You are on page 1of 30

ธรณี วิทยาภาคเหนื อและภาคตะวันตกตอนบน

ลักษณะภูมิประเทศและภูมิสัณฐาน
ลักษณะทั่วไป ที่สูงทางภาคเหนือ ที่สูงทางภาคตะวันตอตอนบน

ลักษณะทางธรณี วิทยา
ลักษณะทั่วไป แนวแม่ฮ่องสอน-แม่สอด-ทองผาภูมิ แนวดอยอินทนนท์-ตาก
แนวเชียงราย -เชียงใหม่-เถิน แนวลำาปาง-แพร่-สุโขทัย แนวน่าน-แพร่-อุตรดิตถ์

ลำาดับชัน
้ หินทัว
่ ไป
หินมหายุคพรีแคมเบเรียน หินมหายุคพาลีโอโซอิกตอนล่าง หินมหายุคพาลีโอโซอิกตอนบน
หินมหายุคมีโซโซอิก หินมหายุคซีโนโซอิก หินอัคนี

1. ลักษณะภูมิประเทศและภูมิสัณฐาน บริเวณภาคเหนื อและภาค


ตะวันตกตอนบน (Northern and Upper Western Regions)
ทั้งสองบริเวณนี้ มีภูมิประเทศที่เหมือนกันคือ ประกอบด้วยเทือกเขา
(mountain ranges) สูงสลับซับซ้อนต่อเนื่ องกันหลายเทือก ส่วนใหญ่
วางตัวอยู่ในแนวเหนื อ-ใต้ และ ตะวันตกเฉียงเหนื อ-ตะวันออกเฉียง
ใต้ มีความสัมพันธ์กับลักษณะธรณี วิทยาโครงสร้างของประเทศ และมี
ลักษณะสัณฐานเป็ นแนวยาวติดต่อกับแนวเทือกเขาหิมาลัย รวมทั้ง
เทือกเขาในที่ราบสูงชานและยูนาน ทิวเขาในบริเวณนี้ ที่สำาคัญ ได้แก่
ทิวเขาแดนลาว ทิวเขาถนนธงชัย ทิวเขาผีปันนำ้า และทิวเขาหลวง
พระบาง เป็ นต้น บริเวณที่อยู่ระหว่างเทือกเขาเหล่านี้ เป็ นที่ราบล่่ม
ระหว่างห่บเขา อันเป็ นแหล่งกำาเนิ ดของทางนำ้าที่สำาคัญหลายสายที่
ไหลลงไปสู่ทางตอนใต้ของประเทศ

1.1 บริเวณที่สูงทางภาคเหนื อ (Northern Highland)


ขอบเขตของบริเวณนี้ ประกอบด้วยพื้ นที่ภูเขาซึ่งมีอัตราส่วนที่สูงกว่า
พื้ นที่ราบประมาณ 4:1 ครอบคล่มพื้ นที่บริเวณจังหวัดเชียงราย
แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ ลำาพูน ลำาปาง น่าน แพร่ และ
อ่ตรดิตถ์ ซึ่งขอบเขตทางทิศใต้จะเป็ นพื้ นที่รอยต่อกับที่ราบล่่มภาค
กลาง
สำาหรับขอบเขตทางทิศตะวันออกจรดประเทศลาว โดยมีทิวเขาหลวง
พระบางกั้นพรมแดน ซึ่งทิวเขานี้ วางตัวทางทิศตะวันออกเฉียงเหนื อ
ของอำาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย แล้วทอดผ่านลงมาทางทิศใต้
ในเขตจังหวัดพะเยา แพร่ น่าน และอ่ตรดิตถ์ รวมความยาว 590
กิโลเมตร ส่วนใหญ่มีลักษณะภูมิประเทศเป็ นทิวเขาสูงและห่บเขา
แคบๆ มีความลาดชันมากและมีระดับความสูงมากกว่าภาคอื่นๆ ทิว
เขานี้ ปั นนำ้าส่วนหนึ่ งลงสู่แม่น้ ำาโขงทางทิศตะวันออกและปั นนำ้าลงสู่
แม่น้ ำายมและแม่น้ ำาน่านทางทิศตะวันตก
ทางด้านทิศเหนื อและทิศตะวันตกของบริเวณนี้ จรดเขตประเทศพม่า
โดยมีทิวเขาแดนลาวและทิวเขาถนนธงชัยกั้นพรมแดน ทิวเขาเหล่านี้
มียอดเขาจำานวนมากที่สูงกว่า 2,000 เมตร จากระดับนำ้าทะเลปาน
กลาง ทิวเขาแดนลาวมีความต่อเนื่ องมาจากเทือกเขาสูงในประเทศ
พม่า ซึ่งในช่วงที่
เป็ นแนวกั้นพรมแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศพม่า มีความ
ยาวประมาณ 120 กิโลเมตร และทอดตัวลงไปทางทิศตะวันตกเฉียง
ใต้ไปบรรจบกับทิวเขาถนนธงชัย ซึ่งเป็ นทิวเขาที่อยู่ทางทิศตะวันตก
ของภาคเหนื อ ทิวเขาถนนธงชัยประกอบด้วยเทือกเขาที่สำาคัญหลาย
เทือกเขา วางซ้อนกันอยู่ในแนวเหนื อ-ใต้จากด้านตะวันตกไปตะวัน
ออก รวมความยาวทั้งหมด 880 กิโลเมตร เช่น เทือกเขาส่เทพ
เทือกเขาจอมทอง เทือกเขาอินทนนท์ซ่งึ มียอดเขาที่สูงที่ส่ดใน
ประเทศไทยคือ ยอดดอยอินทนนท์ ซึ่งสูงประมาณ 2,590 เมตร
จากระดับนำ้าทะเลปานกลาง ระดับความสูงของบริเวณนี้ จะมีความสูง
มากด้านทิศเหนื อและทิศตะวันตกแล้วจะค่อยๆ ลดตำ่าลงสู่แอ่งที่ราบ
เชียงใหม่-ลำาพูน
สำาหรับตอนกลางของบริเวณนี้ ประกอบด้วยทิวเขามีลักษณะซับซ้อน
เป็ นสันยาวต่อเนื่ องกันรวม 3 ทิว มีความยาวทั้งหมด 412 กิโลเมตร
ส่วนใหญ่วางตัวในแนวตะวันออกเฉียงเหนื อ-ตะวันตกเฉียงใต้ ทิวเขา
ในบริเวณนี้ โดยทัว่ ไปจะเรียกว่าทิวเขาผีปันนำ้า เนื่ องจากทำาหน้าที่เป็ น
สันปั นนำ้าให้ไหลไปทางทิศเหนื อส่วนหนึ่ งและไหลลงไปทางทิศใต้อีก
ส่วนหนึ่ ง ตามลักษณะความลาดชันของแนวสันเขา ทางนำ้าที่ไหลไป
ทางทิศเหนื อ ได้แก่ แม่น้ ำาฝาง นำ้าแม่กก นำ้าแม่จัน และนำ้าแม่อิง
เป็ นต้น ซึ่งแม่น้ ำาเหล่านี้ จะไหลลงสู่แม่น้ ำาโขงต่อไป ส่วนทางนำ้าที่ไหล
ลงทางทิศใต้น้ ั นได้แก่ แม่น้ ำาปิ ง วัง ยม และน่าน ซึ่งแม่น้ ำาทั้งสี่สายนี้
เป็ นสาขาที่สำาคัญของแม่น้ ำาเจ้าพระยา
บริเวณระหว่างแนวเขาเหล่านี้ จะเป็ นแอ่งที่ราบห่บเขา (valley plain)
และที่ราบล่่มริมนำ้า (fluvial plain) กระจายตัวอยู่ทัว่ ไปหลายแห่ง ซึ่ง
เป็ นแหล่งที่ต้ ังของช่มชนขนาดใหญ่ทางภาคเหนื อ ที่สำาคัญได้แก่
แอ่งเชียงราย บริเวณล่่มแม่น้ ำากกและแม่น้ ำาอิง แอ่งแพร่ บริเวณล่่ม
แม่น้ ำายม แอ่งลำาปาง บริเวณล่่มแม่น้ ำาวัง แอ่งเชียงใหม่ -ลำาพูน
บริเวณล่่มแม่น้ ำาปิ ง แอ่งปาย แอ่งฝาง ในเขตจังหวัดเชียงใหม่
เป็ นต้น โดยแอ่งเหล่านี้ ทางด้านตะวันตกจะมีระดับความสูงมากกว่า
ด้านตะวันออก

1.2 บริเวณที่สูงทางภาคตะวันตกตอนบน (Upper Western


Highland)
ขอบเขตของบริเวณนี้ ครอบคล่มพื้ นที่บริเวณจังหวัดตาก
กำาแพงเพชร อ่ทย
ั ธานี ส่พรรณบ่ร ี และกาญจนบ่ร ี ลักษณะ
ภูมิประเทศประกอบด้วยเทือกเขาสูงสลับซับซ้อนที่ยาวต่อเนื่ องลงมา
ทางใต้ของทิวเขาถนนธงชัยในภาคเหนื อ ซึ่งเป็ นเทือกเขาทางด้าน
ตะวันตกที่ก้ ันพรมแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศพม่า เทือก
เขาเหล่านี้ ส่วนใหญ่วางตัวในแนวเหนื อ-ใต้ แล้วบิดโค้งจากแนวเดิม
มาวางตัวในแนวตะวันตกเฉียงเหนื อ-ตะวันออกเฉียงใต้ ในทิศทาง
เดียวกับรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ (Three Pagoda Fault Zone) ระดับ
ความสูงของเทือกเขาที่ยาวต่อเนื่ องกันจะค่อยๆ ลดตำ่าลงกลายเป็ นภู
เขาโดดๆ ขนาดเล็กสลับกับพื้ นที่ลอนลาด และเอียงเทลงสู่ท่ีราบล่่ม
ภาคกลาง ซึ่งอยู่ทางด้านตะวันออก

ภูเขาในบริเวณนี้ เป็ นหน้าผาตั้งชันมากกว่าทางตอนเหนื อ จึงทำาให้มี


ที่ราบห่บเขาและที่ราบล่่มริมนำ้าแคบๆ กระจายตัวอยู่ทัว่ ไปมากกว่า
ทางตอนเหนื อ ทางนำ้าที่เกิดจากทิวเขาถนนธงชัย ได้แก่ แม่น้ ำาแคว
ใหญ่ แม่น้ ำาแควน้อย ซึ่งไหลตามแนวรอยเลื่อนขนาดใหญ่และมี
เทือกเขาหินปูนคัน
่ ระหว่างกลางซึ่งมีความ สูงประมาณ 1,300 เมตร
จากระดับนำ้าทะเลปานกลาง แม่น้ ำาทั้งสองไหลมารวมกันเป็ นแม่น้ ำา
แม่กลองที่ตำาบลปากแพรก จังหวัดกาญจนบ่ร ี นอกจากนั้ นยังมี
แม่น้ ำาเมยซึ่งเป็ นแม่น้ ำากั้นพรมแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศ
พม่า บริเวณอำาเภอแม่สอด จังหวัดตาก มีทิศทางการไหลย้อนกลับ
ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนื อและไหลไปบรรจบกับแม่น้ ำาสาละวิน ใน
เขตประเทศพม่า และแม่น้ ำาสะแกกรังซึ่งไหลไปทางทิศตะวันออก
เฉียงใต้ ผ่านจังหวัดอ่ทัยธานี มาบรรจบกับแม่น้ ำาเจ้าพระยา เป็ นต้น

