You are on page 1of 10

อารยธรรมลุม่ แม่นา้ ไนล์ : อียตป ์์

ที่ตง้ั ทางภูมิศาสตร์
อารยธรรมลุม่ แม่น้ าไนล์หรืออารยธรรมอียปิ ต์โบราณก่อกาเนิ ดบริเวณดินแดนสองฝัง่ แม่น้ าไนล์ ตัง้ แต่ปากแม่น้ าไนล์จนไป
ถึงตอนเหนื อของประเทศซูดานในปัจจุบนั
ทิศเหนื อ ติดกับ ทะเลเมดิเตอร์เรเนี ยนและคาบสมุทรไซนาย
ทิศตะวันตก ติดกับ ทะเลทรายลิเบียและทะเลทรายซาฮารา
ทิศตะวันออกและทิศใต้ ติดกับทะเลทรายนู เบียและทะเลแดง
จากสภาพภูมิอากาศดังกล่าวจะเห็นว่า บริเวณลุม่ แม่น้ าไนล์เปรียบเสมือนโอเอซิสท่ามกลางทะเลทราย จึงเป็ นปราการ
ธรรมชาติป้องกันการรุกรานจากภายนอกได้
สภาพภูมิประเทศของลุม่ แม่น้ าไนล์กอ่ นที่จะรวมเป็ นปึ กแผ่น ได้แบ่งออกเป็ นบริเวณลุม่ น้ าออกเป็ น 2 ส่วน
ได้แก่ ส่วนที่เป็ นบริเวณอียปิ ต์ลา่ ง (Lower Egypt) อยูบ่ ริเวณที่ราบลุม่ ปากแม่น้ าไนล์ ซึ่งเป็ นบริเวณที่แม่น้ าไนล์
แยกเป็ นแม่น้ าสาขาที่มีลกั ษณะเป็ นรูปพัด แล้วไหลลงทะเลเมดิเตอร์เรเนี ยน ชาวกรีกโบราณเรียก บริเวณนี้ วา่ เดลตา และ
บริเวณอียปิ ต์บน (Upper Egypt) ได้แก่ บริเวณที่แม่น้ าไนล์ไหลผ่าน หุบเขา เป็ นที่ราบแคบๆ ขนาบด้วยหน้าผา
ที่ลาดกว้างใหญ่ ถัดจากหน้าผา คือ ทะเลทราย ต่อมาเมเนส (Menes) ประมุขแห่งอียปิ ต์ลา่ งจึงได้รวมดินแดนทัง้ สอง
เข้าด้วยกัน
ปัจจัยที่สง่ ผลต่อการเกิดอารยธรรมลุม่ น้ าไนล์
1 ที่ตง้ั
- เนื่ องจากหิมะละลายในเขตที่ราบสูงเอธิโอเปี ย ทาให้บริเวณแม่น้ าไนล์มีดินตะกอนมาทับถมจึงเป็ นพื้นที่มีความอุดมสมบูรณ์
- มีความได้เปรียบทางธรรมชาติ เนื่ องจากประเทศอียปิ ต์เป็ นดินแดนที่ลอ้ มรอบด้วยทะเลทรายทาให้มีปราการธรรมชาติในการป้ องกันศัตรูภายนอก
2 ทรัพยากรธรรมชาติ
- แม้อยี ปิ ต์จะแห้งแล้ง แต่สองฝัง่ แม่น้ าไนล์กป็ ระกอบด้วยหินแกรนิ ตและหินทราย ซึ่งใช้กอ่ สร้างและพัฒนาความเจริญรุง่ เรืองด้านสถาปัตยกรรม วัสดุเหล่านี้ มีความ
แข็งแรงคงทนแข็งแรงและช่วยรักษามรดกทางด้านอารยธรรมของอียปิ ต์ให้ปรากฏแก่ชาวโลกมาจนกระทัง่ ปัจจุบนั
3 ระบบการปกครอง
- ชาวอียปิ ต์ยอมรับอานาจและเคารพนับถือกษัตริยฟ์ าโรห์ดุจเทพเจ้าองค์หนึ่ ง จึงมีอานาจในการปกครองและบริหารอย่างเต็มที่ทง้ั ด้านการเมืองและศาสนา โดยมีขุนนาง
