You are on page 1of 15

บทความฟื้นฟูวิชาการ ออนไลน์

สาหรับการศึกษาต่อเนื่องทางเภสัชศาสตร์
1
2

3 การคานวณปริมาณยาหัวข้อ HPLC “Assay” ในตารายา:


4 การคานวณ %label amount
5 HPLC ASSAY CALCULATION IN PHARMACOPOEIA:
6 % LABEL AMOUNT CALCULATION
7
8 จั น คนา บู ร ณะโอสถ 1*, ชนกพรหม์ สุ คนธ์พันธุ์ 2, อรัญญา นันทนากรณ์ 1, คนาวรรณ พจนาคม 1,
9 ปนัดดา พัฒนวศิน1, สมลักษณ์ คงเมือง1,ไพบูลย์ นันทนากรณ์1
10 1 สาขาเภสัชกรรมอุตสาหการ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์

11 นครปฐม
12 2 สาขาชี ว การแพทย์ แ ละสารสนเทศศาสตร์ ท างสุ ขภาพ คณะเภสั ช ศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร

13 วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ นครปฐม
14 *ติดต่อผู้นิพนธ์: buranaosot_j@su.ac.th
15

16 Jankana Burana-Osot1*, Chanokporn Sukonpan2, Arunya Nuntanakorn1, Kanawan


17 Pochanakom1, Panadda Phattanawasin1, Somlak Kongmuang , Paiboon Nuntanakorn1
18 1 Industrial Pharmacy, Faculty of Pharmacy, Silpakorn University, Sanamchandra Palace

19 Campus, Nakhon Pathom


20 2 Biomedicine and Health Informatics, Faculty of Pharmacy, Silpakorn University,

21 Sanamchandra Palace Campus, Nakhon Pathom


22 *Corresponding author: buranaosot_j@su.ac.th
23
24 วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
25 1. เพื่อให้ทราบถึงค่าต่างๆ ที่ใช้ในการคานวณ %label amount ในข้อกาหนดมาตรฐานหัวข้อ Assay
26 เมื่อใช้วิธีโครมาโทกราฟีแบบของเหลวสมรรถนะสูง
27 2. เข้าใจวิธีการคานวณ %label amount
28 3. เข้าใจที่มาของสูตรคานวณ %label amount

1
บทความฟื้นฟูวิชาการสาหรับการศึกษาต่อเนื่องทางเภสัชศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

1 บทคัดย่อ
2 Assay เป็นข้อกาหนดมาตรฐานที่สาคัญในมอโนกราฟของตารายา ส่วนของมอโนกราฟส่วนนี้
3 จะกล่าวถึงวิธีวิเคราะห์ยาเชิงปริมาณและเกณฑ์การยอมรับ บทความนี้อธิบายความหมายของค่าต่างๆ
4 ที่ใช้ในการคานวณเมื่อใช้วิธีโครมาโทกราฟีแบบของเหลวสมรรถนะสูงวิเคราะห์หาปริมาณตัวยาสาคัญ
5 ในผลิตภัณฑ์ยา และยกตัวอย่างวิธีการคานวณ % label amount เพื่อให้ง่ายต่อความเข้าใจและ
6 นาไปใช้ได้จริง
7
8 คาสาคัญ: การหาปริมาณ, การคานวณ, % label amount, โครมาโทกราฟีแบบของเหลวสมรรถนะ
9 สูง, ตารายา
10
11 Abstract
12 “Assay” is one of the standard specification analysis in the pharmacopieal
13 monograph. In this topic, there are analytical methods for quantitative drug analysis
14 and the acceptance criteria. This article describes the meaning of terms used in HPLC
15 calculation for quantification of active ingredients in pharmaceutical products as well
16 as provides some easy-to-understand and practical examples for % label amount
17 calculation.
18
19 Keywords: Assay, % label amount, Calculation, HPLC, Pharmacopoeia
20
21 บทนา
22 “Assay” คือการตรวจวิเคราะห์หาความแรง (strength) หรือปริมาณ (content) สารตั้งต้น
23 ที่เป็นวัตถุดิบตัวยาสาคัญ (drug substances) ตัวยาสาคัญ (active pharmaceutical ingredients,
24 API) ในผลิตภัณฑ์ยา (drug products) และสารปรุงแต่ง (excipients) ด้วยวิธีวิเคราะห์หาปริมาณ
25 “Assay” เป็นหนึ่งในข้อกาหนดมาตรฐาน (specification) ที่ใช้ควบคุมคุณภาพมาตรฐานของยาแผน
26 ปัจจุบันในตารายา (Pharmacopeia) ที่กระทรวงสาธารณสุขประกาศรับรองในราชกิจจานุเบกษา
27 เรื่อง ระบุตารายา ฉบับล่าสุดคือ พ.ศ 25611 และ ระบุตารายา (ฉบับที่ 2) พ.ศ 2562 2 ได้แก่ ตารา
28 ยาของประเทศไทย (Thai Pharmacopoeia, TP) ฉบับที่ 2 เล่มที่ 1 ภาค 1 และฉบับเพิ่มเติม ตารา
29 มาตรฐานยาสมุนไพรไทย (Thai Herbal Pharmacopoeia, THP) เล่มที่ 1 เล่มที่ 2 เล่มที่ 3 เล่มที่ 4
30 และฉบับเพิ่มเติม ตารามาตรฐานยาสมุนไพรไทย พ.ศ. 2560 และฉบับเพิ่มเติม ตาราอินเตอร์แนชนาล
31 ฟาร์มาโคเปีย (The International Pharmacopoeia, IP) ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 5 และฉบับเพิ่มเติม ตารา
32 ฟาร์มาโคเปียของสหรัฐอเมริกา (The United States Pharmacopoeia, USP) ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 39
33 (ค.ศ. 2016) และฉบับเพิ่มเติม ตาราบริติชฟาร์มาโคเปีย (British Pharmacopoeia, BP) ฉบับ ค.ศ.
34 2016 เล่มที่ 1 - 5 ตาราบริติชฟาร์มาโคเปีย (สัตวแพทยศาสตร์) ฉบับ ค.ศ. 2016 ตารายูโรเปียนฟาร์

2
การคานวณปริมาณยาหัวข้อ HPLC “Assay” ในตารายา: การคานวณ %label amount

1 มาโคเปีย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 8 (ค.ศ. 2014) และฉบับเพิ่มเติม และ ตารายาฟาร์มาโคเปียของประเทศ