2 ธรณีวิทยาบริเวณภาคเหนื อและภาคตะวันตกตอนบน
2.1 ธรณีวิทยาทัว่ ไป
ธรณี วิทยาภาคเหนื อและภาคตะวันตกตอนบน ซึง่ มีลักษณะ
ภูมิประเทศเป็ นเทือกเขาสูงสลับซับซ้อนต่อเนื่ องกันในแนวเหนื อ-ใต้
และตะวันตกเฉียงเหนื อ-ตะวันออกเฉียงใต้น้ ั น ประกอบด้วยหินย่ค
ต่างๆกัน โดยเทือกเขาเหล่านี้ มักถูกกำาหนดโดยลักษณะธรณี วิทยา
โครงสร้างและชนิ ดของหินที่ปรากฏ
2.2 ธรณีวิทยาแนวแม่ฮ่องสอน - แม่สอด -ทองผาภูมิ
ชั้นหินที่สำาคัญในแนวนี้ ประกอบด้วยหินย่คไซลูเรียน-ดีโวเนี ยน-
คาร์บอนิ เฟอรัส ส่วนใหญ่ได้แก่ หินเชิร์ต หินดินดาน หินทรายและ
หินทรายชนิ ดซับเกรย์แวก สลับกับชั้นหินปูน โดยมีหินทรายแดงและ
หินกรวดมนย่คคาร์บอนิ เฟอรัส วางตัวอยู่ข้างบน แนวเทือกเขาที่ต่อ
ลงมาทางใต้ในเขตอำาเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบ่ร ี พบหิน
ประเภทต่างๆ ที่มีอาย่เกือบจะครบตลอดอาย่ทางธรณี กาล คือ ตั้งแต่
ช่วงต้นย่คแคมเบรียนถึงช่วงปลายย่คเทอร์เชียรี หินส่วนใหญ่เป็ น
หินตะกอน มีหินอัคนี และหินแปรเพียงส่วนน้อย หินแปรเช่น หิน
ไนส์ หินชีสต์ หินควอร์ตไซต์ หินแคลก์ซิลิเกตและหินอ่อน ซึ่งเชื่อว่า
เป็ นหินย่คแคมเบรียน พบเป็ นแนวยาวอยู่สองบริเวณ คือ บริเวณ
นำ้าตกคลองลาน จังหวัดกำาแพงเพชรและแนวระหว่างลำานำ้าแควใหญ่
์ ับอำาเภอทองผาภูมิ
กับลำานำ้าแควน้อย ช่วงระหว่างอำาเภอศรีสวัสดิก
จังหวัดกาญจนบ่ร ี โดยต่อเนื่ องลงมาตามแนวลำานำ้าแควใหญ่ถึง
บริเวณด้านใต้ของอำาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบ่ร ี เป็ นหินปูนและ
หินตะกอนมหาย่คพาลีโอโซอิกตอนล่าง ย่คออร์โดวิเชียน-ดีโวเนี ยน
ที่ถูกแปรสภาพขั้นตำ่าไม่ร่นแรงนั ก ส่วนหินย่คดีโวเนี ยน-คาร์บอนิ เฟ
อรัสพบอยู่ด้านตะวันตกของลำานำ้าแควน้อยต่อเนื่ องลงไปทางใต้
ลักษณะเด่นประการหนึ่ งในพื้ นที่น้ ี คือ มีหินปูนย่คเพอร์เมียน
หินทรายและหินทรายแป้ งสีแดงที่เกิดจากการสะสมตัวในทะเล
มหาย่คมีโซโซอิกแผ่กระจายเป็ นบริเวณกว้างขึ้นไปถึงเขตอำาเภอ
อ้่มผาง จังหวัดตาก
2.3 ธรณีวิทยาแนวดอยอินทนนท์ - ตาก
แนวเทือกเขานี้ ทอดยาวจากทางเหนื อลงมาจดแนวรอยเลื่อนแม่น้ ำา
ปิ งยาวประมาณ 300 กิโลเมตร กว้างมากกว่า 70 กิโลเมตร ซึ่งมี
ลักษณะธรณี วิทยาโครงสร้างเป็ นแกนรูปประท่นของภูมิภาค (Baum
et al., 1970) ประกอบด้วยหินแปรเกรดสูงพวก หินพาราไนส์ หินค
วอร์ตซิติกชีสต์ หินไบโอไทต์ชีสต์ หินแคลก์ซิลิเกตชีสต์และหินอ่อน
(Baum et al., 1970 และ Campbell, 1975) แนวชั้นหินด้านทิศ
เหนื อวางตัวอย่ใู นแนวเหนื อ-ใต้ แล้วค่อยๆ เบนไปเป็ นแนวตะวันตก
เฉียงเหนื อ-ตะวันออกเฉียงใต้ ใกล้กับแนวรอยเลื่อนแม่ปิงพบว่ามี
หินอัคนี ชนิ ดหินแกรนิ ต หินแกรโนไดออไรต์ และหินเพกมาไทต์
แทรกอยู่หลายๆ บริเวณตลอดแนวเทือกเขา หินแปรเกรดสูงทาง
ด้านตะวันออกเฉียงเหนื อของอำาเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
และทางตะวันตกของอำาเภอจอมทองและอำาเภอฮอดจังหวัดเชียงใหม่
ถูกปิ ดทับด้วยหินทรายย่คแคมเบรียน และ/หรือ หินปูนย่คออร์โดวิ
เชียนแบบไม่ต่อเนื่ อง (Baum et al., 1970
2.4 ธรณีวิทยาแนวเชียงราย - เชียงใหม่ - เถิน
ชั้นหินที่สำาคัญในแนวนี้ ประกอบด้วยหินย่คไซลูเรียน-ดีโวเนี ยน-
คาร์บอนิ เฟอรัส ซึ่งแบ่งได้เป็ น 2 แนว คือ แนวด้านตะวันตกที่ช้ ัน
หินเป็ นหินเชิร์ตและหินปูนมีซากดึกดำาบรรพ์ซ่ึงไม่ถูกแปรสภาพ
ส่วนอีกแนวด้านตะวันออกเป็ นหินแปรเกรดตำ่า ประกอบด้วยหินค
วอร์ตโซเฟลด์สปาติกชีสต์ หินฟิ ลไลต์ หินควอร์ตไซต์และหินเชิร์ต
ซึ่งแผ่กระจายปกคล่มบริเวณด้านตะวันออกของเขื่อนภูมิพล จังหวัด
ตาก บริเวณด้านตะวันออกของอำาเภอเถิน ดอยข่นตาล จังหวัด
ลำาปาง และบริเวณดอยลังกา จังหวัดเชียงราย โดยมีหินแกรนิ ต
แทรกดันตัวเข้ามาในบางพื้ นที่ เช่น ที่ดอยข่นตาล ดอยหมอกและ
ดอยลังกา
2.5 ธรณีวิทยาแนวลำาปาง-แพร่- สุโขทัย
ชั้นหินที่ปกคล่มบริเวณนี้ เป็ นหินย่คเพอร์เมียน-ไทรแอสซิก และหิน
มหาย่คมีโซโซอิก ที่ตกตะกอนในสภาวะแวดล้อมในทะเลตื้ นจนถึง
ทะเลลึก แอ่งที่สำาคัญในการสะสมตะกอน ได้แก่ แอ่งลำาปางโดยมี
ตะกอนคล้ายคลึงกับลักษณะปรากฏแบบฟลิชและตะกอนภูเขาไฟ
แอ่งแพร่มีการสะสมตะ กอนคล้ายแอ่งลำาปาง แต่จะมีตะกอนภูเขาไฟ
ปะปนน้อยกว่า
2.6 ธรณีวิทยาแนวน่าน-แพร่ - อุตรดิตถ์
บริเวณนี้ เริม
่ ตั้งแต่ทางตอนใต้และตะวันออกเฉียงใต้ของจังหวัดแพร่
ไปถึงแนวรอยเลื่อนอ่ตรดิตถ์ ซึ่งตอนล่างของแนวนี้ โค้งมาทางตะวัน
ตกเฉียงใต้บริเวณ อำาเภอบ้านด่านลานหอย จังหวัดส่โขทัย ส่วนใหญ่
เป็ นหินย่คไซลูเรียน ดีโวเนี ยน คาร์บอนิ เฟอรัส และเพอร์เมียน หิน
สองย่คแรกมักมีหินภูเขาไฟและตะกอนหินภูเขาไฟแทรกอยู่เสมอ
ชั้นหินเหล่านี้ วางตัวในแนวประมาณตะวันออกเฉียงเหนื อ-ตะวันตก
เฉียงใต้ ชั้นหินคดโค้งตลบทับ มีหินเมฟิ กและหินอัลตราเมฟิ กเกิดอยู่
ตามแนวรอยเลื่อนอ่ตรดิตถ์ ในเขตจังหวัดน่านและอ่ตรดิตถ์ หินย่ค
ไทรแอสซิก-ครีเทเชียสแผ่ปกคล่มเป็ นบริเวณกว้างทั้งด้านทิศตะวัน
ออกและตะวันตก

3 . ลำาดับชั้นหินทัว่ ไป
ลำาดับชั้นหินโดยทัว่ ไปบริเวณที่สูงภาคเหนื อและภาคตะวันตกตอนบน
ค่อนข้างซับซ้อนและมีความแตกต่างกันเฉพาะบริเวณ กล่าวโดย
ทัว่ ไปแล้วบริเวณนี้ ประกอบด้วยหินย่คต่างๆ เกือบท่กอาย่ทางธรณี
กาล เรียงลำาดับจากอาย่แก่ไปอ่อนได้ ดังนี้

หินมหายุคพรีแคมเบรียน หินพื้ นฐานซับซ้อนที่เชื่อว่าเป็ นหินมหาย่ค


พรีแคมเบรียนบริเวณภาคเหนื อนั้ น ประกอบด้วยหินแปรเกรดสูงซึ่ง
เป็ นหินแปรสภาพอย่างไพศาล โดยมีการเรียงลำาดับหินจากล่างขึ้นบน
ได้แก่ หินออร์โทไนส์ (หินแอนนาเท็กไซต์หรือหินมิกมาไทต์ ) หินพา
ราไนส์ หินชีสต์ หินแคลก์ซิลิเกตและหินอ่อน พบแผ่กระจายในเขต
อำาเภอปาย อำาเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน อำาเภอแม่แตง
อำาเภอแม่รม
ิ อำาเภอสะเมิง อำาเภอเมือง อำาเภอหางดง อำาเภอ
สันป่ าตอง อำาเภอจอมทอง อำาเภอแม่แจ่ม อำาเภอฮอด และอำาเภอ
ออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ลงมาทางจังหวัดตาก หินแปรเกรดสูงกล่่ม
นี้ มักพบติดอยู่กับหินที่มีอาย่อ่อนกว่าแบบมีรอยเลื่อนและแบบมีรอย
ชั้นไม่ต่อเนื่ อง ในเขตเทือกเขาดอยอินนนท ์และดอยส่เทพหินแปร
เกรดสูงเกิดขึ้นในลักษณะปรากฏของแร่แอมฟิ โบล (amphibole
facies) ภายใต้สภาวะที่มีอ่ณหภูมิสูงแต่มีความกดดันตำ่า