เป็ นผูช้ ่วยในการปกครอง และพระเป็ นผูช้ ่วยด้านศาสนา ซึ่งการที่พาโรห์มีอานาจเด็ดขาดทาให้อยี ปิ ต์สามารถพัฒนาอารยธรรมของตนได้อย่างเต็มที่
4 ภูมิปญั ญาของชาวอียปิ ต์
- ชาวอียปิ ต์สามารถคิดค้นเทคโนโลยีและวิทยาการความเจริญด้านต่างๆเพื่อตอบสนองการดาเนิ นชีวิต ความเชื่อทางศาสนาและการสร้างความเจริญรุง่ เรืองให้แก่อยี ปิ ต์ เช่น
ความรูท้ างคณิ ตศาสตร์ เรขาคณิ ต และฟิ สิกส์ ได้สง่ เสริมความเจริญในด้านการก่อสร้างและสถาปัตยกรรม เป็ นต้น
สมัยอาณาจักรอียปิ ต์
1 สมัยอาณาจักรเก่า มีความเจริญในช่วงประมาณปี 2,700 – 2,200 ก่อนคริสต์ศกั ราช เป็ นสมัยที่อยี ปิ ต์มีความเจริญก้าวหน้าในด้านวิทยาศาสตร์และศิลปกรรม มีการก่อสร้าง
พีระมิดซึ่งถือว่าเป็ นเอกลักษณ์โดดเด่นของอารยธรรมอียปิ ต์
2 สมัยอาณาจักรกลาง ฟาโรห์มีอานาจปกครองอยูใ่ นช่วงราวปี 2050 – 1652 ก่อนคริสต์ศกั ราช ในสมัยนี้ อียปิ ต์มีความเจริญก้าวหน้าทางด้านทางวิทยาการและภูมิปญั ญามาก
โดยเฉพาะด้านการชลประทาน จึงได้รบั การยกย่องว่าเป็ นยุคทองของอียปิ ต์ อย่างไรก็ตาม ในช่วงปลายสมัยเกิดความวุน่ วายภายในประเทศ จนต่างชาติเข้ามารุกรานและปกครองอียปิ ต์
3 สมัยอาณาจักรใหม่ ชาวอียปิ ต์สามารถขับไล่ชาวต่างชาติ และกลับมาปกครองดินแดนของตนอีกครัง้ หนึ่ ง ในช่วงประมาณปี 1567 – 1085 ก่อนคริสต์ศกั ราช สมัยนี้ ฟาโรห์มี
อานาจเด็ดขาดในการปกครองและขยายอาณาเขตเหนื อดินแดนใกล้เคียงจนเป็ นจักรวรรดิ
4 สมัยเสื่อมอานาจ จักรวรรดิอยี ปิ ต์เริ่มเสื่อมอานาจตัง้ แต่ประมาณปี 1,100 ก่อนคริสต์ศกั ราช ในสมัยนี้ ชาวต่างชาติ เช่น พวกอัสซีเรียนและพวกเปอร์เซียจากเอเชีย รวมทัง้ ชนชาติ
ในแอฟริกาได้เข้ามายึดครอง จนกระทัง่ เสื่อมสลายในที่สดุ
ด้านการเมืองการปกครอง
1 สมัยอาณาจักรเก่า กษัตริยห์ รือฟาโรห์ (Pharaoh) มีอานาจสูงสุด โดยมีผูช้ ่วยในการปกครองคือ ขุนนาง หัวหน้าขุนนางเรียกว่า “วิเซียร์” และมีหน่ วยงานย่อย ๆ ใน
การบริหารประเทศ แต่ละเมืองแต่ละหมู่บา้ นมีผูป้ กครองระดับต่าง ๆ ดูแลเป็ นลาดับขัน้ แต่ละชุมชนถูกเกณฑ์แรงงานมาทางานให้แก่ทางการซึ่งส่วนใหญ่คือ การสร้างพีระมิดแต่ละ
