You are on page 1of 40

อารยธรรมเมโสโปเตเมีย

เมโสโปเตเมีย (Mesopotamia) เป็ นคำกรีกโบราณ =


"ที่ระหว่างแม่น้ำ"  "ดินแดนระหว่างแม่น้ำแม่น้ำไทกริส
ดินแดนระหว่างแม่น้ำ และ
ยูเฟรทีส" (meso = กลาง, potamia = แม่น้ำ) ซึ่งเป็ น
ส่วนหนึ่งของ "ดินแดนรูปพระจันทร์เสี้ยว
ดินแดนรูป อันอุดมสมบูรณ์ " (ซูเมอร์ )
โดยเป็ นดินแดนรูปครึ่งวงกลมผืนใหญ่ ทอดโค้งขึ้นไปจากฝั่ง
ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนไปจรดอ่าวเปอร์เซีย
ไปจรด
ปัจจัยทางภูมิศาสตร์กับการตั้งถิ่นฐาน
 เมโสโปเตเมียตั้งอยู่ระหว่างแม่น้ำ 2 สาย คือแม่น้ำไทกริส
คือ
(Tigris) และแม่น้ำยูเฟรทีส
และ (Euphrates)(
ประเทศอิรัก ซึ่งมีกรุงแบกแดด
ซึ่งมีกรุง เป็ นเมืองหลวง) แม่น้ำทั้ง 2 สายมี
ต้นน้ำอยู่ในอาร์เมเนีย
ต้นน้ำอยู่ใน และเอเชียไมเนอร์
และ ไหลลงสู่ทะเลที่
อ่าวเปอร์เซีย
 แม่น้ำไทกรีส = มีต้นกำเนิดจากเทือกเขาซากรอสในประเทศ
อิหร่าน
 แม่น้ำยูเฟรติส = มีต้นกำเนิดจากเขตภูเขาในบริเวณที่ราบสู
งอาร์เมเนีย ในประเทศตุรกีปัจจุบัน
เมโสโปเตเมีย (meso=กลาง,potamia=แม่น้ำ)ดินแดนดังกล่าวนี้ เป็น
ส่วนหนึ่งของ "ดินแดนรูปพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์" ซึ่งเป็นดินแดนรูป
ครึ่งวงกลมผืนใหญ่ ที่ทอดโค้งขึ้นไปจากฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนไปจรดอ่าว
เปอร์เซีย
ปัจจัยที่ส่งผลให้อารยธรรมเมโสโปเตเมียเจริญ
รุ่งเรือง
1. ความอุดมสมบูรณ์ของลุ่มแม่น้ำไทกรีส
และยูเฟรตีส
2. ความคิด และการสืบทอดอารยธรรมของ
กลุ่มชนในดินแดนแห่งนี้ซึ่งมีด้วยกัน 6 กลุ่ม
3.มีพรมแดนธรรมชาติเป็นเกราะป้ องกันการ
รุกรานจากศัตรูภายนอก โดยทิศเหนือมีภูเขา
และที่ราบสูง ทิศใต้ติดอ่าวเปอร์เซีย ทิศตะวัน
ออกจดเทือกเขาซาร์กอส และทิศตะวันเป็น
ทะเลทรายซีเรีย
 เมโสโปเตเมียแบ่งออกเป็ นสองส่วน
 ส่วนล่างใกล้กับอ่าวเปอร์เซีย มีความอุดมสมบูรณ์เรียกว่าบาบิโลเนีย
(Babylonia)
 ส่วนบนซึ่งค่อนข้างแห้งแล้งเรียกว่าแอสซีเรีย (Assyria) บริเวณทั้งหมด
มีชนชาติหลายเผ่าพันธุ์อาศัยอยู่ มีการรบพุ่งกันอยู่เสมอ เมื่อชาติใดมีอำนาจก็
เข้าไปยึดครองและกลายเป็ นชนชาติเดียวกัน
 อาณาบริเวณที่เรียกว่า เมโสโปเตเมีย
 ทิศเหนือ-จรด- ทะเลดำและทะเลแคสเปี
และ ยน
 ทิศตะวันตกเฉียงใต้ -จรด- คาบสมุทรอาหรับซึ่งล้อมรอบด้วยทะเลแดง