หินมหายุคพาลีโอโซอิกตอนล่าง หินย่คแคมเบรียน-ออร์โดวิเชียนชั้น
ล่างๆ เป็ นหินทรายแสดงการวางชั้นเฉียงระดับและชั้นหินกรวดมน
ถัดขึ้นมาเป็ นหินดินดาน สลับชั้นหินปูนบางๆ จนเป็ นชั้นหินปูนหนา
ที่พบซากดึกดำาบรรพ์โคโนดอนต์ ความหนาของหินทรายแคมเบรียน
และหินปูนออร์โดวิเชียน บริเวณภาคเหนื อที่จังหวัดตาก ประมาณ
350-600 เมตร และ 600-950 เมตร ตามลำาดับ
หินย่คไซลูเรียน-ดีโวเนี ยนบริเวณแนวแม่ฮ่องสอน-แม่สอด-
ทองผาภูมิ ประกอบด้วยหินเชิร์ต สีน้ ำาตาลถึงสีดำาสลับกับหินทราย
หินดินดานสีเทาและซับเกรย์แวกสลับกับหินปูนวางตัวต่อเนื่ องบน
หินย่คที่แก่กว่า หินปูนที่แทรกสลับอยู่น้ ี มีลักษณะคล้ายกับหินปูนย่
คออร์โดวิเชียนแต่มีซากดึกดำาบรรพ์โคโนดอนต์ บ่งอาย่ย่คไซลูเรียน
ตอนปลายถึงดีโวเนี ยนตอนปลาย และซากดึกดำาบรรพ์แกรปโตไลต์
ในหินดินดานสีดำาซึ่งให้อาย่ช่วงดีโวเนี ยน ความหนาของชั้นหินเหล่า
นี้ ประมาณ 500 เมตร (Baum et al., 1970) ในชั้นหินเชิร์ตและ
หินปูนซึ่งไม่ถูกแปรสภาพบริเวณแนวเชียงราย-เชียงใหม่-เถิน พบว่า
มีซากดึกดำาบรรพ์เทนทาคิวไลต์ (Kobayashi, 1964; Kobayashi and
Hamada, 1968; และ Jaeger et al., 1968) ส่วนชั้นหินย่คไซลูเรียน-
ดีโวเนี ยนด้านตะวันออก ที่ถูกแปรสภาพไปเป็ นหินแปรเกรดตำ่า
จำาพวก หินควอรตซ์-เฟลสปาติกชีสต์ หินฟิ ลไลต์ หินควอร์ตไซต์ หิน
แคลก์ซิลิเกตฟิ ลไลต์ หินอาร์จิลไลต์และหินเชิร์ต ซึ่งไม่พบ
ซากดึกดำาบรรพ์
หินมหายุคพาลีโอโซอิกตอนบน หินย่คคาร์บอนิ เฟอรัสตอนล่างใน
แนวแม่ฮ่องสอน-แม่สอด และเชียงราย-เชียงใหม่-เถิน ส่วนใหญ่เป็ น
หินทรายเนื้ อละเอียดมีกรวดปนบ้างเล็กน้อย และหินดินดาน โดยมี
หินปูนและหินเชิร์ตแทรกสลับ ความหนาของหินเหล่านี้ ประมาณ
300-400 เมตร (Baum et al., 1970) การสะสมตัวของชั้นหินต่อ
เนื่ องกันจนถึงย่คคาร์บอนิ เฟอรัสตอนปลาย
หินย่คคาร์บอนิ เฟอรัสที่พบบริเวณภาคตะวันตกทั้งหมดส่วนใหญ่เป็ น
หินทราย และหินโคลนที่มีเม็ดกรวดปน บริเวณด้านตะวันตกของ
ลำานำ้าแควน้อย ชั้นหินแสดงชั้นไม่ชัดเจนและไม่พบร่องรอยของ
ซากดึกดำาบรรพ์ในช่วงตอนล่างๆของชั้นหิน แต่จะเริม
่ พบ
ซากดึกดำาบรรพ์ ย่คคาร์บอนิ เฟอรัสตอนปลาย ในช่วงตอนบนๆ ของ
ชั้นหิน

หินย่คคาร์บอนิ เฟอรัสบริเวณทิศตะวันตกเฉียงใต้ ของจังหวัดส่โขทัย


นั้ น ชั้นหินช่วงล่างประกอบด้วยหินทรายสีเทาและสีน้ ำาตาลแดง
หินทรายแป้ ง หินดินดานและหินกรวดภูเขาไฟสีเขียว ส่วนที่บริเวณ
เขาหลวงประกอบด้วยหินกรวดภูเขาไฟสีแดง หินทัฟฟ์ และหินทราย
เนื้ อทัฟฟ์ ไม่พบร่องรอยความสัมพันธ์กับหินอื่นๆ หินย่คคาร์บอนิ เฟ
อรัสช่วงล่างตามแนวจังหวัดน่าน-อ่ตรดิตถ์ ประกอบด้วยหินดินดาน
เนื้ อทราย หินทราย หินกรวดภูเขาไฟ หินกรวดมนและหินเชิร์ตสีแดง
ส่วนช่วงบนเป็ นพวกหินเกรย์แวก หินอาร์จิลไลต์และหินปูน หินย่ค
คาร์บอนิ เฟอรัสวางตัวแบบรอยชั้นไม่ต่อเนื่ องเชิงม่มบนหินย่คที่แก่
กว่า และถูกปิ ดทับแบบต่อเนื่ องด้วยหินปูนที่มีซากดึกดำาบรรพ์หอย
สองฝา และฟูซล
ู ินิด
หินย่คเพอร์เมียนบริเวณภาคเหนื อเป็ นหินตะกอนและหินปูนเนื้ อ
ประสานแน่น บริเวณด้านตะวันตกของอำาเภอแม่สะเรียง จังหวัด
แม่ฮ่องสอน ชั้นหินเพอร์เมียนตอนล่างส่วนใหญ่เป็ นชั้นหินกรวดมน
ปูน บางแห่งเป็ นชั้นหินทรายที่มีหินเชิร์ตแทรกสลับบ้าง บริเวณเขต
อำาเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน อำาเภอปาย อำาเภอฝางและอำาเภอ
เชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ชั้นหินย่คเพอร์เมียนตอนล่างถึงย่คเพอร์
เมียนตอนกลางเป็ นพวกหินปูนชั้นหนา
บริเวณน่าน-อ่ตรดิตถ์-ท่่งเสลี่ยม หินย่คเพอร์เมียนเป็ นพวกหินทราย
หินดินดานและหินปูน สะสมตัวต่อเนื่ องจากชั้นหินย่คคาร์บอนิ เฟอรัส
ตอนปลาย แต่ในบริเวณทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัดน่าน
พบว่าชั้นหินปูนเริม
่ มีการสะสมตัวตั้งแต่ช่วงปลายย่คคาร์บอนิ เฟอรัส
ส่วนบริเวณทางด้านเหนื อของจังหวัดน่าน ชั้นหินปูนเริม
่ สะสมตัวใน
ช่วงต้นย่คเพอร์เมียน ในขณะที่บริเวณจังหวัดอ่ตรดิตถ์และส่โขทัย
ชั้นหินย่คเพอร์เมียนตอนล่างประกอบด้วยหินปูน หินดินดาน
หินทราย และหินเชิร์ตปนในชั้นหินปูน ที่เขาหินปูนผาหินตั้ง อำาเภอ
ตรอน จังหวัดอ่ตรดิตถ์ พบซากดึกดำาบรรพ์ของฟูซูลินิด: ชื่อ
Schwagerina indica, Pseudofusulina sp., Pseudoschwagerina cf.,
P. muongthensis บ่งอาย่ต้นย่คเพอร์เมียน (พิศิษฏ์ ส่ขวัฒนานั นท์
และคณิ ต ประสิทธิการก่ล, 2527) และในชั้นหินเชิร์ตบริเวณเขาวง
พระจันทร์ทางตะวันตกของอำาเภอท่่งเสลี่ยม จังหวัดส่โขทัย พบซาก
ดึกดำาบรรพ์เรดิโอลาเรียบ่งอาย่ต้นย่คเพอร์เมียน (Sashida et al.,
1997) ชั้นหินเพอร์เมียนตอนกลางประกอบด้วยหินปูน หินชั้น
ภูเขาไฟ หินทัฟฟ์ ภูเขาไฟ หินกรวดภูเขาไฟ และหินเชิร์ตสีแดง ส่วน
ชั้นหินตอนบนๆ เป็ นหินเกรย์แวก หินอาร์จิลไลต์ และมีหินปูนบ้าง
บริเวณลำาปาง-แพร่-ส่โขทัย หินย่คเพอร์เมียนจัดอยู่ในกล่่มหินงาว
(Bunopas, 1981) โดยแบ่งออกเป็ น 3 หมวดหินเรียงลำาดับจากล่าง
ขึ้นบน คือ หมวดหินกิ่วลมประกอบด้วยหินทัฟฟ์ และหินกรวด
ภูเขาไฟ หมวดหินผาหวด ประกอบด้วยหินปูนมวลหนาถึงชั้นบาง
และหินดินดานปนหินโคลน หมวดหินห้วยทาก ประกอบด้วย
หินดินดาน หินโคลน มีหินทราย หินปูนและหินกรวดมนแทรกสลับ
เป็ นช่วงๆ ความหนาของหมวดหินห้วยทากที่บริเวณดอยผาพลึง
อำาเภองาว จังหวัดลำาปาง ประมาณ 762 เมตร ซากดึกดำาบรรพ์ท่ีพบ
ในชั้นหินบ่งอาย่ปลายย่คเพอร์เมียน (Yanagida et al., 1988 และ
สงัด ปิ ยะศิลป์ , 2515).