2 ญี่ปุ่น (The Japanese Pharmacopoeia, JP) ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 17 และฉบับเพิ่มเติม
3 USP จัดหัวข้อ “Assay” เป็นประเภทการทดสอบทั่วไป (universal test) ประยุกต์ใช้กับ
4 ผลิตภัณฑ์ยาทุกรูปแบบรวมทั้งวัตถุดิบตัวยาสาคัญและสารปรุงแต่ง นั่นคือต้องมีหัวข้อทดสอบนี้ในทุก
5 มอโนกราฟ (monograph) ในต ารายา หั ว ข้ อ ทดสอบนี้ ป ระกอบด้ ว ยข้ อ มู ล หลั ก เกี่ ยวกั บ วิ ธีการ
6 วิ เ คราะห์ ห าปริ ม าณ (analytical procedure) และเกณฑ์ ก ารยอมรั บ (acceptance criteria) ที่
7 สอดคล้องกับหัวข้อ “Definition” แต่รายละเอียดการวิเคราะห์อาจมากน้อยแตกต่างกันไปตามแต่ละ
8 มอโนกราฟและเทคนิคที่ใช้วิเคราะห์ เช่น บางมอโนกราฟกาหนดน้าหนักสาร วิธีการเตรียมและเจือ
9 จางสารมาตรฐานและสารตัวอย่าง สภาวะของเครื่องมือหรือวิธีที่ใช้ และสูตรการคานวณ หรือบางมอ
10 โนกราฟอาจกาหนดเพียงความเข้มข้นของสารละลายต่างๆ ที่ต้องเตรียม
11 เทคนิคการวิเคราะห์ ที่ใช้หาปริมาณใน “Assay” มีหลายเทคนิค เช่น ไทเทรชัน (titration)
12 สเปกโทสโกปี (spectroscopy) โครมาโทกราฟี (chromatography) และวิธีทางจุลชีววิทยา ทาให้
13 วิธีการคานวณหาปริมาณอาจแตกต่างกัน แต่ไม่ว่าจะคานวณหาปริมาณยาในผลิตภัณฑ์ยาด้วยวิธีใด
14 ขั้นตอนสุดท้ายต้องคานวณเทียบกับปริมาณยาที่ระบุบนฉลากซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในหน่วยร้อยละ (%
15 label amount) เพื่ อ น าไปสรุ ป และรายงานผลว่ า ยาเข้ า มาตรฐานตามช่ ว งเกณฑ์ ก ารยอมรั บ
16 (acceptance criteria) ที่กาหนดหรือไม่ แต่ในกรณีวัตถุดิบตัวยาสาคัญ จะคานวณเป็นร้อยละของ
17 ปริมาณตัวยาสาคัญในวัตถุดิบนั้นๆ (%content)
18 วิ ธี โ ค ร ม า โ ท ก ร า ฟี แ บ บ ข อ ง เ ห ล ว ส ม ร ร ถ น ะ สู ง ( high performance liquid
19 chromatography, HPLC) เป็ น วิธี การวิเคราะห์ ที่นิ ยมใช้ มากในหั ว ข้ อ ทดสอบ “Assay” การหา
20 ปริมาณตัวยาสาคัญต้องวิเคราะห์ตัวอย่างควบคู่ไปกับสารมาตรฐานของตัวอย่างนั้นๆ โดยตัวอย่างและ
21 สารมาตรฐานต้องเตรียมอยู่ในรูปสารละลายที่มีความเข้มข้นที่เหมาะสมกับเครื่องตรวจวัดที่ใช้ กรอง
22 แล้ ว น าไปฉี ดเข้ า เครื่ อ งมื อ ซึ่ ง จะแสดงผลเป็ นพี ก (peak) บนโครมาโทแกรม (chromatogram)
23 พารามิเตอร์ที่นามาใช้ในการหาปริมาณคือ peak response ได้แก่พื้นที่พีก (peak area) หรือ ความ
24 สูงพีก (peak height) โดยนามาคานวณหาปริมาณตามสูตรที่ระบุในมอโนกราฟ ทั้งนี้เภสัชกรต้อง
25 เข้าใจความหมายของค่าที่ จะนาไปแทนในสูตร เช่น nominal concentration และอาจต้องใช้ค่า
26 อื่นๆ มาประกอบด้วย นอกจากนี้บางมอโนกราฟในบางตารายาไม่ระบุสูตรการคานวณ เภสัชกรต้อง
27 ตั้งสู ตรในการคานวณเอง เช่น Assay monograph ของ Naproxen Tablets BP3 จะระบุไว้สั้ นๆ
28 เพียง Determination of content
29 “ Calculate the content of naproxen, C14H14O3, in the tablets from the
30 chromatograms obtained and using the declared content of C14H14O3 in naproxen
31 BPCRS.”

3
บทความฟื้นฟูวิชาการสาหรับการศึกษาต่อเนื่องทางเภสัชศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

1 ดังนั้ น เภสั ช กรควรทาความเข้าใจที่มาของค่าต่างๆ และวิธีการคานวณ ในบทความนี้จะ


2 กล่าวถึงการคานวณผลในหัวข้อ assay ที่กาหนดให้ใช้วิธี HPLC เป็นวิธีวิเคราะห์ โดยแบ่งเป็น 2 ตอน
3 คือ ตอนที่ 1 นี้ จ ะอธิบ ายถึงการคานวณ %label amount และตอนที่ 2 จะอธิบายการค านวณ
4 %content สาหรับวิธีวิเคราะห์อื่นๆ จะกล่าวในบทความหน้าต่อไป
5