ซึ่งล้อมรอบด้วย และมหาสมุทรอินเดีย
 ทิศตะวันตก-จรด- ที่ราบซีเรีย
ที่ราบ และปาเลสไตน์
และ
 ส่วนทิศตะวันออก-จรด- ที่ราบสูงอิหร่าน
ที่ราบสูง
 เมโสโปเตเมียเป็ นดินแดนที่อากาศร้อนและกันดารฝน ได้รับน้ำจากหิมะ
ละลายในภาคฤดูร้อนบนเทือกเขาในอาร์เมเนีย (Armenia)
+โคลนตมทับถมให้พื้นดินอุดมสมบูรณ์และบางครั้งทำความเสียหาย
การกสิกรรมจึงต้องอาศัยระบบการชลประทานที่มีประสิทธิภาพ
 ความอุดมสมบูรณ์ของลุ่มแม่น้ำเป็ นเครื่องดึงดูดให้ผู้คนเข้ามาทำมา
หากินในบริเวณนี้ แต่ความร้อนของอากาศก็เป็ นเครื่องบั่นทอนกำลัง
ทำให้ขาดความกระตือรือร้น เมื่อมีพวกอื่นรุกรานจึงหลีกทางให้ผู้ที่เข้ามา
ใหม่
 พวกที่รุกรานส่วนใหญ่มักมาจากบริเวณหุบเขาที่ราบสูงทางภาคเหนือ
และตะวันออก ซึ่งส่วนใหญ่เป็ นเขาหินปูนไม่อุดมสมบูรณ์ และพวกที่มา
จากทะเลทรายซีเรียและอารเบีย ดินแดนนี้จึงเกี่ยวข้องกับคนหลายกลุ่ม
 สภาพภูมิประเทศที่เป็นที่ราบและเปิ ดโล่ง ไม่มีปราการธรรมชาติ
กั้นอยู่ ทำให้ชนเผ่าต่าง ๆ เข้ามารุกรานได้โดยง่าย
 อารยธรรมเมโสโปเตเมีย จึงเป็นอารยธรรมที่ถูกสร้างโดยชนเผ่า
หลายกลุ่ม
ชนเผ่าที่สำคัญ
 1. สุเมเรียน (Sumerians) เป็นชนเผ่ากลุ่มแรกที่เข้ามาตั้งถิ่นฐาน
บริเวณดินแดนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ เรียกว่า Sumer
 เมืองมีฐานะเป็น “นครรัฐ” แต่นครรัฐปกครองกันเอง และมีการสู้รบ
ระหว่างกันด้วย (ระบบกษัตริย์)
 เนื่องจากสภาพภูมิอากาศแบบกึ่งทะเลทรายที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการ
ดำเนินชีวิต ที่มีอากาศวิปริตแปรปรวนอยู่เสมอ ส่งผลทำให้ชาวสุเม
เรียนต้องสร้างทำนบกั้นน้ำ คลองระบายน้ำ เขื่อนกั้นน้ำ ประตู
ระบายน้ำ อ่างเก็บน้ำ เพื่อระบายน้ำไปยังพื้นที่แห้งแล้งที่อยู่ไกลออก
ไป(ชาวสุเมเรียนเป็นชนกลุ่มแรกที่ทำระบบชลประทานได้)
อารยธรรมของชาวสุเมเรียน
1. สภาพภูมิอากาศที่เลวร้ายมีผลให้สุเมเรียนเป็ นตัวเองเป็ นทาส หรือ ของ
เล่น ของพระเจ้า สังคมสุเมเรียนจึงยกย่องเกรงกลัวพระเจ้า และถือเป็ น
หน้าที่ของทุกคนที่ต้องรับใช้พระเจ้าอย่างซื่อสัตย์ เพื่อให้พระเจ้าเมตตา
ไม่ลงโทษ
2. “ซิกกูแลต” (Ziggurat) คล้ายภูเขา เป็ นสัญลักษณ์ที่ประทับของ
พระเจ้า ทำจากอิฐตากแห้ง อยู่ใจกลางเมืองและห้อมล้อมด้วยบ้านเรือน
(ที่สอนหนังสือแก่นักบวชรุ่นเยาว์ )
ที่สิงสถิตของเทพเจ้า

