You are on page 1of 24

อารยธรรมกรีก

Greeks Civilization
อารยธรรมกรีก
เริ่มขึ้นเมื่อประมาณ 750 ก่อนคริสต์กาล มีศูนย์กลางที่กรุงเอเธนส์ (Athens)
เมืองหลวงของประเทศกรีซในปัจจุบัน เป็นอารยธรรมที่รุ่งเรืองและมีอิทธิพลต่อโลกตะวันตกมาก

กรุงเอเธนส์ในปัจจุบัน
ที่ตั้ง
เริ่มบริเวณตอนใต้ของคาบสมุทรบอลข่านและชายฝั่งทะเลอีเจียน
ซึ่งรายล้อมด้วยอารยธรรมอียิปต์ อารยธรรมเมโสโปเตเมีย และอยู่
ใกล้กับเกาะครีตที่เป็นศูนย์กลางของอารยธรรมไมเนอร์ซึ่งเกิดจาก
การผสมผสานอารยธรรมของดินแดนในแถบรอบทะเลเมดิเตอร์
เรเนียน ทาให้ชาวกรีกมีโอกาสรับและแลกเปลี่ยนความเจริญจาก
อารยธรรมโดยรอบ

แผนที่แสดงอาณาเขตของกรีก
กาเนิดอารยธรรมกรีก
ประกอบด้วยอารยธรรมหลัก 2 ส่วน ได้แก่ อารยธรรมเฮเลนิกและอารยธรรมเฮเลนิสติก
เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่กรีกอยู่ภายใต้การปกครองของจักรวรรดิมาซิโดเนีย และผสมผสานกับความเจริญ
ที่รับจากดินแดนรอบๆ ทะเลเมดิเตอร์เนียน

กรีกในปัจจุบัน
อารยธรรมเฮเลนิก
มาจากคาว่า (Helen) ซึ่งชาวกรีกใช้เรียกตนเอง เป็นสมัยที่อารยธรรมกรีกมีศูนย์กลาง
อยู่ที่นครเอเธนส์ (Athens) รุ่งเรื่องอยู่ประมาณ 500 ปีก่อนคริสตกาล หลังจากถูกกองทัพ
เปอร์เซียรุกราน และชาวกรีกชนะเปอร์เซียได้อย่างเด็ดขาดในปี 479 เอเธนส์ได้บูรณะบ้านเมือง
อย่างรวดเร็วจนมีความเจริญก้าวหน้าในทุกด้าน
กรีกประกอบด้วยเกาะนับร้อยและคาบสมุทรกรีกที่มีชายฝั่งเว้าแหว่ง มีประโยชน์ต่อการค้า
ทางทะเล มีเมืองท่าอยู่ในทาเลที่เหมาะสม ฝั่งตะวันออกของคาบสมุทรเต็มไปด้วยอ่าวดังนั้น
กิจกรรมต่างๆ ของกรีกจึงมุ่งหน้าไปทางตะวันออก
อะโครโพลิสแห่งเอเธนส์
ซึ่งในยุคคลาสสิคนีเ้ กิดสงครามครัง้ ยิง่ ใหญ่ 2 ครั้ง ได้แก่
1. สงครามกรีกเปอร์เซีย
2. สงครามเพโลพอนนีเซียน
สงครามกรีกเปอร์เซีย

สาเหตุเกิดจากความขัดแย้งระหว่างเอเธนส์กับเปอร์เซีย เพราะเปอร์เซีย
ฟิดิปปิเดซวิ่งนำข่ำวชัยชนะมำแจ้งต่อชำวเมืองกรีก
ขยายอานาจเข้ามาในเขตเอเชียไมเนอร์
* ผลของสงคราม คือ เอเธนส์ชนะเปอร์เซีย

วิญญาณผู้กล้าแห่งทุ่งมาราธอน นักรบกรีกแห่งสงครามเปอร์เซีย
สงครามเพโลพอนนีเซียน

เป็นสงครามที่เกิดจากความขัดแย้งระหว่างสองนครรัฐมหาอานาจของดินแดนกรีซโบราณ คือ นครรัฐเอเธนส์