6 %label amount
7 %label amount คือ ร้อยละของปริมาณตัวยาสาคัญในผลิตภัณฑ์ยาที่วิเคราะห์เทียบกับ
8 ความแรงของตัวยาสาคัญที่แจ้งไว้บนฉลาก
9 การวิเคราะห์ปริมาณตัวยาสาคัญในผลิตภัณฑ์ยาด้วยวิธี HPLC ในตารายา ต้องวิเคราะห์
10 เที ย บกั บ สารมาตรฐานชนิ ด เดี ย วกั บ ตั ว ยาส าคั ญ นั้ น ๆ เช่ น ต้ อ งการหาปริ ม าณ Naproxen ใน
11 Naproxen Tablets USP4 จะน าสารมาตรฐาน Naproxen มาเตรี ย มและวิ เ คราะห์ ด้ ว ย HPLC
12 ภายใต้สภาวะการวิเคราะห์เดียวกับการวิเคราะห์หาปริมาณ Naproxen ในผลิตภัณฑ์ยา ในกรณีตัวยา
13 สาคัญที่ระบุบนฉลากอยู่ในรูปเกลือ ต้องใช้สารมารตรฐานในรูปเกลือชนิดเดียวกัน เช่น Naproxen มี
14 ทั้งรูป base และ sodium salt หรือ diclofenac มีทงั้ เกลือ sodium และ potassium หากใช้ผิดจะ
15 ทาให้การคานวณ %label amount ผิดพลาด
16

17 ความแรงของตัวยาสาคัญในผลิตภัณฑ์ยา
18 ความแรง (strength) ของตัวยาสาคัญในผลิตภัณฑ์ยาเป็นข้อมูลที่บังคับให้แสดงบนฉลาก
19 ของภาชนะบรรจุยา (เช่น ขวด แผง ซอง หลอด กล่องบรรจุยา) ตามหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตารับ
20 ยาแบบ ASEAN Harmonization5 โดยทั่วไประบุเป็นปริมาณต่อ 1 หน่วยการให้ยานั้น โดยปริมาณที่
21 ระบุ เช่น
22 ยาเม็ด แคปซูล และ ยาเหน็บ ระบุเป็นน้าหนักในหน่วยกรัมหรือมิลลิกรัมต่อ 1 เม็ด หรือ 1
23 แคปซูล เช่น Naproxen Tablets ฉลากระบุ ใน 1 เม็ด ประกอบด้วย นาโปรเซน 250 มิลลิกรัม (มก.
24 , mg) กรณีที่ยาอยู่ในรูปเกลือจะระบุเป็นน้าหนักในรูปเกลือและอาจมีข้อมูลว่าปริมาณที่ระบุบนฉลาก
25 เที ย บเท่ า กั บ ปริ ม าณในรู ป เบสเท่ า ใด เช่ น Naproxen Sodium Tablets ฉลากระบุ ใน 1 เม็ ด
26 ประกอบด้วย นาโปรเซน โซเดียม 275 มก. (เทียบเท่ากับ นาโปรเซน 250 มก.)
27 ผงยาสาหรับรับประทานและผงยาสาหรับฉีด ระบุเป็นน้าหนักในหน่วยกรัมหรือมิลลิกรัมต่อ
28 1 หน่วยภาชนะบรรจุ เช่น 1 ซอง หรือต่อหน่วยการรับประทาน
29 ยาน้า ยาแขวนตะกอนสาหรับรับประทาน ระบุเป็นน้าหนักในหน่วยกรัมหรือมิลลิกรัมต่อ 5
30 มิลลิลิตรหรือ 1 ช้อนชา
31 ยาน้ าส าหรั บ ฉี ดเข้ าเส้ น และโลชั่ นทาภายนอก ระบุ เ ป็ น น้ าหนัก ในหน่ว ยกรัม (g) หรื อ
32 มิลลิกรัม (mg) ต่อ 1 มิลลิลิตร (mL) หรือ ระบุเป็นร้อยละของน้าหนักตัวยาสาคัญต่อปริมาตร (%
33 w/v)

4
การคานวณปริมาณยาหัวข้อ HPLC “Assay” ในตารายา: การคานวณ %label amount

1 ยาครีม เจล และขี้ผึ้ง ระบุเป็นน้าหนักในหน่วยกรัมหรือมิลลิกรัมต่อ 1 กรัมของสารเบส หรือ


2 ระบุเป็นร้อยละของน้าหนักตัวยาสาคัญต่อน้าหนัก (%w/w)
3 วิตามิน เช่น วิตามิน A และ E ระบุเป็น molecular mass หรือ I.U. หรือ USP units ต่อ 1
4 หน่วยการให้ยา
5 สาหรับยาชีววัตถุ ระบุความแรงในหน่วย biological potency
6

7 มาตรฐานปริมาณตัวยาสาคัญในผลิตภัณฑ์ยา
8 โดยทั่วไปหัวข้อ “Definition” ในมอโนกราฟของผลิตภัณฑ์ยา ระบุเกณฑ์การยอมรับเป็น
9 ช่วง (range) ในหน่วยร้อยละ โดยกาหนดว่ามีไม่น้อยกว่า (not less than, NLT) ….. และไม่มากกว่า
10 (not more than, NMT) ………. ของปริมาณยาที่ระบุบนฉลาก เช่น
11 Naproxen Tablets contain NLT 90.0% and NMT 110.0% of the labeled amount
12 of naproxen (C14H14O3).4
13 Amoxicillin Capsules contain the equivalent of NLT 90.0% and NMT 120.0% of
14 the labeled amount of amoxicillin (C16H19N3O5S).6
15 Povidone– Iodine Topical Solution USP, Povidone– Iodine Topical Solution is a
16 solution of Povidone–Iodine. It contains NLT 85.0% and NMT 120.0% of the labeled
17 amount of iodine (I). It may contain a small amount of alcohol.7
18 เพื่อให้สอดคล้องกับหัวข้อ “Definition” การทดสอบในหัวข้อ “assay” เพื่อวิเคราะห์ห า
19 ปริมาณตัวยาสาคัญในผลิตภัณฑ์ยาว่าอยู่ในเกณฑ์การยอมรับหรือไม่ จึงต้องวิเคราะห์และคานวณใน
20 หน่ ว ยร้ อ ยละคื อ ในรู ป ของ %label amount ยกเว้ น มอโนกราฟที่ ร ะบุ เ ป็ น หน่ ว ยวั ด อื่ น เช่ น
21 Acetaminophen for Effervescent Oral Solution8 ระบุ ใ นหน่ ว ยกรั ม ต่ อ น้ าหนั ก สารละลาย
22 ตัวอย่าง 100 กรัม
23 Acetaminophen for Effervescent Oral Solution contains, in each 100 g, NLT 5.63
24 g and NMT 6.88 g of acetaminophen (C8H9NO2).8
25