อาณาจักรมีอานาจปกครองเหนื อมณฑลต่าง ๆหรือเรียกว่าโนเมส ซึ่งแต่ละโนเมสมีสญั ลักษณ์แตกต่างกัน ต่อมามีการรวมกันเป็ นอาณาจักรใหญ่ 2 แห่ง คืออียปิ ต์บนและอียปิ ต์ลา่ ง ต่อมา
ทัง้ 2 อาณาจักรได้ถกู รวมเข้าด้วยกันเกิดราชวงศ์อยี ปิ ต์โดยประมุขแห่งอียปิ ต์ (เมเนสหรือนาร์เมอร์) ความเสื่อมของอารยธรรมสมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ การสร้างพีระมิดขนาดใหญ่ เป็ น
การบัน่ ทอนเศรษฐกิจและแรงงานของอียปิ ต์ ซึ่งนาความเสือ่ มมาสูร่ าชวงศ์อยี ปิ ต์
2 สมัยอาณาจักรกลาง ฟาโรห์เปลี่ยนภาพลักษณ์จากผูป้ กครองที่อยูห่ า่ งไกลประชาชนมาเป็ นผูป้ กป้ องประชาชน ลดการสร้างพีระมิด แต่ประชาชนต้องตอบแทนด้วยการทางาน
สาธารณะต่าง ๆ เช่น การระบายน้ าในบริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ าเพื่อช่วยการเกษตร การขุดคลองเชื่อมแม่น้ าไนล์กบั ทะเลแดงเพื่อการสะดวกในการค้าและขนส่ง
3 สมัยอาณาจักรใหม่ฟาโรห์อเมนโฮเตปที่ 4 ทรงเปลี่ยนแปลงความเชื่อในเรื่องการนับถือเทพเจ้าหลายองค์มาเป็ นการนับถือเทพเจ้าองค์เดียว คือ เทพเจ้าแห่งดวงอาทิตย์ ทาให้
เกิดความไม่พอใจในหมู่ขุนนางและประชาชน รัชกาลนี้ จึงตกตา่ แต่เมื่อฟาโรห์ตตุ นั คาเมนขึ้นครองราชย์จงึ เปลี่ยนกลับไปนับถือเทพเจ้าหลายองค์เช่นเดิม ตัง้ แต่ศตวรรษที่ 11 ก่อน
คริสต์ศกั ราช อียปิ ต์สูญเสียความเข้มแข็ง ชนเผ่าต่าง ๆ สลับกันมีอานาจปกครองอียปิ ต์ เช่น อัสซีเรีย ลิเบีย เปอร์เซีย สุดท้ายอียปิ ต์กลายเป็ นส่วนหนึ่ งของอาณาจักรโรมัน
ด้านเศรษฐกิจ
อาชีพหลักของชาวอียปิ ต์ คือ เกษตรกรรม เพราะว่าดินอุดมสมบูรณ์ ทาให้ผลิตอาหารเกินความต้องการ การผลิตทางการเกษตรที่เป็ นหลักของอียปิ ต์ คือ ข้าวสาลี บาร์เลย์ ข้าวฟ่ าง
ถัว่ ฝักยาว ถัว่ ผักและผลไม้ และต่อมาชีวิตที่มงั ่ คัง่ และฟุ่ มเฟื อยของบางคนนาไปสูก่ ารพัฒนางานหัตถกรรมและอุตสาหกรรม บางส่วนทอผ้า บางส่วนผลิตเครื่องตกแต่ง หม้อ ลินิน และอัญ
มณี เหล็กและทองแดงมีการถลุง นามาใช้ในการทาเครื่องมือ แก้ว และเครื่องปัน้ ดินเผา มีการผลิตทัง้ แบบเรียบ ๆ และวาด ทัง้ ยังมีวิศวกร จิตรกร ประติมากร และสถาปนิ กอีกด้วย