“วิหารหอคอย” หรือ “ซิกกูแรท” ที่สร้างด้วยดินหรืออิฐตากแห้ง ซึ่งนั่นนับเป็ นจุดอ่อนของ


สถาปัตยกรรมของชาวสุเมเรียน เพราะดินสามารถเสื่อมสลาย ผุผังไปตามกาลเวลาได้ง่าย
ลักษณะของซิกกูแรตคล้ายๆกับพีระมิดมัสตาบ้าของอียิปต์โบราณ แต่จะเป็ นฐานสี่เหลี่ยม
จัตุรัสเรียงซ้อนกันขึ้นไป มีทางขึ้นทั้ง 2-3 ด้าน ด้านบนสุดเป็ นที่สิงสถิตของเทพเจ้า
3. ตัวอักษร เป็ นตัวอักษรเครื่องหมาย หรือเรียกว่า “อักษรรูปลิ่ม” หรือ
“อักษรคูนิฟอร์ม” รูปร่างคล้ายตัววีในภาษาอังกฤษ โดยนำเอาไม้สลักลง
บนแผ่นดินเหนียวเปี ยกๆ เป็ นสัญลักษณ์ต่างๆ แทนความหมายของคำ
เพื่อประโยชน์ทางศาสนกิจและการบันทึกของพวกพระ เช่นบัญชีการค้า
บทบัญญัติทางศาสนา วรรณกรรม (มหากาพย์กิลกาเมช = Epic of
Gilgamest)
 จารึกมหากาพย์กิลกาเมช ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์น้ำท่วมโลก ในอัคคา
เดียน

 เป็นการผจญภัยของกิลกาเมช ประมุข
และวีรบุรุษแห่งอูรุก (2,700 BE)
เพื่อแสวงหาชีวิตที่เป็นอมตะ แต่ล้มเหลว
เพราะชีวิตกับความตายเป็นของคู่กัน
4. การปกครอง ปกครองแบบเทวาธิปไตย อาศัยอำนาจของเทพเจ้าเป็ น
เครื่องมือในการปกครอง มีอยู่ด้วยกัน 2 กลุ่มคือ
1) ลูการ์ คือทหารที่มาปกครอง
2) ปาเตซี คือพระที่เป็ นคนกลางระหว่างเทพเจ้ากับมนุษย์ จึงได้เข้ามามี
ส่วนร่วมในการปกครอง แต่ก็ไม่นานนัก
5. วิทยาศาสตร์ ทำปฎิทินโดยยึดหลักจันทรคติ
1 ปี มี 360 วัน รู้จักคำนวณหาพื้นที่เพื่อเพาะ
ปลูกหรือก่อสร้าง เริ่มสังเกตความเป็ นไปบน
ท้องฟ้ า
6. สังคม แบ่งเป็ น 4 ชนชั้น ได้แก่
1) ชนชั้นสูงหรือปกครอง ได้แก่ พระ ผู้ครอง
นคร
2) ชนชั้นกลาง ได้แก่ พ่อค้า ช่างฝี มือ อาลักษณ์
3) ชนชั้นต่ำ ได้แก่ ประชาชนทั่วไป ชาวนา
4) ชนชั้นต่ำสุด ได้แก่ ทาส
ชนชั้นต่ำสุด ถูกใช้แรงงานในการสร้างซิกกูแรท
ชนชั้นสูงหรือชนชั้นปกครอง

เครื่องใช้ที่พบ (ชาม)
ภาพวาดและจารึกที่แสดงถึงความเชื่อของชาวสุเมเรียน
การวางผังเมือง
6. ระบบชลประทาน
7. อื่น ๆ = ด้านคณิตศาสตร์ ปฏิทิน การชั่ง ตวง วัด การแบ่งย่อยจำนวน เช่น
จำนวน 12, 24, 60, 90, 360, การแบ่งวันออกเป็ น 24 ชั่วโมง (กลาง
วัน 12 ชม. กลางคืน 12 ชม. ) การแบ่งมุม, การคูณ หาร ยกกำลัง การถอด
รากกำลังที่สองและที่สาม การคำนวณวงกลม การนับเดือนแบบจันทรคติ เป็ นต้น
2. อัคคาเดียน (Akkadian) หรือ แอคคัด เข้ามายึดพื้นที่
บริเวณทางตอนเหนือของ Sumer เรียกบริเวณนี้ว่า
Akkad
พระเจ้าซาร์กอนที่ 1 ปราบ นครรัฐของพวกสุเมเรียน และ
รวมนครรัฐต่าง ๆ ไว้ด้วยกัน สถาปนาเป็น “จักรวรรดิอัคคา
เดียน” (Akkadian Empire)
ไม่นานก็ถูกพวกสุเมเรียนยึดอำนาจ
อาณาจักรบาบิโลเนีย
3. อมอไรต์ (Amorites) เป็นเผ่าเซมิติก อพพยพมาจากทะเลทรายอา
ระเบีย ยึดนครและตั้งกรุงบาบิโลน (Babylon) เป็นเมืองหลวง
กษัตริย์ที่มีชื่อเสียง คือ พระเจ้าฮัมมูราบี (Hammurabi) แต่ต่อมาถูก
พวกแคสไซต์เข้ามารุกราน
 ผลงานที่สำคัญ คือ ประมวลกฎหมายฮัมมูราบี ซึ่งมีหลักการมาจากชาว
สุเมเรียน มีการจัดให้เป็นระบบ ให้อำนาจการลงโทษผู้กระทำผิด โดยยึด
หลัก ตาต่อตา ฟันต่อฟัน (มิชารัม=ทำให้ถูกต้องแก้กฎหมายเผ่า)
 ต่อมาพวกพระมีอำนาจ กรุงบาบิโลนจึงเริ่มอ่อนแอลงและถูกพวกฮิต
ไทน์ เข้าปล้นและยึดอำนาจ
 ฮิตไทน์เสียอำนาจแก่พวกคัสไซต์ (Kassite)