26 สูตรการคานวณ %label amount


27 การคานวณ %label amount ใน USP monograph เมื่อวิเคราะห์ด้วยวิธี HPLC โดยส่วน
28 ใหญ่ใช้วิธี external standard ซึ่งใช้สูตรคานวณดังตัวอย่างการวิเคราะห์ Naproxen Tablets USP4
29 ดังนี้
30 Calculate the percentage of the labeled amount of naproxen (C14H14O3) in the portion
31 of Tablets taken:
32 Result = (rU/rS) × (CS/CU) × 100

5
บทความฟื้นฟูวิชาการสาหรับการศึกษาต่อเนื่องทางเภสัชศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

1 เมื่อ rU = peak response of naproxen from the Sample solution


2 rS = peak response of naproxen from the Standard solution
3 CS = concentration of USP Naproxen RS in the Standard solution
4 (mg/mL)
5 CU = nominal concentration of naproxen in the Sample solution
6 (mg/mL)
7 โดย mg/mL คือ ความเข้มข้นในหน่วยมิลลิกรัม (mg) ต่อมิลลิลิตร (mL)
8 ค่าที่ได้จากการใช้สูตรนี้ (result) คือ %label amount ซึ่งสามารถนาไปเทียบกับเกณฑ์การ
9 ยอมรับได้โดยตรง
10 ยาในรูปเกลือบางชนิดกาหนดเกณฑ์การยอมรับ ที่คานวณในรูป base เช่น การวิเคราะห์
11 Bromocriptine Mesylate Tablets USP9, Bromocriptine Mesylate Tablets contain
12 bromocriptine mesylate (C3 2 H4 0 BrN5 O5 ·CH4 SO3 ) equivalent to NLT 90. 0% and NMT
13 110.0% of the labeled amount of bromocriptine (C32H40BrN5O5). กรณี นี้ เ ภสั ช กรต้ อ งนา
14 น้าหนักโมเลกุลของยาที่อยู่ในรูปเบสและเกลือมาคานวณด้วย ดังสูตร
15 Result = (rU/rS) × (CS/CU) × (Mr1/Mr2) x 100
16 เมื่อ Mr1 = molecular weight of bromocriptine, 654.59
17 Mr2 = molecular weight of bromocriptine mesylate, 750.70
18 ถ้า เป็ น การวิเคราะห์ โ ดยใช้วิธี การของ internal standard ค่า rU และ rS ในสู ตรเดิ ม จะ
19 เปลี่ยนเป็น RU และ RS ตามลาดับ เช่น ในสูตรคานวนของการวิเคราะห์ Hydrocortisone tablets9
20 Result = (RU/RS) × (CS/CU) × 100
21 เมื่อ RU = peak response ratio of hydrocortisone to the internal standard
22 from the Sample solution
23 RS = peak response ratio of hydrocortisone to the internal standard
24 from the Standard solution
25 มอโนกราฟของผลิตภัณฑ์ยาบางตารับเมื่อใช้วิธีการของ internal standard ระบุสูตรเป็น
26 การคานวณหาปริมาณตัวยาสาคัญในตัวอย่างที่ชั่งหรือตวงมาวิเคราะห์ เช่น Hydrocortisone Rectal
27 Suspension11 ระบุว่า Calculate the quantity, in mg, of hydrocortisone (C21H30O5) in the
28 portion of Rectal Suspension taken by the formula: 100C(RU/RS)
29 เมื่อ C = concentration of USP hydrocortisone RS in the Standard solution
30 (mg/mL)
31 100 = conversion factor

6
การคานวณปริมาณยาหัวข้อ HPLC “Assay” ในตารายา: การคานวณ %label amount

1 ค่าที่ได้จากการใช้สูตรนี้คานวน จะเป็นค่าของปริมาณ hydrocortisone ที่มีในตัวอย่างใน


2 หน่วย mg จึงต้องนาปริมาณยาที่คานวนได้ไปคานวณหา %label amount ต่อโดยนาไปเทียบกับ
3 ค่าที่ระบุบนฉลาก
4

5 สารมาตรฐานและร้อยละของความบริสุทธิ์ (%purity)
6 สารมาตรฐานที่ระบุในตารายาสาหรับการวิเคราะห์หาปริมาณตัวยาสาคัญด้วยวิธี HPLC ที่ใช้
7 ในปัจจุบันเช่น USP reference standards (USP RS) Ph.Eur. reference standard และ British
8 Pharmacopoeia chemical reference substances (BPCRS) ถึ ง แม้ ว่ า สารมาตรฐานที่ ใ ช้ จ ะมี
9 ความบริสุทธิ์สูงเพียงใดก็ตามแต่ความบริสุทธิ์ของสารก็ไม่ใช่ 100 % ทุกชนิด ซึง่ ดูได้จากค่า %purity
10 ที่ระบุไว้บนฉลากของภาชนะบรรจุและใบรับรอง (certificate) ของสารมาตรฐาน และบางครั้งโรงงาน
11 อาจใช้ secondary reference standard หรื อ working standard ซึ่ ง เป็ น การน าวั ต ถุ ดิ บ ตั ว ยา
12 สาคัญคุณภาพสูงมาวิเคราะห์เพื่อหา %purity โดยเทียบกับสารมาตรฐาน USP RS หรือ BPCRS แล้ว
13 จึ ง น ามาใช้ เ ป็ น สารมาตรฐานในการวิ เ คราะห์ ผ ลิ ต ภัณ ฑ์ ย าแทน USP RS หรื อ BPCRS ที่ มี ร าคา
14 ค่อนข้างสูง ทาให้ความบริสุทธิ์ของ working standard จึงแตกต่างกันไปในแต่ละรุ่นการผลิต
15 ในส่ ว น general chapter <11>12 ของต ารายา USP ระบุ ว่ า “The assigned value of
16 the USP RS is stated on the labeling and should be included in calculations used in
17 the monograph and applicable general chapters.” ดังนั้นในการคานวณความเข้มข้นของสาร
18 มาตรฐาน (CS) ที่จะแทนค่าในสูตรต้องนา %purity ของสารมาตรฐานมาคานวณด้วย
19 %purity ไม่นามาใช้กับสารมาตรฐานกลุ่มยาต้านแบคทีเรีย เช่น amoxicillin และ cefaclor
20 ยากลุ่มนี้เมื่อคานวณ %label amount จะนาความแรง (potency) ของสารมาตรฐานมาใช้โดยทั่วไป
21 มีหน่วยเป็นไมโครกรัมต่อมิลลิกรัม
22