ภาพการประกอบอาชีพของชาวอียปิ ต์

ภาพแสดงการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ (สังเกตจากลักษณะสีผวิ และการแต่งกาย)


ด้านสังคม
เป็ นสังคมแบบลาดับชัน้ ผูป้ กครองสูงสุด คือ ฟาโรห์ และชนชัน้ ปกครองอืน่ ๆ คือ ขุนนางและนักบวช ชนชัน้ รองลงมาคือ พ่อค้าและช่างฝี มือ ชนชัน้ ล่าง คือ ชาวนา และทาส ซึ่ง
เป็ นคนส่วนใหญ่ ที่ดินทัง้ หมดเป็ นของฟาโรห์ สาหรับขุนนางและนักบวชก็ได้ครอบครองที่ดินจานวนมาก ชาวนาอาศัยอยูใ่ นหมู่บา้ นหรือเมืองเล็กๆ และเสียภาษีเป็ นผลผลิตให้ฟาโรห์ ขุน
นาง และพระ รวมทัง้ ต้องถูกเกณฑ์แรงงานไปทางานให้รฐั และเป็ นทหารสตรีมีบทบาทสูงไม่นอ้ ยกว่าผูช้ าย คือ ให้สถานภาพแก่สตรีสูง ยอมให้สตรีข้ ึนครองราชบัลลังก์ได้ มีสทิ ธิในการมี
ทรัพย์สนิ และมรดก ราชินีท่มี ีช่ือเสียงของอียปิ ต์ คือ แฮตเชพซุต (Hatchepsut) ซึ่งปกครองในศตวรรษที่ 15 ก่อนคริสต์ศกั ราช และทาความงดงามให้กบั เมืองคาร์นกั
ชาวอียปิ ต์ไม่ยอมให้ชายแต่งงานกับสตรีเป็ นภรรยามากกว่า 1 คน แม้ว่าการมีเมียน้อยเป็ นเรื่อง ปกติและยอมรับทัว่ ไป ลักษณะที่แปลกของระเบียบสังคมนี้ คือ ชอบให้พ่ชี าย-น้องสาว
แต่งงานกัน หรือแต่งงานภายในตระกูล ฟาโรห์แต่งงานกับตระกูลของตน เพื่อรักษาความบริสุทธิ์ของสายเลือด ประเพณี น้ ี ได้มีผูอ้ น่ื นาไปใช้ต่อมา

ด้านศาสนา
ชาวอียปิ ต์นบั ถือเทพเจ้าหลายองค์ท่เี กี่ยวข้องกับอานาจธรรมชาติโดยเทพเจ้าที่ได้รบั การเคารพสูงสุด คือ เร หรือ รา (Re or Ra) เทพเจ้าแห่งดวงอาทิตย์ และเป็ นหัวหน้าแห่ง
เทพเจ้าทัง้ ปวง ซึ่งปรากฏในหลายชื่อและหลายรูปลักษณ์ เช่น ผูม้ ีรา่ งกายเป็ นมนุ ษย์ มีหวั เป็ นเหยี่ยว และในรูปของมนุ ษย์คือ ฟาโรห์ ผูไ้ ด้รบั การยกย่องว่าเป็ นบุตรของเร และมีเทพเจ้า
สาคัญองค์อน่ื ๆ อีก เช่น เทพเจ้าแห่งแม่น้ าไนล์หรือโอซิรสิ และยังเป็ นผูพ้ ทิ กั ษ์ดวงวิญญาณหลังความตาย เทพเจ้าแห่งพื้นดินหรือไอซิส เป็ นผูส้ ร้างและชุบชีวติ คนตาย เป็ นต้น การยกย่อง
กษัตริยใ์ ห้เทียบเท่าเทพเจ้า ทาให้สถาบันกษัตริยม์ ีความศักดิ์สทิ ธิ์ประดุจเป็ นเทพเจ้า ความเชื่อนี้ มีผลต่อการสร้างอารยธรรมดังเช่น การสร้างพีระมิด
ด้านภาษาและวรรณกรรม
ชาวอียปิ ต์ได้พฒั นาระบบการเขียนที่เรียกว่า เฮียโรกริฟิค (Hieroglyphic) เป็ นคาภาษากรีก มี ความหมายว่า การจารึกอันศักดิ์สทิ ธิ์ เริ่มต้นด้วยการเขียนอักษรภาพแสดง
สัญลักษณ์ตา่ งๆ แล้วค่อย ๆ พัฒนาขึ้นมาเป็ นรูปแบบพยัญชนะ ในระยะแรก ชาวอียปิ ต์จารึกเรื่องราวด้วยการแกะสลักอักษรไว้ตามกาแพงและผนังของสิง่ ก่อสร้าง เช่น วิหารและพีระมิด
ต่อมาจึงค้นพบวิธีการทากระดาษจากต้นปาปิ รุส ทาให้มีการบันทึกแพร่หลายมากขึ้น