หินมหายุคมีโซโซอิก การสะสมตัวของหินมหาย่คมีโซโซอิกในบริเวณ
ภาคเหนื อและภาคตะวันตกของประเทศมีความแตกต่างกัน ชั้นหิน
ส่วนใหญ่วางตัวแบบไม่ต่อเนื่ องอยู่บนชั้นหินย่คที่แก่กว่า
หินมหาย่คมีโซโซอิกแผ่กระจายในแนวแม่ฮ่องสอน-แม่สอด-อ้่มผาง-
ทองผาภูมิ โดยจำาแนกได้เป็ น 2 กล่่ม ได้แก่กล่่มหินที่สะสมตัวแบบ
ภาคพื้ นทวีปประกอบด้วยหินทราย หินทรายแป้ งและหินดินดาน
ส่วนอีกกล่่มเป็ นหินที่สะสมตัวภาคพื้ นสม่ทรประกอบด้วย หินกรวด
มน หินทราย หินดินดาน หินโคลนและหินปูน ซากดึกดำาบรรพ์ท่ีพบ
ในหินมหาย่คมีโซโซอิกบ่งอาย่ต้ ังแต่ย่คไทรแอสซิกตอนกลางถึงย่คจู
แรสซิกตอนกลาง หินย่คไทรแอสซิกทางด้านตะวันตกของอำาเภอ
อ้่มผาง จังหวัดตาก เป็ นพวกหินปูน หินทรายและหินโคลน บริเวณ
บ้านกล้อทอและบ้านปะละทะทางตะวันตกของอำาเภออ้่มผางก็เช่นกัน
ปกคล่มด้วยหินชั้นย่คจูแรสซิก ที่แสดงสภาวะการสะสมตัวของ
ตะกอนในทะเลนำ้าตื้ น ประกอบด้วยชั้นหินเรียงจากล่างขึ้นบนดังนี้
หินโคลนสลับหินทรายชั้นบางๆ หินทรายเนื้ อหยาบปานกลางที่มี
เลนส์หินปูนเกิดปนอยู่ด้วย เหนื อขึ้นไปเป็ นพวกหินปูนชั้นหนาถึง
มวลหนามีซากดึกดำาบรรพ์ปะการัง (coral) มาก และตอนบนส่ดเป็ น
ชั้นหินทรายเนื้ อละเอียดถึงหยาบแสดงลักษณะชั้นเฉียงระดับ ความ
หนาของหินย่คจูแรสซิกในเขตอำาเภออ้่มผางมากกว่า 400 เมตรขึ้น
ไป
ในแนวเชียงราย-ลำาปาง-แพร่ การสะสมตัวของชั้นหินมหาย่คมีโซโซ
อิกเกิดต่อเนื่ องจากย่คเพอร์เมียนตอนบนขึ้นมา ส่วนใหญ่เป็ นพวก
หินดินดานสลับกับหินปูน หินตะกอนภูเขาไฟแอนดีไซต์ทัฟฟ์ และหิน
ไรโอไลต์ทัฟฟ์ โดยวางตัวแบบรอยชั้นไม่ต่อเนื่ องเชิงม่มบน
หินตะกอนภูเขาไฟย่คเพอร์เมียน-ไทรแอสซิก หรือหินปูนย่คเพอร์
เมียน หินมหาย่คมีโซโซอิกช่วงย่คไทรแอสซิกที่เกิดจากการสะสมตัว
ของตะกอนทะเล ได้แก่ กล่่มหินลำาปาง ซึ่งประกอบด้วย หมวดหิน
พระธาต่ หมวดหินผาก้าน หมวดหินฮ่องหอย หมวดหินดอยลอง
หมวดหินผาแดง หมวดหินก้างปลา และหมวดหินวังชิ้น ซากดึกดำา
บรรพ์สำาคัญๆที่พบในกล่่มหินลำาปาง คือ หอยกาบคู่ (pelecypod)
Halobia sp., Daonella sp., Posidonia sp. และหอยกาบเดี่ยว
(cephalopod) แอมโมไนต์ (ammonite) ชื่อ Paratrachyceras sp. ใน
ช่วงย่คจูแรสซิกทางบริเวณด้านตะวันออกของจังหวัดเชียงราย-
พะเยา-น่าน ทางตะวันออกของจังหวัดอ่ตรดิตถ์ มีการสะสมตัวของ
ตะกอนบนบกของกล่่มหินที่เทียบเท่ากับกล่่มหินโคราช แต่ไม่ได้
กำาหนดชื่อกล่่มหินไว้ เพียงแบ่งออกเป็ น หมวดหิน ms1, ms2, ms3
(เทียบเท่าหมวดหินภูกระดึง), ms4 (เทียบเท่าหมวดหินพระวิหาร)
และ ms5 (เทียบเท่าหมวดหินเสาขัว) ตามลำาดับ โดยมีหมวดหิน
ms1 วางตัวแบบไม่ต่อเนื่ องเชิงม่มอยู่บนกล่่มหินลำาปาง หลังจากนั้ น
การสะสมตัวของชั้นตะกอนเป็ นไปอย่างต่อเนื่ อง ส่วนใหญ่เป็ นพวก
หินทราย หินทรายแป้ ง หินกรวดมน หินดินดาน หินโคลนและ หิน
ทัฟฟ์
หินมหายุคซีโนโซอิก หินเทอร์เชียรีพบกระจัดกระจายอยู่ทัว่ ไปตาม
บริเวณแอ่งทีร่ าบระหว่างภูเขาในเขตภาคเหนื อและภาคตะวันตก แอ่ง
เทอร์เชียรีดังกล่าวนั บว่ามีความสำาคัญทางด้านทรัพยากรเชื้ อเพลิง
ของประเทศอย่างยิ่ง เนื่ องจากเป็ นแหล่งสะสมตัวของแหล่งพลังงาน
เชื้ อเพลิงชนิ ดต่างๆ อาทิ นำ้ามันดิบในแอ่งฝาง ถ่านหินลิกไนต์ใน
แอ่งแม่เมาะ แอ่งลี้ แอ่งแม่ทาน และแอ่งนาฮ่อง หินนำ้ามันในแอ่ง
แม่สอด และแหล่งแร่ดินเบาในแอ่งลำาปาง เป็ นต้น
แอ่งแม่เมาะ จังหวัดลำาปางนั บว่าเป็ นแอ่งเทอร์เชียรีขนาดใหญ่ท่ีส่ด
ของภาคเหนื อที่พบชั้นถ่านหินลิกไนต์ ชั้นหินในแอ่งประกอบด้วยหิน
โคลน หินทรายแป้ ง หินทราย ถ่านหินลิกไนต์และหินกรวดมน
กำาหนดเป็ นกล่่มหินแม่เมาะ แบ่งออกเป็ น 3 หมวดหิน เรียงลำาดับ
จากล่างส่ดขึ้นบนได้แก่ หมวดหินห้วยคิง หมวดหินนาแขมซึ่งมีช้ ัน
ถ่านหินลิกไนต์และหมวดหินห้วยหลวง ชั้นตะกอนเหล่านี้ สะสมตัวใน
สภาวะแวดล้อมที่เป็ นทะเลสาบ ในเขตจังหวัดแพร่มีแอ่งเทอร์เชียรี
ขนาดใหญ่คือแอ่งแพร่ ประกอบด้วยชั้นหินทราย หินโคลนและชั้น
ถ่านหินลิกไนต์ท่ีมีก้อนตะกอนเนื้ อปูนปน สภาวะแวดล้อมการตก
ตะกอนเป็ นแบบที่ราบตะกอนนำ้าพารูปพัดและบริเวณที่ล่มนำ้าขัง
ตะกอนย่คควอเทอร์นารีในภาคเหนื อและภาคตะวันตกเป็ นตะกอนที่
เกิดจากแม่น้ ำาปิ ง วัง ยม และน่าน และส่วนใหญ่เป็ นตะกอนแบบนำ้า
พารูปพัด ทางตอนเหนื อในเขตของอำาเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่
บริเวณที่เป็ นตะพักสูงประมาณ 60 เมตร จากระดับพื้ นราบของแม่
นำ้าปิ งขึ้นไปนั้ นถูกปกคล่มด้วย หน่วยชั้นตะกอนแม่แตง ซึ่งประกอบ
ด้วยชั้นกรวดขนาดปานกลางถึงขนาดใหญ่ โดยมีตะกอนทรายและดิน
เหนี ยวเป็ นเนื้ อพื้ น นอกจากนั้ นในบริเวณตะพักสูงทัว่ ไปของภาค
เหนื ออาจพบชั้นศิลาแลง ที่มีลักษณะค่อนข้างแข็งมีรูพร่นและมีเศษ
ชิ้นส่วนของเทคไทต์ปนอยู่ด้วยในบางพื้ นที่
ในเขตจังหวัดลำาปาง หน่วยชั้นตะกอนนำ้าแม่จาง ปกคล่มพื้ นที่กว่า
200 ตารางกิโลเมตร ตลอดเส้นทางจากบ้านแม่ทะไปยังบ้านแม่เมาะ
ประกอบด้วยตะกอนกรวดทรายหนา บางส่วนปิ ดทับด้วยบะซอลต์
อาย่ได้ 0.69 ถึง 0.95 ล้านปี และตะกอนช่วงบนส่ดเป็ นชั้นศิลาแลง
และดินแลงที่เกิดจากการผ่พังของหินบะซอลต์ด้านล่าง
หินอัคนี ในภาคเหนื อและภาคตะวันตกตอนบนมีท้ ังหินอัคนี
แทรกซอนและหินอัคนี พ่ หินอัคนี แทรกซอนเป็ นพวกหินแกรนิ ตและ
หินไนส์สิกแกรนิ ต แบ่งออกได้เป็ น 3 แนว ได้แก่ แนวด้านตะวัน
ออกผ่านเขตของจังหวัดเชียงราย-พะเยา-น่าน-อ่ตรดิตถ์ หินแกรนิ ต
เป็ นพลูตอนขนาดเล็ก ลักษณะเนื้ อหินค่อนข้างหยาบ อาย่หิน
ประมาณ 208+-4 ถึง 213+-10 ล้านปี แนวตอนกลางผ่านทางด้าน
ทิศตะวันตกของจังหวัดเชียงใหม่-ลำาปาง และตาก หินแกรนิ ตเป็ น
แบบมวลไพศาล เนื้ อหินแสดงลักษณะการเรียงตัวของผลึกแร่และใน
บางพื้ นที่ผลึกแร่มีการหลอมตัวบางส่วน อาย่หินประมาณ 212 ฑ+-
12 ถึง 236 +- 5 ล้านปี และแนวหินแกรนิ ตด้านตะวันตก เป็ นพลู
ตอนเล็กๆต่อกันเป็ นแนวดันแทรกผ่านชั้นหินมหาย่คพาลีโอโซอิก
และหินแกรนิ ตแนวที่อยู่ตอนกลางบางแห่ง เนื้ อหินแสดงลักษณะ
ผลึกแร่เนื้ อดอกหยาบและเนื้ อหยาบปานกลาง อาย่หินประมาณ 130
ฑ 4 ล้านปี ส่วนหินอัคนี พ่น้ ั นปรากฏให้เห็นเป็ นบริเวณกว้างตั้งแต่
ทางด้านทิศตะวันออกของจังหวัดเชียงรายผ่านพะเยา-ลำาปาง-แพร่ลง
ไปถึงจึงหวัดตาก หินส่วนใหญ่เป็ นหินไรโอไลต์ หินแอนดีไซต์ หินไร
โอลิติกทัฟฟ์ หินแอนดีซิติกทัฟฟ์ และหินบะซอลต์ โดยมีหินแกบโบร
และหินไพรอกซิไนต์บ้าง อาย่ของหินอัคนี พ่มีต้ ังแต่ย่ค ไซลูเรียนถึงจู
แรสซิก สำาหรับหินบะซอลต์ที่พบในเขตอำาเภอแม่ทะ อำาเภอเกาะคา
และอำาเภอสบปราบ จังหวัดลำาปาง มีอาย่ประมาณ 5 ถึง 8 แสนปี ที่
บริเวณบ้านเชียงเคี่ยน อำาเภอเทิงและที่รม
ิ แม่น้ ำาโขง อำาเภอเชียงของ
จังหวัดเชียงราย มีอาย่ประมาณ 1.7+-0.12 ล้านปี และที่บ้านบ่อแก้ว
อำาเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ มีอาย่ประมาณ 5.64+-0.28 ล้านปี