23 ตัวอย่างการคานวณ % label amount


24 วิธีการคานวณ % label amount จะยกตัว อย่า งการคานวณหาปริ ม าณ Naproxen ใน
25 ผลิตภัณฑ์ยาเม็ด โดยใช้ข้อมูลจากมอโนกราฟของ Naproxen Tablets USP5 เภสัชกรต้องคานวณ
26 ค่าที่จะนาไปแทนค่าในสูตร 2 ค่า ได้แก่ CS และ CU
27 ข้อมูลหัวข้อ Definition และ Assay จากมอโนกราฟของ Naproxen Tablets USP3
28 Definition: Naproxen Tablets contain NLT 90. 0% and NMT 110. 0% of the labeled
29 amount of naproxen (C14H14O3).
30 Assay
31 Procedure
32 Mobile phase: Acetonitrile, water, and glacial acetic acid (450:540:10)

7
บทความฟื้นฟูวิชาการสาหรับการศึกษาต่อเนื่องทางเภสัชศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

1 Standard solution: 0.1 mg/mL of USP Naproxen RS in Mobile phase


2 Sample stock solution: Nominally equivalent to 1 mg/mL of naproxen in Mobile phase.
3 Transfer an amount equivalent to about 500 mg of naproxen, from NLT 10 finely
4 powdered Tablets, to a 500-mL volumetric flask. Add about 300 mL of Mobile phase,
5 and sonicate for 30 min. Cool to room temperature, and dilute with Mobile phase to
6 volume.
7 Sample solution: Nominally equivalent to 0. 1 mg/ mL of naproxen in Mobile phase
8 from Sample stock solution. Pass through a suitable filter of 0.45-µm of pore size.
9 Chromatographic system ………
10 Analysis
11 Samples: Standard solution and Sample solution
12 Calculate the percentage of the labeled amount of naproxen (C14H14O3) in the portion
13 of Tablets taken:
14 Result = (rU/rS) × (CS/CU) × 100
15 เมื่อ rU = peak response of naproxen from the Sample solution
16 rS = peak response of naproxen from the Standard solution
17 CS = concentration of USP Naproxen RS in the Standard solution
18 (mg/mL)
19 CU = nominal concentration of naproxen in the Sample solution
20 (mg/mL)
21 Acceptance Criteria 90.0-110%
22

23 ตัวอย่างการเตรี ยมสารละลายสารมาตรฐาน (standard solution) และการค านวณ


24 ความเข้มข้นของสารละลายสารมาตรฐาน (CS)
25 Standard solution: 0.1 mg/mL of USP Naproxen RS in Mobile phase
26 มอโนกราฟระบุให้เตรียมสารละลายมาตรฐาน naproxen ที่ความเข้มข้น 0.1 mg/mL จะ
27 สังเกตได้ว่ามอโนกราฟนี้ระบุความเข้มข้นสุดท้ายของสารละลายมาตรฐาน ไม่ได้ระบุว่าต้องชั่งสาร
28 เท่าใดและเจือจางอย่างไร เภสัชกรต้องวางแผนการชั่งและการเจือจางเอง โดยต้องพิจารณาค่า range
29 (ค่ า ต่ าสุ ด ที่ เ ครื่ อ งชั่ ง จะชั่ ง ได้ ) ของเครื่ อ งชั่ ง และขนาดของเครื่ อ งแก้ ว วั ด ปริ ม าตร (Volumetric
30 glassware) ที่มีในห้องปฏิบัติการประกอบด้วย แล้วคานวณความเข้มข้นที่เตรียมได้จากน้าหนักจริงที่
31 ชั่ง ไม่ใช่แทนค่า 0.1 mg/mL ในสูตร โดยยกตัวอย่างการวางแผนเตรียมสารละลายมาตรฐานของ
32 naproxen ความเข้มข้น 0.1 mg/mL ตามมอโนกราฟดังนี้

8
การคานวณปริมาณยาหัวข้อ HPLC “Assay” ในตารายา: การคานวณ %label amount

1 ชั่ ง naproxen working standard (%purity = 99.8) อย่ า งถู ก ต้ อ งแน่ น อน 0.1 g ลงใน
2 volumetric flask ขนาด 50 mL เติม mobile phase 15 mL เขย่าด้วยเครื่องเขย่าให้ผงยาละลาย
3 หมด และปรั บ ให้ ค รบปริ ม าตรด้ ว ย mobile phase จากนั้ น ปิ เ ปตสารละลาย 5.0 mL ลงใน
4 volumetric flask ขนาด 100 mL เติม mobile phase 45 mL แกว่ง (swirl) ให้เข้ากันและปรับให้
5 ครบปริมาตรด้วย mobile phase ได้ standard solution คานวณค่า CS
6 วิธีการคานวณ CS
7 เภสั ช กรชั่ง naproxen working standard (%purity = 99.8) ด้ว ยเครื่องชั่ง ส าหรั บ งาน
8 วิ เ คราะห์ ท ศนิ ย ม 4 ต าแหน่ ง (Analytical balance) อ่ า นค่ า น้ าหนั ก จากเครื่ อ งชั่ ง ได้ 0.1034 g
9 จากนั้นเจือจางสารมาตรฐานตามขั้นตอนข้างบนตามแผนที่วางไว้
10 สารมาตรฐาน Naproxen (%purity = 99.8) น้าหนัก 0.1034 g (103.4 mg)
11 สารน้าหนัก 100 g มีเนื้อสาร Naproxen 99.8 g
12 ชั่งมา 0.1034 g มีเนื้อสาร Naproxen 0.1034 g x 99.8 g g
13 100 g
14 ชั่งสารมาตรฐานลงใน volumetric flask ขนาด 50 mL เมื่อปรับให้ครบปริมาตร 50 mL ในขั้นตอน
15 แรก จะกาหนดให้เป็นสารละลาย A ที่มีความเข้มข้นดังนี้
16 เนื้อสาร 0.1034 x 99.8 g ใน flask 50 ml มีความเข้มข้น 0.1034 g x 99.8 g x 1 g/mL
17 100 100 g 50 ml
18 (ให้เป็นสารละลาย A)
19 ปิเปตสารละลาย A 5.0 mL ลงใน volumetric flask และปรับให้ครบปริมาตร 100 mL ในขั้นตอนที่
20 2 จะได้
21 ปิเปต A 5.0 mL จะได้เนื้อสาร = 0.1034 g x 99.8 g x 1 x 5.0 ml g
22 100 g 50 ml
23 ใส่ใน volumetric flask ขนาด 100 mL จะได้ standard solution
24 เนื้อสาร 0.1034x99.8x 1 x 5.0 g ใน flask 100 mL มีความเข้มข้น
25 100 50
26 0.1034 g x 99.8 g x 1 x 5 ml g/mL
27 100 g 50 ml 100 ml
28 CS = 0.0001031932 g/mL
29 แปลงหน่วย g เป็น mg = 0.0001031932 g/mL x 1000
30 CS = 0.1031932 mg/mL
31

