, M. F., & Racey, A. (2015). Chapter 4 Onshore petroleum geology of Myanmar: Central Burma Depression. Geological Society, London, Memoirs, 45(1), 21–50.
• Searle, M. P., Morley, C. K., Waters, D. J., Gardiner, N. J., Htun, U. K., Than Than Nu, & Robb, L. J. (2017). Chapter 12  Tectonic and metamorphic evolution of the Mogok Metamorphic and Jade Mines
belts and ophiolitic terranes of Burma (Myanmar). Geological Society, London, Memoirs, 48(1), 261–293
• Shi, Guanghai & Harlow, George & Wang, Jing & Wang, Jun & Enoch, NG & Wang, Xia & Cao, Shu & Enyuancui, W. (2012). Mineralogy of jadeitite and related rocks from Myanmar: A review with new data.
European Journal of Mineralogy. 24. 345-370.
• Stokes, R. B. (1988). Correlation of the Permian “Phawa Limestone” of Thailand with the “Kamawkala Limestone” of Burma. Journal of Southeast Asian Earth Sciences, 2(1), 35–39.
• Teza Kyaw , Pyae Phyo Han , Htay Maung Abstract , Zaw Win.PETROLOGY OF IGNEOUS ROCKS EXPOSED IN KHUNTHA-MINDAW AREA, SALINGYI TOWNSHIP. J. Myanmar Acad. Arts Sci. 2020
Vol. XVIII. No.5A
• Thaire Phyu Win , Khin Yuzana Win. Occurrences of the Kalaw Formation in Yimi Area, Pinlaung Township, Southern Shan State
• MYINT LWIN THEIN. The Lower Paleozoic Stratigraphy of Western Part of the Southern Shan State, Burma
• Teiichi KOBAYASHI, M. J. A. The Jurassic Palaeogeography of Japan and Southeast Asia Proc. Japan Acad., 54, Ser. B (1978)

• Than, Naing & Khin, Kyi & Thein, Myint. (2017). Chapter 7 Cretaceous geology of Myanmar and Cenozoic geology in the Central Myanmar Basin. Geological Society, London, Memoirs. 48. 143-167.
• Verencar, A., Saha, A., Ganguly, S., & Manikyamba, C. (2020). Tectono-magmatic evolution of Tethyan oceanic lithosphere in supra subduction zone forearc regime: Geochemical fingerprints from crust-mantle
sections of Naga Hills Ophiolite. Geoscience Frontiers.
• Wang, Weiqing & Dong, Guochen & Zhuanrong, Sun & Dong, Pengsheng & Pan, Yanning & Yanick, & Ketchaya, Yanick & Lemdjou, Yanick Brice & Geng, Jianzhen. (2020). The genesis of Eocene granite ‐
related Lailishan tin deposit in western Yunnan, China: Constraints from geochronology, geochemistry, and S–Pb–H–O isotopes. Geological Journal
• Win, Zaw & Shwe, Kyi & Yin, Ohnmar. (2017). Chapter 15 Sedimentary facies and biotic associations in the Permian–Triassic limestones on the Shan Plateau, Myanmar. Geological Society, London, Memoirs.
48. 343-363.
• Wernette, S. J., Hughes, N. C., Myrow, P. M., & Aung, A. K. (2021). The first systematic description of Cambrian fossils from Myanmar: Late Furongian trilobites from the southern part of the Shan State and the
early Palaeozoic palaeogeographical affinities of Sibumasu. Journal of Asian Earth Sciences, 214, 104775.
• https://www.wikiwand.com/en/Geology_of_Myanmar

• https://www.bangkokpost.com/business/356692/drilling-for-details

You might also like