ธรณีวิทยาภาคเหนื อและภาคตะวันตกตอนบน

ลักษณะภูมิประเทศและภูมิสัณฐาน
ที่สูงทางภาคตะวัน
ลักษณะทัว่ ไป ที่สูงทางภาคเหนื อ
ตอตอนบน
ลักษณะทางธรณีวิทยา
แนวแม่ฮ่องสอน- แนวดอยอินทน
ลักษณะทัว่ ไป
แม่สอด-ทองผาภูมิ นท์-ตาก
แนวเชียงราย - แนวลำาปาง-แพร่- แนวน่าน-แพร่-
เชียงใหม่-เถิน ส่โขทัย อ่ตรดิตถ์
ลำาดับชั้นหินทัว่ ไป
หินมหาย่คพรี หินมหาย่คพาลีโอโซ หินมหาย่คพาลีโอ
แคมเบเรียน อิกตอนล่าง โซอิกตอนบน
หินมหาย่คมีโซโซ
หินมหาย่คซีโนโซอิก หินอัคนี
อิก

1. ลักษณะภูมิประเทศและภูมิสัณฐาน บริเวณภาคเหนื อและภาค


ตะวันตกตอนบน (Northern and Upper Western Regions)
ทั้งสองบริเวณนี้ มีภูมิประเทศที่เหมือนกันคือ ประกอบด้วยเทือกเขา
(mountain ranges) สูงสลับซับซ้อนต่อเนื่ องกันหลายเทือก ส่วนใหญ่
วางตัวอยู่ในแนวเหนื อ-ใต้ และ ตะวันตกเฉียงเหนื อ-ตะวันออกเฉียง
ใต้ มีความสัมพันธ์กับลักษณะธรณี วิทยาโครงสร้างของประเทศ และมี
ลักษณะสัณฐานเป็ นแนวยาวติดต่อกับแนวเทือกเขาหิมาลัย รวมทั้ง
เทือกเขาในที่ราบสูงชานและยูนาน ทิวเขาในบริเวณนี้ ที่สำาคัญ ได้แก่
ทิวเขาแดนลาว ทิวเขาถนนธงชัย ทิวเขาผีปันนำ้า และทิวเขาหลวง
พระบาง เป็ นต้น บริเวณที่อยู่ระหว่างเทือกเขาเหล่านี้ เป็ นที่ราบล่่ม
ระหว่างห่บเขา อันเป็ นแหล่งกำาเนิ ดของทางนำ้าที่สำาคัญหลายสายที่
ไหลลงไปสู่ทางตอนใต้ของประเทศ

1.1 บริเวณที่สูงทางภาคเหนื อ (Northern Highland)


ขอบเขตของบริเวณนี้ ประกอบด้วยพื้ นที่ภูเขาซึ่งมีอัตราส่วนที่สูงกว่า
พื้ นที่ราบประมาณ 4:1 ครอบคล่มพื้ นที่บริเวณจังหวัดเชียงราย
แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ ลำาพูน ลำาปาง น่าน แพร่ และ
อ่ตรดิตถ์ ซึ่งขอบเขตทางทิศใต้จะเป็ นพื้ นที่รอยต่อกับที่ราบล่่มภาค
กลาง
สำาหรับขอบเขตทางทิศตะวันออกจรดประเทศลาว โดยมีทิวเขาหลวง
พระบางกั้นพรมแดน ซึ่งทิวเขานี้ วางตัวทางทิศตะวันออกเฉียงเหนื อ
ของอำาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย แล้วทอดผ่านลงมาทางทิศใต้
ในเขตจังหวัดพะเยา แพร่ น่าน และอ่ตรดิตถ์ รวมความยาว 590
กิโลเมตร ส่วนใหญ่มีลักษณะภูมิประเทศเป็ นทิวเขาสูงและห่บเขา
แคบๆ มีความลาดชันมากและมีระดับความสูงมากกว่าภาคอื่นๆ ทิว
เขานี้ ปั นนำ้าส่วนหนึ่ งลงสู่แม่น้ ำาโขงทางทิศตะวันออกและปั นนำ้าลงสู่
แม่น้ ำายมและแม่น้ ำาน่านทางทิศตะวันตก
ทางด้านทิศเหนื อและทิศตะวันตกของบริเวณนี้ จรดเขตประเทศพม่า
โดยมีทิวเขาแดนลาวและทิวเขาถนนธงชัยกั้นพรมแดน ทิวเขาเหล่านี้
มียอดเขาจำานวนมากที่สูงกว่า 2,000 เมตร จากระดับนำ้าทะเลปาน
กลาง ทิวเขาแดนลาวมีความต่อเนื่ องมาจากเทือกเขาสูงในประเทศ
พม่า ซึ่งในช่วงที่
เป็ นแนวกั้นพรมแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศพม่า มีความ
ยาวประมาณ 120 กิโลเมตร และทอดตัวลงไปทางทิศตะวันตกเฉียง
ใต้ไปบรรจบกับทิวเขาถนนธงชัย ซึ่งเป็ นทิวเขาที่อยู่ทางทิศตะวันตก
ของภาคเหนื อ ทิวเขาถนนธงชัยประกอบด้วยเทือกเขาที่สำาคัญหลาย
เทือกเขา วางซ้อนกันอยู่ในแนวเหนื อ-ใต้จากด้านตะวันตกไปตะวัน
ออก รวมความยาวทั้งหมด 880 กิโลเมตร เช่น เทือกเขาส่เทพ
เทือกเขาจอมทอง เทือกเขาอินทนนท์ซ่งึ มียอดเขาที่สูงที่ส่ดใน
ประเทศไทยคือ ยอดดอยอินทนนท์ ซึ่งสูงประมาณ 2,590 เมตร
จากระดับนำ้าทะเลปานกลาง ระดับความสูงของบริเวณนี้ จะมีความสูง
มากด้านทิศเหนื อและทิศตะวันตกแล้วจะค่อยๆ ลดตำ่าลงสู่แอ่งที่ราบ
เชียงใหม่-ลำาพูน
สำาหรับตอนกลางของบริเวณนี้ ประกอบด้วยทิวเขามีลักษณะซับซ้อน
เป็ นสันยาวต่อเนื่ องกันรวม 3 ทิว มีความยาวทั้งหมด 412 กิโลเมตร
ส่วนใหญ่วางตัวในแนวตะวันออกเฉียงเหนื อ-ตะวันตกเฉียงใต้ ทิวเขา
ในบริเวณนี้ โดยทัว่ ไปจะเรียกว่าทิวเขาผีปันนำ้า เนื่ องจากทำาหน้าที่เป็ น
สันปั นนำ้าให้ไหลไปทางทิศเหนื อส่วนหนึ่ งและไหลลงไปทางทิศใต้อีก
ส่วนหนึ่ ง ตามลักษณะความลาดชันของแนวสันเขา ทางนำ้าที่ไหลไป
ทางทิศเหนื อ ได้แก่ แม่น้ ำาฝาง นำ้าแม่กก นำ้าแม่จัน และนำ้าแม่อิง
เป็ นต้น ซึ่งแม่น้ ำาเหล่านี้ จะไหลลงสู่แม่น้ ำาโขงต่อไป ส่วนทางนำ้าที่ไหล
ลงทางทิศใต้น้ ั นได้แก่ แม่น้ ำาปิ ง วัง ยม และน่าน ซึ่งแม่น้ ำาทั้งสี่สายนี้
เป็ นสาขาที่สำาคัญของแม่น้ ำาเจ้าพระยา
บริเวณระหว่างแนวเขาเหล่านี้ จะเป็ นแอ่งที่ราบห่บเขา (valley plain)
และที่ราบล่่มริมนำ้า (fluvial plain) กระจายตัวอยู่ทัว่ ไปหลายแห่ง ซึ่ง
เป็ นแหล่งที่ต้ ังของช่มชนขนาดใหญ่ทางภาคเหนื อ ที่สำาคัญได้แก่
แอ่งเชียงราย บริเวณล่่มแม่น้ ำากกและแม่น้ ำาอิง แอ่งแพร่ บริเวณล่่ม
แม่น้ ำายม แอ่งลำาปาง บริเวณล่่มแม่น้ ำาวัง แอ่งเชียงใหม่ -ลำาพูน
บริเวณล่่มแม่น้ ำาปิ ง แอ่งปาย แอ่งฝาง ในเขตจังหวัดเชียงใหม่
เป็ นต้น โดยแอ่งเหล่านี้ ทางด้านตะวันตกจะมีระดับความสูงมากกว่า
ด้านตะวันออก

1.2 บริเวณที่สูงทางภาคตะวันตกตอนบน (Upper Western


Highland)
ขอบเขตของบริเวณนี้ ครอบคล่มพื้ นที่บริเวณจังหวัดตาก
กำาแพงเพชร อ่ทย
ั ธานี ส่พรรณบ่ร ี และกาญจนบ่ร ี ลักษณะ
ภูมิประเทศประกอบด้วยเทือกเขาสูงสลับซับซ้อนที่ยาวต่อเนื่ องลงมา
ทางใต้ของทิวเขาถนนธงชัยในภาคเหนื อ ซึ่งเป็ นเทือกเขาทางด้าน
ตะวันตกที่ก้ ันพรมแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศพม่า เทือก
เขาเหล่านี้ ส่วนใหญ่วางตัวในแนวเหนื อ-ใต้ แล้วบิดโค้งจากแนวเดิม
มาวางตัวในแนวตะวันตกเฉียงเหนื อ-ตะวันออกเฉียงใต้ ในทิศทาง
เดียวกับรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ (Three Pagoda Fault Zone) ระดับ
ความสูงของเทือกเขาที่ยาวต่อเนื่ องกันจะค่อยๆ ลดตำ่าลงกลายเป็ นภู
เขาโดดๆ ขนาดเล็กสลับกับพื้ นที่ลอนลาด และเอียงเทลงสู่ท่ีราบล่่ม
ภาคกลาง ซึ่งอยู่ทางด้านตะวันออก
ภูเขาในบริเวณนี้ เป็ นหน้าผาตั้งชันมากกว่าทางตอนเหนื อ จึงทำาให้มี
ที่ราบห่บเขาและที่ราบล่่มริมนำ้าแคบๆ กระจายตัวอยู่ทัว่ ไปมากกว่า
ทางตอนเหนื อ ทางนำ้าที่เกิดจากทิวเขาถนนธงชัย ได้แก่ แม่น้ ำาแคว
ใหญ่ แม่น้ ำาแควน้อย ซึ่งไหลตามแนวรอยเลื่อนขนาดใหญ่และมี
เทือกเขาหินปูนคัน
่ ระหว่างกลางซึ่งมีความ สูงประมาณ 1,300 เมตร
จากระดับนำ้าทะเลปานกลาง แม่น้ ำาทั้งสองไหลมารวมกันเป็ นแม่น้ ำา
แม่กลองที่ตำาบลปากแพรก จังหวัดกาญจนบ่ร ี นอกจากนั้ นยังมี
แม่น้ ำาเมยซึ่งเป็ นแม่น้ ำากั้นพรมแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศ
พม่า บริเวณอำาเภอแม่สอด จังหวัดตาก มีทิศทางการไหลย้อนกลับ
ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนื อและไหลไปบรรจบกับแม่น้ ำาสาละวิน ใน
เขตประเทศพม่า และแม่น้ ำาสะแกกรังซึ่งไหลไปทางทิศตะวันออก
เฉียงใต้ ผ่านจังหวัดอ่ทัยธานี มาบรรจบกับแม่น้ ำาเจ้าพระยา เป็ นต้น