32 สามารถเขียนเป็นแผนภาพเพื่อให้เข้าใจง่ายได้ดังนี้

9
บทความฟื้นฟูวิชาการสาหรับการศึกษาต่อเนื่องทางเภสัชศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

1 การเจือจางสารเป็นสารละลาย
2 น้าหนักสาร
3 (Weight, g) 0.1034 x 99.8 x 1 x 5 1 แปลง g เป็น mg ต้อง x 1000
4 100 50 100 1,000
5 เจือจาง 1,000 เท่า Conversion Factor
6 %Purity
7 Dilution Factor (DF) = 1,000
8 การเจือจางสารให้ได้ความเข้มข้นที่ต้องการอาจทาเพียงขั้นตอนเดียวหรือหลายขั้นตอนตาม
9 ความเหมาะสม (ขึ้นกับเครื่องแก้ววัดปริมาตรที่มี ตัวทาละลายที่ใช้ และปริมาตรสุดท้ายก่อนฉีดเข้า
10 เครื่อง HPLC) ทั้งนี้เมื่อนาค่าการเจือจางแต่ละขั้นตอนมารวมกันจะทราบได้ว่ าสารเจือจางไปเท่าใด
11 ค่าการเจือจางนี้เรียกว่า dilution factor
12 นอกจากนี้เมื่อมีการแปลงหน่วยจากหน่วยใหญ่ให้เป็นหน่วยย่อย ต้องมีค่าการแปลงหน่วย
13 (Conversion Factor) ตัวอย่างนี้แปลง g เป็น mg ดังนั้นค่า Conversion Factor =1000
14

15 ตั ว อย่ า งการเตรี ย มสารละลายตัว อย่ า ง (sample solution) และการค านวณความ


16 เข้มข้นของสารละลายตัวอย่าง (Nominal concentration, CU)
17 มอโนกราฟ Naproxen tablets ระบุ CU คือ nominal concentration of naproxen in
18 the Sample solution ซึ่ ง ใ น USP general notices and requirements: 7. 10. 5. Nominal
19 Concentrations in Equations13 ระบุ ว่ า Where a “nominal concentration” is specified,
20 calculate the concentration based on the label claim. ดั ง นั้ น nominal concentration
21 (CU) คือความเข้มข้นที่คาดว่าจะมีอยู่ในตัวอย่างยาที่ชั่งมาโดยให้คานวณเทียบกับที่ระบุบนฉลาก
22 มอโนกราฟ Naproxen tablets กาหนดการเตรียมสารละลายตัวอย่างดังนี้
23 Sample stock solution: Nominally equivalent to 1 mg/mL of naproxen in Mobile
24 phase. Transfer an amount equivalent to about 500 mg of naproxen, from NLT 10
25 finely powdered Tablets, to a 500- mL volumetric flask. Add about 300 mL of Mobile
26 phase, and sonicate for 30 min. Cool to room temperature, and dilute with Mobile
27 phase to volume.
28 Sample solution: Nominally equivalent to 0. 1 mg/ mL of naproxen in Mobile phase
29 from Sample stock solution. Pass through a suitable filter of 0.45-µm of pore size.
30 ขั้นแรกต้องหาน้าหนักเฉลี่ยต่อเม็ดของยาจากยาเม็ดที่สุ่มมาจานวน 10 เม็ด เพื่อคานวณหา
31 น้าหนักตัวอย่างยาที่จะนามาใช้วิเคราะห์
32 Naproxen Tablets ฉลากระบุ ใน 1 เม็ด ประกอบด้วย นาโปรเซน 250 mg เภสัชกรสุ่ม
33 Naproxen Tablets 10 เม็ด มาชั่งน้าหนักได้เท่ากับ 3.9975 กรัม (g) (น้าหนักเฉลี่ยเท่ากับ 0.39975

10
การคานวณปริมาณยาหัวข้อ HPLC “Assay” ในตารายา: การคานวณ %label amount

1 g/เม็ด) เมื่อนามาบดให้เป็นผงละเอียดแล้ว เภสัชกรวางแผนการชั่งผงยาและเจือจางสารตามที่ระบุใน