ตัวอย่างอักษรภาพเฮียโรกริฟิค (Hieroglyphic)
ด้านศิลปวิทยาการ
1 ด้านดาราศาสตร์
ความรูท้ างด้านดาราศาสตร์เกิดจากการสังเกตปรากฏการณ์จากการเกิดน้ าท่วมของแม่น้ าไนล์ ซึ่งได้นาความรูน้ ้ ี มาคานวณเป็ นปฏิทินแบบสุรยิ คติท่ีแบ่งวันออกเป็ น 365 วันใน 1 ปี
ซึ่งมี 12 เดือน และในรอบ 1 ปี ยังแบ่งออกเป็ น 3 ฤดูกาล ที่กาหนดตามวิถกี ารประกอบอาชีพ คือ ฤดูน้ าท่วม ฤดูไถหว่าน และฤดูเก็บเกี่ยว
2 ด้านคณิ ตศาสตร์
ความรูท้ างคณิ ตศาสตร์และเรขาคณิ ตที่อยี ปิ ต์ให้แก่ชาวโลก เช่น การบวก ลบ และหาร และการคานวณพื้นที่วงกลม สี่เหลี่ยม และสามเหลี่ยม ความรูด้ งั กล่าวเป็ นฐานของวิชาฟิ สิกส์
ที่ใช้คานวณในการก่อสร้างพีระมิด วิหาร และเสาหินขนาดใหญ่
3 ด้านการแพทย์
ชาวอียปิ ต์โบราณมีความรูท้ างการแพทย์สาขาทันตกรรม แพทย์ผูเ้ ชี่ยวชาญหลายสาขา เช่น กระเพาะอาหาร และศัลยกรรม ซึ่งมีหลักฐานการบันทึก และต่อมาถูกนาไปใช้แพร่หลาย
ในทวีปยุโรป ตลอดจนวิธีเสริมความงามต่าง ๆ เช่น การรักษาริ้วรอยเหี่ยวย่น การใช้ผมมนุ ษย์ทาวิกผม เป็ นต้น
4 ด้านสถาปัตยกรรม
เอกลักษณ์ของสถาปัตยกรรมอียปิ ต์ คือ พีระมิดที่บรรจุศพของฟาโรห์ ซึ่งสร้างขึ้นด้วยจุดประสงค์ทางศาสนาและอานาจทางการปกครอง นอกจากพีระมิดแล้ว ยังมีการสร้างวิหาร
จานวนมาก เพื่อบูชาเทพเจ้าในแต่ละองค์ และเป็ นสุสานของกษัตริย ์ เช่น วิหารแห่งเมืองคาร์นัก เป็ นต้น

ภาพสุสานกษัตริยข์ องอียปิ ต์
5 ด้านประติมากรรม
ชาวอียปิ ต์สร้างประติมากรรมไว้จานวนมากทัง้ ที่เป็ นรูปปัน้ และภาพสลักที่ปรากฏในพีระมิดและวิหาร ภาพสลักส่วนใหญ่จะประดับอยูใ่ นพีระมิดและวิหาร ในพีระมิดมักพบรูปปัน้ ของ
ฟาโรห์และพระมเหสี รวมทัง้ เรื่องราววิถชี ีวิตของอียปิ ต์ ส่วนภายในวิหารมักจะเป็ นรูปปัน้ สัญลักษณ์ของเทพและสัตว์ศกั ดิ์สทิ ธิ์ เช่น สุนัข แมว เหยี่ยว เป็ นต้น และภาพสลักที่แสดงเรื่องราว
และเหตุการณ์
6 ด้านจิตรกรรม
ผลงานด้านจิตรกรรมมีเป็ นจานวนมาก มักพบในพีระมิดและสุสานต่างๆ ภาพวาดของชาวอียปิ ต์สว่ นใหญ่มีสสี นั สดใส มีทง้ั ภาพสัญลักษณ์ของเทพเจ้าที่ชาวอียปิ ต์นับถือ พระราช
กรณี ยกิจของฟาโรห์และสมาชิกในราชวงศ์ ภาพบุคคลทัว่ ไปและภาพที่สะท้อนวิถชี ีวติ ของชาวอียปิ ต์ เช่น ภาพการประกอบอาชีพ เป็ นต้น
จัดทาโดย
นางสาว ธนัญญา นาวัน ม.6/5 เลขที่18

เสนอ
คุณครู อิชยา

สาระการเรียนรูร้ ายวิชาประวัตศิ าสตร์

(เรียนซ้า)

You might also like