2 ธรณีวิทยาบริเวณภาคเหนื อและภาคตะวันตกตอนบน
2.1 ธรณีวิทยาทัว่ ไป
ธรณี วิทยาภาคเหนื อและภาคตะวันตกตอนบน ซึง่ มีลักษณะ
ภูมิประเทศเป็ นเทือกเขาสูงสลับซับซ้อนต่อเนื่ องกันในแนวเหนื อ-ใต้
และตะวันตกเฉียงเหนื อ-ตะวันออกเฉียงใต้น้ ั น ประกอบด้วยหินย่ค
ต่างๆกัน โดยเทือกเขาเหล่านี้ มักถูกกำาหนดโดยลักษณะธรณี วิทยา
โครงสร้างและชนิ ดของหินที่ปรากฏ
2.2 ธรณีวิทยาแนวแม่ฮ่องสอน - แม่สอด -ทองผาภูมิ
ชั้นหินที่สำาคัญในแนวนี้ ประกอบด้วยหินย่คไซลูเรียน-ดีโวเนี ยน-
คาร์บอนิ เฟอรัส ส่วนใหญ่ได้แก่ หินเชิร์ต หินดินดาน หินทรายและ
หินทรายชนิ ดซับเกรย์แวก สลับกับชั้นหินปูน โดยมีหินทรายแดงและ
หินกรวดมนย่คคาร์บอนิ เฟอรัส วางตัวอยู่ข้างบน แนวเทือกเขาที่ต่อ
ลงมาทางใต้ในเขตอำาเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบ่ร ี พบหิน
ประเภทต่างๆ ที่มีอาย่เกือบจะครบตลอดอาย่ทางธรณี กาล คือ ตั้งแต่
ช่วงต้นย่คแคมเบรียนถึงช่วงปลายย่คเทอร์เชียรี หินส่วนใหญ่เป็ น
หินตะกอน มีหินอัคนี และหินแปรเพียงส่วนน้อย หินแปรเช่น หิน
ไนส์ หินชีสต์ หินควอร์ตไซต์ หินแคลก์ซิลิเกตและหินอ่อน ซึ่งเชื่อว่า
เป็ นหินย่คแคมเบรียน พบเป็ นแนวยาวอยู่สองบริเวณ คือ บริเวณ
นำ้าตกคลองลาน จังหวัดกำาแพงเพชรและแนวระหว่างลำานำ้าแควใหญ่
์ ับอำาเภอทองผาภูมิ
กับลำานำ้าแควน้อย ช่วงระหว่างอำาเภอศรีสวัสดิก
จังหวัดกาญจนบ่ร ี โดยต่อเนื่ องลงมาตามแนวลำานำ้าแควใหญ่ถึง
บริเวณด้านใต้ของอำาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบ่ร ี เป็ นหินปูนและ
หินตะกอนมหาย่คพาลีโอโซอิกตอนล่าง ย่คออร์โดวิเชียน-ดีโวเนี ยน
ที่ถูกแปรสภาพขั้นตำ่าไม่ร่นแรงนั ก ส่วนหินย่คดีโวเนี ยน-คาร์บอนิ เฟ
อรัสพบอยู่ด้านตะวันตกของลำานำ้าแควน้อยต่อเนื่ องลงไปทางใต้
ลักษณะเด่นประการหนึ่ งในพื้ นที่น้ ี คือ มีหินปูนย่คเพอร์เมียน
หินทรายและหินทรายแป้ งสีแดงที่เกิดจากการสะสมตัวในทะเล
มหาย่คมีโซโซอิกแผ่กระจายเป็ นบริเวณกว้างขึ้นไปถึงเขตอำาเภอ
อ้่มผาง จังหวัดตาก
2.3 ธรณีวิทยาแนวดอยอินทนนท์ - ตาก
แนวเทือกเขานี้ ทอดยาวจากทางเหนื อลงมาจดแนวรอยเลื่อนแม่น้ ำา
ปิ งยาวประมาณ 300 กิโลเมตร กว้างมากกว่า 70 กิโลเมตร ซึ่งมี
ลักษณะธรณี วิทยาโครงสร้างเป็ นแกนรูปประท่นของภูมิภาค (Baum
et al., 1970) ประกอบด้วยหินแปรเกรดสูงพวก หินพาราไนส์ หินค
วอร์ตซิติกชีสต์ หินไบโอไทต์ชีสต์ หินแคลก์ซิลิเกตชีสต์และหินอ่อน
(Baum et al., 1970 และ Campbell, 1975) แนวชั้นหินด้านทิศ
เหนื อวางตัวอย่ใู นแนวเหนื อ-ใต้ แล้วค่อยๆ เบนไปเป็ นแนวตะวันตก
เฉียงเหนื อ-ตะวันออกเฉียงใต้ ใกล้กับแนวรอยเลื่อนแม่ปิงพบว่ามี
หินอัคนี ชนิ ดหินแกรนิ ต หินแกรโนไดออไรต์ และหินเพกมาไทต์
แทรกอยู่หลายๆ บริเวณตลอดแนวเทือกเขา หินแปรเกรดสูงทาง
ด้านตะวันออกเฉียงเหนื อของอำาเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
และทางตะวันตกของอำาเภอจอมทองและอำาเภอฮอดจังหวัดเชียงใหม่
ถูกปิ ดทับด้วยหินทรายย่คแคมเบรียน และ/หรือ หินปูนย่คออร์โดวิ
เชียนแบบไม่ต่อเนื่ อง (Baum et al., 1970
2.4 ธรณีวิทยาแนวเชียงราย - เชียงใหม่ - เถิน
ชั้นหินที่สำาคัญในแนวนี้ ประกอบด้วยหินย่คไซลูเรียน-ดีโวเนี ยน-
คาร์บอนิ เฟอรัส ซึ่งแบ่งได้เป็ น 2 แนว คือ แนวด้านตะวันตกที่ช้ ัน
หินเป็ นหินเชิร์ตและหินปูนมีซากดึกดำาบรรพ์ซ่ึงไม่ถูกแปรสภาพ
ส่วนอีกแนวด้านตะวันออกเป็ นหินแปรเกรดตำ่า ประกอบด้วยหินค
วอร์ตโซเฟลด์สปาติกชีสต์ หินฟิ ลไลต์ หินควอร์ตไซต์และหินเชิร์ต
ซึ่งแผ่กระจายปกคล่มบริเวณด้านตะวันออกของเขื่อนภูมิพล จังหวัด
ตาก บริเวณด้านตะวันออกของอำาเภอเถิน ดอยข่นตาล จังหวัด
ลำาปาง และบริเวณดอยลังกา จังหวัดเชียงราย โดยมีหินแกรนิ ต
แทรกดันตัวเข้ามาในบางพื้ นที่ เช่น ที่ดอยข่นตาล ดอยหมอกและ
ดอยลังกา
2.5 ธรณีวิทยาแนวลำาปาง-แพร่- สุโขทัย
ชั้นหินที่ปกคล่มบริเวณนี้ เป็ นหินย่คเพอร์เมียน-ไทรแอสซิก และหิน
มหาย่คมีโซโซอิก ที่ตกตะกอนในสภาวะแวดล้อมในทะเลตื้ นจนถึง
ทะเลลึก แอ่งที่สำาคัญในการสะสมตะกอน ได้แก่ แอ่งลำาปางโดยมี
ตะกอนคล้ายคลึงกับลักษณะปรากฏแบบฟลิชและตะกอนภูเขาไฟ
แอ่งแพร่มีการสะสมตะ กอนคล้ายแอ่งลำาปาง แต่จะมีตะกอนภูเขาไฟ
ปะปนน้อยกว่า
2.6 ธรณีวิทยาแนวน่าน-แพร่ - อุตรดิตถ์
บริเวณนี้ เริม
่ ตั้งแต่ทางตอนใต้และตะวันออกเฉียงใต้ของจังหวัดแพร่
ไปถึงแนวรอยเลื่อนอ่ตรดิตถ์ ซึ่งตอนล่างของแนวนี้ โค้งมาทางตะวัน
ตกเฉียงใต้บริเวณ อำาเภอบ้านด่านลานหอย จังหวัดส่โขทัย ส่วนใหญ่
เป็ นหินย่คไซลูเรียน ดีโวเนี ยน คาร์บอนิ เฟอรัส และเพอร์เมียน หิน
สองย่คแรกมักมีหินภูเขาไฟและตะกอนหินภูเขาไฟแทรกอยู่เสมอ
ชั้นหินเหล่านี้ วางตัวในแนวประมาณตะวันออกเฉียงเหนื อ-ตะวันตก
เฉียงใต้ ชั้นหินคดโค้งตลบทับ มีหินเมฟิ กและหินอัลตราเมฟิ กเกิดอยู่
ตามแนวรอยเลื่อนอ่ตรดิตถ์ ในเขตจังหวัดน่านและอ่ตรดิตถ์ หินย่ค
ไทรแอสซิก-ครีเทเชียสแผ่ปกคล่มเป็ นบริเวณกว้างทั้งด้านทิศตะวัน
ออกและตะวันตก

3 . ลำาดับชั้นหินทัว่ ไป
ลำาดับชั้นหินโดยทัว่ ไปบริเวณที่สูงภาคเหนื อและภาคตะวันตกตอนบน
ค่อนข้างซับซ้อนและมีความแตกต่างกันเฉพาะบริเวณ กล่าวโดย
ทัว่ ไปแล้วบริเวณนี้ ประกอบด้วยหินย่คต่างๆ เกือบท่กอาย่ทางธรณี
กาล เรียงลำาดับจากอาย่แก่ไปอ่อนได้ ดังนี้