2 มอโนกราฟ
3 ขั้นที่สอง เตรียม Sample stock solution โดยชั่งผงยานี้ให้มี naproxen 500 mg (ตามมอ
4 โนกราฟระบุ) ใส่ใน volumetric flask 500 mL ละลายและปรับให้ครบปริมาตร โดยเภสัชกรต้อง
5 คานวณว่าต้องชั่งผงยาเท่าใดจึ งจะมีเนื้อยา naproxen 500 mg ทั้งนี้ยาแต่ล ะเม็ดนอกจากตัว ยา
6 สาคัญแล้ว จะมีสารปรุงแต่ง (excipients) ต่างๆ เป็นองค์ประกอบ น้าหนักยาต่อเม็ดจึงมากกว่ า
7 ปริมาณตัวยาสาคัญที่ระบุบนฉลาก ในการคานวณจะนาค่าน้าหนักเฉลี่ยมาใช้
8 ฉลากระบุ Naproxen น้าหนัก 250 mg อยู่ในผงยาเม็ดน้าหนัก 0.39975 g
9 ต้องการ Naproxen 500 mg ควรชั่งผงยา = 0.39975 g x 500 mg g
10 250 mg
11 = 0.7995 g
12 ถ้าเภสัชกรชั่งน้าหนักผงยาอย่างถูกต้องแน่นอน 0.7995 g ก็คาดว่าจะมี Naproxen น้าหนัก
13 500 mg เมื่ อ น ามาเตรี ย มเป็ น สารละลายใน volumetric flask 500 mL จะมี Naproxen ความ
14 เข้มข้นที่คาดว่าจะมีอยู่ในตัวอย่างที่ชั่งมา = 500/500 mg/mL ซึ่งเท่ากับ Nominally equivalent
15 to 1 mg/mL of naproxen แต่ในทางปฏิบัติน้าหนักผงยาที่ชั่งได้อาจเบี่ยงเบนไป ต้องใช้น้าหนักที่ชั่ง
16 ได้จริงมาคานวณ CU โดย
17 ในการวิเคราะห์ จ ริ ง เภสั ช กรชั่ง ผงยาเม็ด (น้าหนักเฉลี่ ย 0.39975 g/เม็ด) ด้ว ยเครื่องชั่ง
18 ทศนิ ย ม 4 ตาแหน่ ง อ่านค่าน้ าหนั กจากเครื่องชั่งได้ 0.8500 g ใส่ ใน volumetric flask 500 mL
19 ละลายและปรับให้ครบปริมาตร ได้เป็น Sample stock solution จากนั้นมอโนกราฟระบุให้เตรียม
20 Sample solution nominally equivalent to 0.1 mg/mL of naproxen จาก Sample stock
21 solution เภสั ช กรจึ ง วางแผนการเตรี ยมด้ ว ยการปิ เ ปต Sample stock solution 5.0 mL ลงใน
22 volumetric flask 50 mL ละลายและปรับให้ครบปริมาตร จะสามารถคานวณ CU ได้ดังนี้
23 วิธีการคานวณ CU
24 ฉลาก Naproxen ระบุว่า 1 เม็ด ประกอบด้วย นาโปรเซน 250 mg โดยน้าหนักเฉลี่ยต่อเม็ดคานวณ
25 ได้เท่ากับ 0.39975 g
26 ดังนั้นผงยาเม็ด 0.8500 g คาดว่ามีเนื้อสาร Naproxen 0.8500 g x 250 mg mg
27 0.39975 g
28 เมื่อนาผงยาเม็ด ใส่ล งใน volumetric flask ขนาด 500 mL ละลายและปรับปริมาตร คานวณหา
29 ความเข้มข้นของ sample stock solution ได้ดังนี้
30 เนื้อสาร 0.8500 x 250 mg ใน flask 500 ml มีความเข้มข้น 0.8500 g x 250 mg x 1 mg/mL
31 0.39975 0.39975 g 500 mL
32 (ได้ sample stock solution)

11
บทความฟื้นฟูวิชาการสาหรับการศึกษาต่อเนื่องทางเภสัชศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

1 ปิเปต standard stock solution 5.0 mL ลงใน volumetric flask ขนาด 50 mL ละลายและปรับ
2 ปริมาตร คานวณหาความเข้มข้นของ sample solution ได้ดังนี้
3 ความเข้มข้นของ naproxen ที่คาดว่ามีอยู่ในสารละลาย
4 = 0.8500 mg x 250 mg x 1 x 5 mL mg/mL
5 0.39975 g 500 mL 50 mL
6 ได้ sample solution ที่มี nominal concentration (CU) = 0.1063164478 mg/mL
7 หรือจะเขียนค่าทั้งหมดโดยยังไม่ต้องคานวณเพื่อให้ทราบที่มา
8 ปริมาณ naproxen การเจือจางสารเป็นสารละลาย
9 ที่คาดว่าจะมีในผงยาที่ชั่งมา
10 0.8500 x 250 x 1 x 5 1
11 0.39975 500 50 5,000 Dilution Factor = 5,000
12 คานวณ %label amount
13 เมื่อนา standard solution และ sample solution ไปฉีดวิเคราะห์ด้วย HPLC จะได้ผลค่า
14 พื้นที่พีกและความสูงพีก ตัวอย่างนี้ขอนาค่าพื้นที่พีกมาใช้ โดยสมมติให้ผลพื้นที่พีกของ standard
15 solution และ sample solution เท่ากับ 1734.97 (rS) และ 1816.01 (rU) ตามลาดับ แทนค่าใน
16 สูตร
17 Result = (rU/rS) × (CS/CU) × 100
99.8 1 5
1816.01 0.1034 × × × ×1000
18 =( )× ( 0.8500100 50 100 1 5 )× 100
1734.97 ×250×500×50
0.39975
19
1816.01 99.8 1 5
20 = ( ) × (0.1034 × × × × 1000) ×
1734.97 100 50 100
0.39975 1 500 50
21 ( × × × ) × 100
0.8500 250 1 5
22
1816.01 99.8 1
23 = ( ) × (0.1034 × × × 1000) ×
1734.97 100 1000
0.39975 1
24 ( × × 5000) × 100
0.8500 250
25

26 = 101.59606529 = 101.6 %
27

28 ดังนั้นค่า Result ตามโมโนกราฟของตารายาข้างต้นมีค่าเท่ากับ


r Pstd 1 AverageWt 1
29 Result = ( u ) × (Wstd × × ×CFstd ) × ( × ×DFsamp ) ×100
rs 100 DFstd Wsamp LC
30 หรือ

12
การคานวณปริมาณยาหัวข้อ HPLC “Assay” ในตารายา: การคานวณ %label amount

% label rU x Wstd x Pstd x CFst x Average x DFsam x 10


= d Wt p 0
amount rS x Wsam x 10 LC x DFstd
p 0
1

2 เมื่อ rU = peak response ของยาจากสารละลายตัวอย่าง (sample solution)


3 rS = peak response ของยาจากสารละลายมาตรฐาน (standard solution)
4 Wstd = น้าหนักของสารมาตรฐาน หน่วยเป็น ….
5 Pstd = Purity ของสารมาตรฐานในหน่วย %
6 DFstd = Dilution factor ของสารละลายมาตรฐาน
7 CFstd = Conversion factor ของสารมาตรฐาน
8 AverageWt = น้าหนักเฉลี่ยต่อหน่วยของยา หน่วยเป็น ….
9 Wsamp = น้าหนักของตัวอย่างผลิตภัณฑ์ยาที่ชั่งมาวิเคราะห์ หน่วยเป็น ….
10 LC = Label claim หรือปริมาณยาต่อหน่วยที่ระบุบนฉลาก หน่วยเป็น ….
11 DFsamp = Dilution factor ของสารละลายตัวอย่าง
12

13 เมื่อเขียนสูตรลักษณะนี้จะทาให้เภสัชกรมีความเข้าใจที่มาของค่า CS และ CU และสามารถ