และนครรัฐสปาร์ตา โดยในช่วงเวลาดังกล่าว "เอเธนส์“ มีกองทัพเรือที่เข้มแข็งที่สุด และถือว่าเป็นมหาอานาจทางทะเล
ในขณะที่ "สปาร์ตา" นั้นมีกองทัพบกที่เกรียงไกรยิ่งกว่านครรัฐใด ๆ เมื่อครั้งที่พระเจ้าเซอร์ซีสของเปอร์เชียยกทัพ
เข้ารุกรานดินแดนกรีซ เอเธนส์และนครรัฐอื่นๆ อีกหลายนครได้รวมตัวกันเป็น "สมาพันธ์เดลอส" Delian League
(Confederacy of Delos) โดยมีเอเธนส์เป็นผู้นา
ซึ่งหลังจากสงครามครั้งนั้นสิ้นสุดลงโดยเปอร์เชียล่าถอยกลับไปแล้ว สมาพันธ์ดังกล่าวก็ยังดารงอยู่ โดยสมาชิก
ต้องส่งเงินบารุงสมาพันธ์ไปยังเอเธนส์ ซึ่งเอเธนส์จะมีสิทธิอย่างเต็มที่ในการใช้จ่ายเงินดังกล่าว

ภำพแสดงกองทัพเรือกรีก ภำพแสดงกองทัพสปำร์ตำ
อารยธรรมเฮเลนิสติค
อารยธรรมเฮเลนิสติค เริ่มต้นพร้อมกับการขึ้นเสวยราชย์ของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช
ในปี 336 B.C. และสิ้นสุดลงในปี 31 B.C. เมื่อราชอาณาจักรเฮเลนิสติคอียิปต์ภายใต้ราชวงศ์
ปโตเลมีสิ้นอานาจ
ในช่วงนี้พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชได้รวบรวมดินแดนกรีกเอาไว้จนหมด และได้แผ่ขยาย
แสนยานุภาพไปยังดินแดนอื่นๆ ทาให้การใช้เหตุผล การมีส่วนร่วมในการเมือง ความผูกพัน
กับนครรัฐลดลง ไม่มีปัญญาความคิดใหม่ๆ เกิดขึ้น ในสมัยนี้จึงถือเป็นสมัยเสื่อมทางปัญญา
และความคิดของกรีก มีความเป็นปัจเจกนิยม (Individualism) ซึ่งมุ่งความสุขส่วนตัว
มากกว่าส่วนรวม ซึ่งทาให้เกิดการสูญสิ้นของระบบนครรัฐ และยังให้ความสาคัญกับกิจกรรม
ที่เป็นความบันเทิงทางความรู้สึก พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช
ระบอบรัฐนครกรีก
การปกครองแบบนครรัฐของกรีกที่มีความหลากหลาย ส่งเสริมให้นครรัฐแต่ละแห่งมีโอกาสพัฒนา
รูปแบบและวิธีการปกครองของตนเอง นครรัฐสาคัญที่มีบทบาทพัฒนาอารยธรรมด้านการปกครอง
ได้แก่ สปาร์ตาและเอเธนส์

กรุงเอเธนส์และภาพจาลองการรบของสปาร์ตา
กรุงเอเธนส์

เป็นต้นกาเนิดของรัฐประชาธิปไตยปกครองโดยสภาร้อยซึ่งได้รับเลือก
จากพลเมืองทีมีสิทธิ์ออกเสียงการที่เอเธนส์ให้เสรีภาพแก่ปัจเจกชนทาให้เกิด
นักปราชญ์และนักคิดที่เรียกว่าพวกโซฟิสต์ เช่น โสเครติส และเพลโต