หินมหายุคพรีแคมเบรียน หินพื้ นฐานซับซ้อนที่เชื่อว่าเป็ นหินมหาย่ค


พรีแคมเบรียนบริเวณภาคเหนื อนั้ น ประกอบด้วยหินแปรเกรดสูงซึ่ง
เป็ นหินแปรสภาพอย่างไพศาล โดยมีการเรียงลำาดับหินจากล่างขึ้นบน
ได้แก่ หินออร์โทไนส์ (หินแอนนาเท็กไซต์หรือหินมิกมาไทต์ ) หินพา
ราไนส์ หินชีสต์ หินแคลก์ซิลิเกตและหินอ่อน พบแผ่กระจายในเขต
อำาเภอปาย อำาเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน อำาเภอแม่แตง
อำาเภอแม่รม
ิ อำาเภอสะเมิง อำาเภอเมือง อำาเภอหางดง อำาเภอ
สันป่ าตอง อำาเภอจอมทอง อำาเภอแม่แจ่ม อำาเภอฮอด และอำาเภอ
ออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ลงมาทางจังหวัดตาก หินแปรเกรดสูงกล่่ม
นี้ มักพบติดอยู่กับหินที่มีอาย่อ่อนกว่าแบบมีรอยเลื่อนและแบบมีรอย
ชั้นไม่ต่อเนื่ อง ในเขตเทือกเขาดอยอินนนท ์และดอยส่เทพหินแปร
เกรดสูงเกิดขึ้นในลักษณะปรากฏของแร่แอมฟิ โบล (amphibole
facies) ภายใต้สภาวะที่มีอ่ณหภูมิสูงแต่มีความกดดันตำ่า
หินมหายุคพาลีโอโซอิกตอนล่าง หินย่คแคมเบรียน-ออร์โดวิเชียนชั้น
ล่างๆ เป็ นหินทรายแสดงการวางชั้นเฉียงระดับและชั้นหินกรวดมน
ถัดขึ้นมาเป็ นหินดินดาน สลับชั้นหินปูนบางๆ จนเป็ นชั้นหินปูนหนา
ที่พบซากดึกดำาบรรพ์โคโนดอนต์ ความหนาของหินทรายแคมเบรียน
และหินปูนออร์โดวิเชียน บริเวณภาคเหนื อที่จังหวัดตาก ประมาณ
350-600 เมตร และ 600-950 เมตร ตามลำาดับ
หินย่คไซลูเรียน-ดีโวเนี ยนบริเวณแนวแม่ฮ่องสอน-แม่สอด-
ทองผาภูมิ ประกอบด้วยหินเชิร์ต สีน้ ำาตาลถึงสีดำาสลับกับหินทราย
หินดินดานสีเทาและซับเกรย์แวกสลับกับหินปูนวางตัวต่อเนื่ องบน
หินย่คที่แก่กว่า หินปูนที่แทรกสลับอยู่น้ ี มีลักษณะคล้ายกับหินปูนย่
คออร์โดวิเชียนแต่มีซากดึกดำาบรรพ์โคโนดอนต์ บ่งอาย่ย่คไซลูเรียน
ตอนปลายถึงดีโวเนี ยนตอนปลาย และซากดึกดำาบรรพ์แกรปโตไลต์
ในหินดินดานสีดำาซึ่งให้อาย่ช่วงดีโวเนี ยน ความหนาของชั้นหินเหล่า
นี้ ประมาณ 500 เมตร (Baum et al., 1970) ในชั้นหินเชิร์ตและ
หินปูนซึ่งไม่ถูกแปรสภาพบริเวณแนวเชียงราย-เชียงใหม่-เถิน พบว่า
มีซากดึกดำาบรรพ์เทนทาคิวไลต์ (Kobayashi, 1964; Kobayashi and
Hamada, 1968; และ Jaeger et al., 1968) ส่วนชั้นหินย่คไซลูเรียน-
ดีโวเนี ยนด้านตะวันออก ที่ถูกแปรสภาพไปเป็ นหินแปรเกรดตำ่า
จำาพวก หินควอรตซ์-เฟลสปาติกชีสต์ หินฟิ ลไลต์ หินควอร์ตไซต์ หิน
แคลก์ซิลิเกตฟิ ลไลต์ หินอาร์จิลไลต์และหินเชิร์ต ซึ่งไม่พบ
ซากดึกดำาบรรพ์

หินมหายุคพาลีโอโซอิกตอนบน หินย่คคาร์บอนิ เฟอรัสตอนล่างใน


แนวแม่ฮ่องสอน-แม่สอด และเชียงราย-เชียงใหม่-เถิน ส่วนใหญ่เป็ น
หินทรายเนื้ อละเอียดมีกรวดปนบ้างเล็กน้อย และหินดินดาน โดยมี
หินปูนและหินเชิร์ตแทรกสลับ ความหนาของหินเหล่านี้ ประมาณ
300-400 เมตร (Baum et al., 1970) การสะสมตัวของชั้นหินต่อ
เนื่ องกันจนถึงย่คคาร์บอนิ เฟอรัสตอนปลาย
หินย่คคาร์บอนิ เฟอรัสที่พบบริเวณภาคตะวันตกทั้งหมดส่วนใหญ่เป็ น
หินทราย และหินโคลนที่มีเม็ดกรวดปน บริเวณด้านตะวันตกของ
ลำานำ้าแควน้อย ชั้นหินแสดงชั้นไม่ชัดเจนและไม่พบร่องรอยของ
ซากดึกดำาบรรพ์ในช่วงตอนล่างๆของชั้นหิน แต่จะเริม
่ พบ
ซากดึกดำาบรรพ์ ย่คคาร์บอนิ เฟอรัสตอนปลาย ในช่วงตอนบนๆ ของ
ชั้นหิน

หินย่คคาร์บอนิ เฟอรัสบริเวณทิศตะวันตกเฉียงใต้ ของจังหวัดส่โขทัย


นั้ น ชั้นหินช่วงล่างประกอบด้วยหินทรายสีเทาและสีน้ ำาตาลแดง
หินทรายแป้ ง หินดินดานและหินกรวดภูเขาไฟสีเขียว ส่วนที่บริเวณ
เขาหลวงประกอบด้วยหินกรวดภูเขาไฟสีแดง หินทัฟฟ์ และหินทราย
เนื้ อทัฟฟ์ ไม่พบร่องรอยความสัมพันธ์กับหินอื่นๆ หินย่คคาร์บอนิ เฟ
อรัสช่วงล่างตามแนวจังหวัดน่าน-อ่ตรดิตถ์ ประกอบด้วยหินดินดาน
เนื้ อทราย หินทราย หินกรวดภูเขาไฟ หินกรวดมนและหินเชิร์ตสีแดง
ส่วนช่วงบนเป็ นพวกหินเกรย์แวก หินอาร์จิลไลต์และหินปูน หินย่ค
คาร์บอนิ เฟอรัสวางตัวแบบรอยชั้นไม่ต่อเนื่ องเชิงม่มบนหินย่คที่แก่
กว่า และถูกปิ ดทับแบบต่อเนื่ องด้วยหินปูนที่มีซากดึกดำาบรรพ์หอย
สองฝา และฟูซล
ู ินิด

หินย่คเพอร์เมียนบริเวณภาคเหนื อเป็ นหินตะกอนและหินปูนเนื้ อ


ประสานแน่น บริเวณด้านตะวันตกของอำาเภอแม่สะเรียง จังหวัด
แม่ฮ่องสอน ชั้นหินเพอร์เมียนตอนล่างส่วนใหญ่เป็ นชั้นหินกรวดมน
ปูน บางแห่งเป็ นชั้นหินทรายที่มีหินเชิร์ตแทรกสลับบ้าง บริเวณเขต
อำาเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน อำาเภอปาย อำาเภอฝางและอำาเภอ
เชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ชั้นหินย่คเพอร์เมียนตอนล่างถึงย่คเพอร์
เมียนตอนกลางเป็ นพวกหินปูนชั้นหนา
บริเวณน่าน-อ่ตรดิตถ์-ท่่งเสลี่ยม หินย่คเพอร์เมียนเป็ นพวกหินทราย
หินดินดานและหินปูน สะสมตัวต่อเนื่ องจากชั้นหินย่คคาร์บอนิ เฟอรัส
ตอนปลาย แต่ในบริเวณทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัดน่าน
พบว่าชั้นหินปูนเริม
่ มีการสะสมตัวตั้งแต่ช่วงปลายย่คคาร์บอนิ เฟอรัส
ส่วนบริเวณทางด้านเหนื อของจังหวัดน่าน ชั้นหินปูนเริม
่ สะสมตัวใน
ช่วงต้นย่คเพอร์เมียน ในขณะที่บริเวณจังหวัดอ่ตรดิตถ์และส่โขทัย
ชั้นหินย่คเพอร์เมียนตอนล่างประกอบด้วยหินปูน หินดินดาน
หินทราย และหินเชิร์ตปนในชั้นหินปูน ที่เขาหินปูนผาหินตั้ง อำาเภอ
ตรอน จังหวัดอ่ตรดิตถ์ พบซากดึกดำาบรรพ์ของฟูซูลินิด: ชื่อ
Schwagerina indica, Pseudofusulina sp., Pseudoschwagerina cf.,
P. muongthensis บ่งอาย่ต้นย่คเพอร์เมียน (พิศิษฏ์ ส่ขวัฒนานั นท์
และคณิ ต ประสิทธิการก่ล, 2527) และในชั้นหินเชิร์ตบริเวณเขาวง
พระจันทร์ทางตะวันตกของอำาเภอท่่งเสลี่ยม จังหวัดส่โขทัย พบซาก
ดึกดำาบรรพ์เรดิโอลาเรียบ่งอาย่ต้นย่คเพอร์เมียน (Sashida et al.,
1997) ชั้นหินเพอร์เมียนตอนกลางประกอบด้วยหินปูน หินชั้น
ภูเขาไฟ หินทัฟฟ์ ภูเขาไฟ หินกรวดภูเขาไฟ และหินเชิร์ตสีแดง ส่วน
ชั้นหินตอนบนๆ เป็ นหินเกรย์แวก หินอาร์จิลไลต์ และมีหินปูนบ้าง
บริเวณลำาปาง-แพร่-ส่โขทัย หินย่คเพอร์เมียนจัดอยู่ในกล่่มหินงาว
(Bunopas, 1981) โดยแบ่งออกเป็ น 3 หมวดหินเรียงลำาดับจากล่าง
ขึ้นบน คือ หมวดหินกิ่วลมประกอบด้วยหินทัฟฟ์ และหินกรวด
ภูเขาไฟ หมวดหินผาหวด ประกอบด้วยหินปูนมวลหนาถึงชั้นบาง
และหินดินดานปนหินโคลน หมวดหินห้วยทาก ประกอบด้วย
หินดินดาน หินโคลน มีหินทราย หินปูนและหินกรวดมนแทรกสลับ
เป็ นช่วงๆ ความหนาของหมวดหินห้วยทากที่บริเวณดอยผาพลึง
อำาเภองาว จังหวัดลำาปาง ประมาณ 762 เมตร ซากดึกดำาบรรพ์ท่ีพบ
ในชั้นหินบ่งอาย่ปลายย่คเพอร์เมียน (Yanagida et al., 1988 และ
สงัด ปิ ยะศิลป์ , 2515).