ซึ่งอพยพมาทางเทือกเขาซากรอส
และครอบครองถึง 400 ปี (ยุคมืด)
4. ฮิตไทต์ (Hittite)
เข้ายึดกรุงบาบิโลน(Babylon) ของอมอไรต์ = ช่วงอียิปต์
เรืองอำนาจ สองอาณาจักรแย่งชิงดินแดนเมโสโปเต
เมีย  แบ่งพื้นที่ยึกครอง
เป็นชนชาติแรกที่ทำอาวุธจากเหล็ก ใช้รถศึกเทียม
ม้า(แทนลา)
แต่ถูกพวกอัสซีเรียน รุกราน
จักรวรรดิแอสซีเรีย
5. อัสซีเรียน (Assyrian)
รบชนะพวกแคสไซต์ได้ ตั้งจักรวรรดิอัสซีเรียน
เป็นนักรบที่กล้าหาญ มีศูนย์กลางการปกครองที่ นิเนเวห์
(Nineveh)
มีความเชื่อว่ากษัตริย์ของตนเป็นตัวแทนของเทวราช มี
เกียรติสูงกว่ากษัตริย์สุเมเรียน สิ่งที่สะท้อนให้เห็นคือ
นิยมสร้างพระราชวังให้ใหญ่โตกว่าศาสนสถานของสุเม
เรียน
ต่อมาถูกพวกแคลเดียนรุกราน
อาณาจักรคัลเดีย
•6. แคลเดียน (Chaldean)
o อพยพมาจากทะเลทราย
o พิชิตจักรวรรดิอัสซีเรียนได้ สถาปนาจักรวรรดิบาบิโลเนียใหม่
สถาปนา
แต่ตั้งได้เพียงประมาณ 75 ปี ก็ต้องตกอยู่ภายใต้การปกครอง
ของชาวเปอร์เซีย และถูกรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิ
เปอร์เซีย(พระเจ้าไซรัสมหาราช)
o รุ่งเรืองในสมัยพระเจ้าเนบูคัซเนซซาร์ สามารถยกทัพไปตีเมือง
เยรูซาเล็ม และกวาดต้อนเชลยชาวยิวมายังกรุงบาบิโลน
o สร้างสวนลอยแห่งบาบิโลน (เขียวทั้งปี )
o สร้างซิกกูแรต = หอคอยแห่งบาเบล
o แบ่งสัปดาห์ออกเป็น 7 วัน แบ่งวันออกเป็น 12 คาบ คาบละ
120 นาที คำนวณวันเกิดสุริยุปราคาและจันทรุปราคาได
แม่นยำ
 7. เปอร์เซีย (Persia)
มีถิ่นฐานเดิมอยู่บริเวณทะเลสาบแคสเปี ยน-ทะเลดำ ต่อ
มาย้ายมาตั้งถิ่นฐานใหม่บริเวณที่ราบสูงอิหร่าน
สามารถสถาปนาจักรวรรดิเปอร์เซียได้ และรวมดินแดน
บริเวณเมโสโปเตเมียเข้าเป็นจักรวรรดิเดียวกันได้

You might also like