วิหารพาร์เธนอนในปัจจุบัน
นครรัฐสปาร์ตา

มีการปกครองแบบทหารนิยม คณะผู้ปกครอง มีอานาจสูงสุด


และเด็ดขาด ชายที่มีอายุ 20-60 ปี ต้องถูกฝึกฝนให้เป็นทหาร เรียนรู้
การต่อสู้และเอาตัวรอดในสงคราม และพลเมืองหญิงก็ต้องฝึกให้แข็งแกร่ง
เพื่อเตรียมเป็นมารดาของทหาร

ภาพจาลองแสดงการรบของสปาร์ตา
ความรุ่งเรืองของอารยธรรมกรีก(1)

ด้านศิลปกรรม
ได้รับการยกย่องว่าเป็นต้นแบบของงานศิลปกรรมของโลก สร้างขึ้นเพื่อแสดงความเคารพบูชาและบวงสรวง
เทพเจ้าของตน ผลงานที่ได้รับการยกย่องที่สาคัญได้แก่ ด้านสถาปัตยกรรม จิตรกรรม และศิลปะการแสดง

เทพเจ้าอพอลโล่ วิหารพาร์เธนอน รูปปั้นนักกีฬาขว้างจักร


ความรุ่งเรืองของอารยธรรมกรีก(2)

ด้านจิตรกรรม
ที่ปรากฏอยู่ส่วนใหญ่เป็นลวดลายที่เขียนบนเครื่องปั้นดินเผา และจิตรกรรมฝาผนังที่พบในวิหารและกาแพง

คนโท ตัวแดง และตัวดา ภาพแสดงวิถีชีวิตชาวไมโนน


ความรุ่งเรืองของอารยธรรมกรีก(3)

ด้านประติมากรรม
เป็นสิ่งที่โดดเด่นที่สุดในงานศิลปกรรมของกรีก ส่วนใหญ่เป็นรูปปั้นเทพเจ้าของกรีก เนื่องจากชาวกรีก
ยอมรับ และเชื่อมั่นคุณค่าของมนุษย์ งานประติมากรรมจึงเป็นลักษณะสรีระคล้ายมนุษย์ผลงานชิ้นเยี่ยม ได้แก่
รูปปั้นเทพเจ้าอะธีนาและเทพเจ้าซุส

เทพเจ้าซุส เทพเจ้าอะธีนา
ความรุ่งเรืองของอารยธรรมกรีก(4)

ด้านสถาปัตยกรรม(1)
สถาปัตยกรรมกรีกโบราณเน้นการสร้างวิหารไว้สาหรับบูชาเทพเจ้า ส่วนมากจะสร้างด้วยหินอ่อน
มีเสาเรียงรายสวยงามใช้เสากั้นแทนผนังมีลักษณะเปิดโล่ง ลักษณะหัวเสาที่เด่นของกรีกนั้นมี 3 แบบ

วิหารพาร์เธนอน
ความรุ่งเรืองของอารยธรรมกรีก(4)

ด้านสถาปัตยกรรม(2)
• Doric แบบบัวคว่า เป็นหัวเสาที่มีความเรียบง่ายที่สุด เป็นแบบดั้งเดิม
• Ionic แบบบัวหงาย หัวเสามีรายละเอียดมากกว่า Doric มีลักษณะม้วนออกด้านข้าง
• Corinthian แบบผักกาด หัวเสามีรายละเอียดมากที่สุด มีการตกแต่งรูปดอกไม้ ใบไม้

Doric Ionic Corinthian


ความรุ่งเรืองของอารยธรรมกรีก(5)

ด้านปรัชญา
ความเจริญด้านปรัชญาได้รับการยกย่องว่าเป็นความเจริญสูงสุดของภูมิปัญญากรีกเช่นเดียว
กับความเจริญด้านศิลปกรรม นักปรัชญาที่มีชื่อเสียงโด่งดัง ได้แก่ โสเครติส เพลโต และอริสโตเติล

ตัวอย่างหนังสือปรัชญากรีก
ความรุ่งเรืองของอารยธรรมกรีก(5)