14 ทวนสอบไปยังค่าที่นามาใช้ได้เมื่อผลการวิเคราะห์ไม่ถูกต้อง ในทางปฏิบัติจะทาการวิเคราะห์อย่าง
15 น้อย 2 ตัวอย่างขึ้นไป (n > 2) และหาค่าเฉลี่ย การปัดตัวเลขจะใช้หลักการปัดตัวเลขและการรายงาน
16 ผลการวิเคราะห์ ตาม USP General notices 7.20. Rounding Rules13 ซึ่งระบุให้ ปัดในขั้นตอน
17 สุดท้ายเพื่อผลที่ถูกต้อง และปัดให้มีตาแหน่งทศนิยมเท่ากับที่ระบุในเกณฑ์การยอมรับของหั ว ข้ อ
18 ทดสอบนั้นๆ ดังนั้นการรายงานผล %label amount จะรายงานค่าทศนิยมตามที่ระบุในเกณฑ์การ
19 ยอมรั บ ใน “Definition” ในกรณี naproxen tablet (90.0%-110.0%) คื อ ทศนิ ย ม 1 ต าแหน่ ง
20 ดังนั้น naproxen ในยาเม็ดมี %label amount เท่ากับ 101.6%
21 ตัวอย่างการตั้งสูตรคานวนนี้ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการคานวนหาปริมาณยาในเภสัช
22 ภัณฑ์ตารับอื่น เช่น ยาน้าหรือยาฉีด โดยปรับเปลี่ยนการคานวนตามวิธีการเตรียมตัวอย่าง สาหรับ
23 เภสัชภัณฑ์ที่มีตัวยาสาคัญมากกว่า หนึ่งชนิดสามารถใช้วิธีคานวนนี้ตั้งสูตรคานวนหาปริมาณยาแต่ละ
24 ชนิดได้โดยเปลี่ยนแปลงตาม nominal concentration ที่ใช้
25

26 บทสรุป
27 การคานวณค่า %label amount ในหัวข้อ assay ที่กาหนดให้ใช้วิธี HPLC เป็นวิธีวิเคราะห์
28 ควรเขียนสูตรหรือสมการให้ชัดเจน และต้องอธิบายค่าต่างๆ ที่แทนค่าในสูตร เขียนที่มาของค่าต่างๆ

13
บทความฟื้นฟูวิชาการสาหรับการศึกษาต่อเนื่องทางเภสัชศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

1 ว่าใช้ค่าใดมาคานวณ และระบุหน่วยวัดที่ใช้ ถ้ามอโนกราฟในตารายาไม่กาหนดสูตรการคานวณก็


2 สามารถใช้สูตรเหล่านี้ปรับใช้ได้
3

4 เอกสารอ้างอิง
5 1. The Ministry of Health. Announcement of Pharmacopoeia. 2019 [cited 2023 Apr 30].
6 Available from: https://www.fda.moph.go.th/sites/drug/Shared%20Documents/Law03-
7 TheMinistryOfHealth/2561-1.PDF.
8 2. The Ministry of Health. Announcement of Pharmacopoeia. 2020 [cited 2023 Apr 30].
9 Available from: https://www.fda.moph.go.th/sites/drug/Shared%20Documents/Law03-
10 TheMinistryOfHealth/2562-2.pdf.
11 3. British Pharmacopoeia ( 2 0 2 0) . BP Monographs, Vol. 3, Naproxen Tablets. British
12 Pharmacopoeia Commission. London, Great Britain: The Stationery Office on behalf of
13 the Medicines and Healthcare Products Regulatory Agency (MHRA), 1010-1011.
14 4. United States Pharmacopeia (2023). USP Monographs, Naproxen Tablets. USP-NF.
15 Rockville, MD: United States Pharmacopeia. DOI:
16 https://doi.org/10.31003/USPNF_M55770_02_01
17 5. Thai Food and Drug Administration. Asean Harmonization Guideline for Generic Drugs
18 Registration. 2013 [ cited 2023 Apr 30] . Available from:
19 https://www.fda.moph.go.th/sites/drug/Shared%20Documents/Manuals/GenericDrugs-
20 2556.pdf.
21 6. United States Pharmacopeia (2023). USP Monographs, Amoxicillin Capsules. USP-NF.
22 Rockville, MD: United States Pharmacopeia. DOI:
23 https://doi.org/10.31003/USPNF_M4110_05_01
24 7. United States Pharmacopeia ( 2023) . USP Monographs, Povidone– Iodine Topical
25 Solution. USP- NF. Rockville, MD: United States Pharmacopeia. DOI:
26 https://doi.org/10.31003/USPNF_M68160_01_01
27 8. United States Pharmacopeia ( 2023) . USP Monographs, Acetaminophen for
28 Effervescent Oral Solution. USP-NF. Rockville, MD: United States Pharmacopeia. DOI:
29 https://doi.org/10.31003/USPNF_M183_01_01
30 9. United States Pharmacopeia ( 2023) . USP Monographs, Bromocriptine Mesylate
31 Tablets. USP- NF. Rockville, MD: United States Pharmacopeia. DOI:
32 https://doi.org/10.31003/USPNF_M10260_02_01

14
การคานวณปริมาณยาหัวข้อ HPLC “Assay” ในตารายา: การคานวณ %label amount

1 10. United States Pharmacopeia (2023). USP Monographs, Hydrocortisone Tablets. USP-
2 NF. Rockville, MD: United States Pharmacopeia. DOI:
3 https://doi.org/10.31003/USPNF_M38180_02_01
4 11. United States Pharmacopeia ( 2023) . USP Monographs, Hydrocortisone Rectal
5 Suspension. USP- NF. Rockville, MD: United States Pharmacopeia. DOI:
6 https://doi.org/10.31003/USPNF_M38170_02_01
7 12. United States Pharmacopeia ( 2023) . General Chapter, <11> USP Reference
8 Standards. USP- NF. Rockville, MD: United States Pharmacopeia. DOI:
9 https://doi.org/10.31003/USPNF_M98740_03_01
10 13. United States Pharmacopeia ( 2023) . Front Matter, General Notices and
11 Requirements. USP- NF. Rockville, MD: United States Pharmacopeia. DOI:
12 https://doi.org/10.31003/USPNF_M99989_09_01.
13

15

You might also like