หินมหายุคมีโซโซอิก การสะสมตัวของหินมหาย่คมีโซโซอิกในบริเวณ
ภาคเหนื อและภาคตะวันตกของประเทศมีความแตกต่างกัน ชั้นหิน
ส่วนใหญ่วางตัวแบบไม่ต่อเนื่ องอยู่บนชั้นหินย่คที่แก่กว่า
หินมหาย่คมีโซโซอิกแผ่กระจายในแนวแม่ฮ่องสอน-แม่สอด-อ้่มผาง-
ทองผาภูมิ โดยจำาแนกได้เป็ น 2 กล่่ม ได้แก่กล่่มหินที่สะสมตัวแบบ
ภาคพื้ นทวีปประกอบด้วยหินทราย หินทรายแป้ งและหินดินดาน
ส่วนอีกกล่่มเป็ นหินที่สะสมตัวภาคพื้ นสม่ทรประกอบด้วย หินกรวด
มน หินทราย หินดินดาน หินโคลนและหินปูน ซากดึกดำาบรรพ์ท่ีพบ
ในหินมหาย่คมีโซโซอิกบ่งอาย่ต้ ังแต่ย่คไทรแอสซิกตอนกลางถึงย่คจู
แรสซิกตอนกลาง หินย่คไทรแอสซิกทางด้านตะวันตกของอำาเภอ
อ้่มผาง จังหวัดตาก เป็ นพวกหินปูน หินทรายและหินโคลน บริเวณ
บ้านกล้อทอและบ้านปะละทะทางตะวันตกของอำาเภออ้่มผางก็เช่นกัน
ปกคล่มด้วยหินชั้นย่คจูแรสซิก ที่แสดงสภาวะการสะสมตัวของ
ตะกอนในทะเลนำ้าตื้ น ประกอบด้วยชั้นหินเรียงจากล่างขึ้นบนดังนี้
หินโคลนสลับหินทรายชั้นบางๆ หินทรายเนื้ อหยาบปานกลางที่มี
เลนส์หินปูนเกิดปนอยู่ด้วย เหนื อขึ้นไปเป็ นพวกหินปูนชั้นหนาถึง
มวลหนามีซากดึกดำาบรรพ์ปะการัง (coral) มาก และตอนบนส่ดเป็ น
ชั้นหินทรายเนื้ อละเอียดถึงหยาบแสดงลักษณะชั้นเฉียงระดับ ความ
หนาของหินย่คจูแรสซิกในเขตอำาเภออ้่มผางมากกว่า 400 เมตรขึ้น
ไป
ในแนวเชียงราย-ลำาปาง-แพร่ การสะสมตัวของชั้นหินมหาย่คมีโซโซ
อิกเกิดต่อเนื่ องจากย่คเพอร์เมียนตอนบนขึ้นมา ส่วนใหญ่เป็ นพวก
หินดินดานสลับกับหินปูน หินตะกอนภูเขาไฟแอนดีไซต์ทัฟฟ์ และหิน
ไรโอไลต์ทัฟฟ์ โดยวางตัวแบบรอยชั้นไม่ต่อเนื่ องเชิงม่มบน
หินตะกอนภูเขาไฟย่คเพอร์เมียน-ไทรแอสซิก หรือหินปูนย่คเพอร์
เมียน หินมหาย่คมีโซโซอิกช่วงย่คไทรแอสซิกที่เกิดจากการสะสมตัว
ของตะกอนทะเล ได้แก่ กล่่มหินลำาปาง ซึ่งประกอบด้วย หมวดหิน
พระธาต่ หมวดหินผาก้าน หมวดหินฮ่องหอย หมวดหินดอยลอง
หมวดหินผาแดง หมวดหินก้างปลา และหมวดหินวังชิ้น ซากดึกดำา
บรรพ์สำาคัญๆที่พบในกล่่มหินลำาปาง คือ หอยกาบคู่ (pelecypod)
Halobia sp., Daonella sp., Posidonia sp. และหอยกาบเดี่ยว
(cephalopod) แอมโมไนต์ (ammonite) ชื่อ Paratrachyceras sp. ใน
ช่วงย่คจูแรสซิกทางบริเวณด้านตะวันออกของจังหวัดเชียงราย-
พะเยา-น่าน ทางตะวันออกของจังหวัดอ่ตรดิตถ์ มีการสะสมตัวของ
ตะกอนบนบกของกล่่มหินที่เทียบเท่ากับกล่่มหินโคราช แต่ไม่ได้
กำาหนดชื่อกล่่มหินไว้ เพียงแบ่งออกเป็ น หมวดหิน ms1, ms2, ms3
(เทียบเท่าหมวดหินภูกระดึง), ms4 (เทียบเท่าหมวดหินพระวิหาร)
และ ms5 (เทียบเท่าหมวดหินเสาขัว) ตามลำาดับ โดยมีหมวดหิน
ms1 วางตัวแบบไม่ต่อเนื่ องเชิงม่มอยู่บนกล่่มหินลำาปาง หลังจากนั้ น
การสะสมตัวของชั้นตะกอนเป็ นไปอย่างต่อเนื่ อง ส่วนใหญ่เป็ นพวก
หินทราย หินทรายแป้ ง หินกรวดมน หินดินดาน หินโคลนและ หิน
ทัฟฟ์
หินมหายุคซีโนโซอิก หินเทอร์เชียรีพบกระจัดกระจายอยู่ทัว่ ไปตาม
บริเวณแอ่งทีร่ าบระหว่างภูเขาในเขตภาคเหนื อและภาคตะวันตก แอ่ง
เทอร์เชียรีดังกล่าวนั บว่ามีความสำาคัญทางด้านทรัพยากรเชื้ อเพลิง
ของประเทศอย่างยิ่ง เนื่ องจากเป็ นแหล่งสะสมตัวของแหล่งพลังงาน
เชื้ อเพลิงชนิ ดต่างๆ อาทิ นำ้ามันดิบในแอ่งฝาง ถ่านหินลิกไนต์ใน
แอ่งแม่เมาะ แอ่งลี้ แอ่งแม่ทาน และแอ่งนาฮ่อง หินนำ้ามันในแอ่ง
แม่สอด และแหล่งแร่ดินเบาในแอ่งลำาปาง เป็ นต้น
แอ่งแม่เมาะ จังหวัดลำาปางนั บว่าเป็ นแอ่งเทอร์เชียรีขนาดใหญ่ท่ีส่ด
ของภาคเหนื อที่พบชั้นถ่านหินลิกไนต์ ชั้นหินในแอ่งประกอบด้วยหิน
โคลน หินทรายแป้ ง หินทราย ถ่านหินลิกไนต์และหินกรวดมน
กำาหนดเป็ นกล่่มหินแม่เมาะ แบ่งออกเป็ น 3 หมวดหิน เรียงลำาดับ
จากล่างส่ดขึ้นบนได้แก่ หมวดหินห้วยคิง หมวดหินนาแขมซึ่งมีช้ ัน
ถ่านหินลิกไนต์และหมวดหินห้วยหลวง ชั้นตะกอนเหล่านี้ สะสมตัวใน
สภาวะแวดล้อมที่เป็ นทะเลสาบ ในเขตจังหวัดแพร่มีแอ่งเทอร์เชียรี
ขนาดใหญ่คือแอ่งแพร่ ประกอบด้วยชั้นหินทราย หินโคลนและชั้น
ถ่านหินลิกไนต์ท่ีมีก้อนตะกอนเนื้ อปูนปน สภาวะแวดล้อมการตก
ตะกอนเป็ นแบบที่ราบตะกอนนำ้าพารูปพัดและบริเวณที่ล่มนำ้าขัง
ตะกอนย่คควอเทอร์นารีในภาคเหนื อและภาคตะวันตกเป็ นตะกอนที่
เกิดจากแม่น้ ำาปิ ง วัง ยม และน่าน และส่วนใหญ่เป็ นตะกอนแบบนำ้า
พารูปพัด ทางตอนเหนื อในเขตของอำาเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่
บริเวณที่เป็ นตะพักสูงประมาณ 60 เมตร จากระดับพื้ นราบของแม่
นำ้าปิ งขึ้นไปนั้ นถูกปกคล่มด้วย หน่วยชั้นตะกอนแม่แตง ซึ่งประกอบ
ด้วยชั้นกรวดขนาดปานกลางถึงขนาดใหญ่ โดยมีตะกอนทรายและดิน
เหนี ยวเป็ นเนื้ อพื้ น นอกจากนั้ นในบริเวณตะพักสูงทัว่ ไปของภาค
เหนื ออาจพบชั้นศิลาแลง ที่มีลักษณะค่อนข้างแข็งมีรูพร่นและมีเศษ
ชิ้นส่วนของเทคไทต์ปนอยู่ด้วยในบางพื้ นที่
ในเขตจังหวัดลำาปาง หน่วยชั้นตะกอนนำ้าแม่จาง ปกคล่มพื้ นที่กว่า
200 ตารางกิโลเมตร ตลอดเส้นทางจากบ้านแม่ทะไปยังบ้านแม่เมาะ
ประกอบด้วยตะกอนกรวดทรายหนา บางส่วนปิ ดทับด้วยบะซอลต์
อาย่ได้ 0.69 ถึง 0.95 ล้านปี และตะกอนช่วงบนส่ดเป็ นชั้นศิลาแลง
และดินแลงที่เกิดจากการผ่พังของหินบะซอลต์ด้านล่าง
หินอัคนี ในภาคเหนื อและภาคตะวันตกตอนบนมีท้ ังหินอัคนี
แทรกซอนและหินอัคนี พ่ หินอัคนี แทรกซอนเป็ นพวกหินแกรนิ ตและ
หินไนส์สิกแกรนิ ต แบ่งออกได้เป็ น 3 แนว ได้แก่ แนวด้านตะวัน
ออกผ่านเขตของจังหวัดเชียงราย-พะเยา-น่าน-อ่ตรดิตถ์ หินแกรนิ ต
เป็ นพลูตอนขนาดเล็ก ลักษณะเนื้ อหินค่อนข้างหยาบ อาย่หิน
ประมาณ 208+-4 ถึง 213+-10 ล้านปี แนวตอนกลางผ่านทางด้าน
ทิศตะวันตกของจังหวัดเชียงใหม่-ลำาปาง และตาก หินแกรนิ ตเป็ น
แบบมวลไพศาล เนื้ อหินแสดงลักษณะการเรียงตัวของผลึกแร่และใน
บางพื้ นที่ผลึกแร่มีการหลอมตัวบางส่วน อาย่หินประมาณ 212 ฑ+-
12 ถึง 236 +- 5 ล้านปี และแนวหินแกรนิ ตด้านตะวันตก เป็ นพลู
ตอนเล็กๆต่อกันเป็ นแนวดันแทรกผ่านชั้นหินมหาย่คพาลีโอโซอิก
และหินแกรนิ ตแนวที่อยู่ตอนกลางบางแห่ง เนื้ อหินแสดงลักษณะ
ผลึกแร่เนื้ อดอกหยาบและเนื้ อหยาบปานกลาง อาย่หินประมาณ 130
ฑ 4 ล้านปี ส่วนหินอัคนี พ่น้ ั นปรากฏให้เห็นเป็ นบริเวณกว้างตั้งแต่
ทางด้านทิศตะวันออกของจังหวัดเชียงรายผ่านพะเยา-ลำาปาง-แพร่ลง
ไปถึงจึงหวัดตาก หินส่วนใหญ่เป็ นหินไรโอไลต์ หินแอนดีไซต์ หินไร
โอลิติกทัฟฟ์ หินแอนดีซิติกทัฟฟ์ และหินบะซอลต์ โดยมีหินแกบโบร
และหินไพรอกซิไนต์บ้าง อาย่ของหินอัคนี พ่มีต้ ังแต่ย่ค ไซลูเรียนถึงจู
แรสซิก สำาหรับหินบะซอลต์ที่พบในเขตอำาเภอแม่ทะ อำาเภอเกาะคา
และอำาเภอสบปราบ จังหวัดลำาปาง มีอาย่ประมาณ 5 ถึง 8 แสนปี ที่
บริเวณบ้านเชียงเคี่ยน อำาเภอเทิงและที่รม
ิ แม่น้ ำาโขง อำาเภอเชียงของ
จังหวัดเชียงราย มีอาย่ประมาณ 1.7+-0.12 ล้านปี และที่บ้านบ่อแก้ว
อำาเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ มีอาย่ประมาณ 5.64+-0.28 ล้านปี

You might also like