ด้านปรัชญา(2)
• โสเครติส (Socrates)
สอนให้คนใช้เหตุผลและสติปัญญาในการแสวงหาความจริงเกี่ยวกับ ชีวิตมนุษย์ วิธีสอนเน้นท่องจา
แต่ใช้วิธีตั้งคาถามให้ผู้ถูกคุกคาม ขบคิดปัญหาเพื่อหาคาตอบด้วยตนเอง

โสเครติส หนังสือโสเครติส
ความรุ่งเรืองของอารยธรรมกรีก(5)

ด้านปรัชญา(3)
• เพลโต (Plato)
เป็นผู้ถ่ายทอดหลักการและความคิดของโสเครติสให้ชาวโลกรับรู้ ผลงานที่โดดเด่นและทาให้เขาได้รับการยกย่อง
ว่าเป็นบิดาแห่งปรัชญาการเมืองสมัยใหม่คือหนังสือชื่อ สาธาณรัฐ (Republic) ซึ่งเสนอแนวคิดในการปกครองประเทศ

เพลโต หนังสือ PLATO THE REPUBLIC


ความรุ่งเรืองของอารยธรรมกรีก(5)

ด้านปรัชญา(4)
• อริสโตเติล (Aristotle)
เป็นทั้งนักปรัชญาและนักวิทยาศาสตร์ ที่สนใจวิทยาการใหม่ๆ เช่น ชีววิทยา ฟิสิกส์ ดาราศาสตร์ ผลงานที่โดดเด่น
ที่สุดของเขาคือ หนังสือชื่อการเมือง (Politics) ซึ่งเป็นการวิจัยรูปแบบการปกครองของนครรัฐต่างๆ ถึง 150 แห่ง

อริสโตเติล หนังสือการเมือง Politics


ความรุ่งเรืองของอารยธรรมกรีก(6)

ด้านการศึกษา
จัดให้มีการศึกษาขึ้นในชั้นประถมในชั้นประถมไม่ต้องเสียค่าเรียน โดยในชั้นประถมจะเรียนเกี่ยวกับไวยกรณ์กรีก
รวมไปถึงมหากาพย์ อีเลียต โอดิสซี ฯลฯ ส่วนเด็กโตจะศึกษาวิทยานิพนธ์เกี่ยวกับการปกครอง ตรีโกณมิติ
ดาราศาสตร์ ฯลฯ

แบบจาลองจักรวาลของปโตเลมี
ความรุ่งเรืองของอารยธรรมกรีก(7)

ด้านวรรณกรรม
จัดอยู่ในกลุ่มวรรณกรรมที่สาคัญที่สุดของโลกวรรณกรรมทีโ่ ดดเด่น ได้แก่ มหากาพย์อีเลียด โอดิสซี
ของโฮเมอร์ แต่งขึ้นเพื่อสะท้อนความรู้สึกกวีต่อโศกนาฏกรรมกรุงทรอย นอกจากความงดงามของภาษาและ
การดาเนินเรื่องแล้ว มหากาพย์ทั้งสองเรื่องนี้ ยังให้ข้อมูลทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับวิถีชีวิต ประเพณีและความคิด
ของชาวกรีก ในช่วง 1,000-700 ปี ก่อนคริสต์กาล

มหากาพย์อีเลียด มหากาพย์โอดิสซี
ความรุ่งเรืองของอารยธรรมกรีก(8)

ด้านการแพทย์
ฮิปโปเครตีส (Hippocrates) ได้รับการยกย่องเป็น “บิดาแห่งการแพทย์” ซึ่งค้นพบว่าโรคร้ายต่างๆ ที่เกิดขึ้น
เกิดจากธรรมชาติ ไม่ใช่การลงโทษของพระเจ้า เขาเชื่อว่าวิธีการรักษาที่ดีที่สุดคือ การควบคุมด้านโภชนาการและ
การพักผ่อน นอกจากนี้ยังเป็นผู้ริเริ่มการผ่าตัด และการกาหนดหลักจรรยาแพทย์ที่ถือปฏิบัติต่อมาจนถึงปัจจุบัน

ฮิปโปเครตีส

You might also like