You are on page 1of 36

วิวฒ

ั นาการ (Evolution)
วิวัฒนาการ (Evolution) เป็ นศาสตร์ หนึ่ง
ของวิชาชี ววิทยาที่มีการบูรณาการเนื้อหา
จากหลายสาขา เพือ่ อธิบายความรู้พนื้ ฐาน
เกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฏี และหลักฐานด้ าน
วิวฒั นาการ
วิวฒ
ั นาการ (Evolution)
แนวความคิดด้ านวิวฒ
ั นาการก่ อนยุคชาร์ ลส์ ดาร์ วนิ
1. อแนกซิเมเนส (Anaximenes: 500-570 ปี ก่ อนคริสตศักราช) เชื่อว่ าความ
แตกต่ างของสิ่ งมีชีวติ เกิดจากการรวมตัวกันของธาตุลมและอากาศ ด้ วยความ
หนาแน่ นที่แตกต่ างกัน
2. เอมพิโดเคลส (Empedocles: 433-504 ปี ก่ อนคริสตศักราช) เชื่อว่ าสิ่ งมีชีวติ
เกิดจากการผสมผสานกันของธาตุดนิ นา้ ลม และไฟ มนุษย์ มกี าเนิดจากใต้ ผวิ
โลก และพืชเป็ นสิ่ งมีชีวติ ชนิดแรก
วิวฒ
ั นาการ (Evolution)
3. อริสโตเติล (Aristotle: 322-384 ปี ก่ อนคริสตศักราช) เชื่อในอิทธิพลของสิ่ ง
มหัศจรรย์ เหนือธรรมชาติ นอกจากนีย้ งั เชื่อว่ าสิ่ งมีชีวติ มีการพัฒนาจากรูปแบบที่
เรียบง่ ายให้ มคี วามซับซ้ อนขึน้
วิวฒ
ั นาการ (Evolution)
4. ฌอง ลามาร์ ค (Jean Baptiste De Lamark) นักธรรมชาติวทิ ยาชาวฝรั่งเศสได้ เสนอ
แนวความคิดเกีย่ วกับวิวฒ ั นาการซึ่งสรุปเป็ นกฎ 2 กฎ คือ
- กฎแห่ งการใช้ และไม่ ใช้ (Law of Use and Disuse) มีใจความว่ า “อวัยวะส่ วนใดทีม่ ี
การใช้ งานมากในการดารงชีวติ จะมีขนาดใหญ่ และแข็งแรงขึน้ ขณะทีอ่ วัยวะทีไ่ ม่ ค่อยได้ ใช้
งานจะอ่ อนแอและเสื่ อมไป”
- กฎแห่ งการถ่ ายทอดลักษณะทีเ่ กิดขึน้ ใหม่ (Law of Inheritance of Acquired
Characteristics) กล่ าวว่ า “การเปลีย่ นแปลงโครงสร้ างของสิ่ งมีชีวติ ทีเ่ กิดขึน้ ภายในชั่วรุ่นนั้น
สามารถถ่ ายทอดไปยังรุ่นลูกได้ ”
วิวฒ
ั นาการ (Evolution)
วิวฒ
ั นาการ (Evolution)
“It is not the strongest of the species
that survives, nor the most intelligent
that survives. It is the one that is most
adaptable to change”
Charles Darwin
วิวฒ
ั นาการ (Evolution)
วิวฒ
ั นาการ (Evolution)
ดาร์ วนิ ได้ เก็บรวบรวมและศึกษาตัวอย่ างพืชและสั ตว์ จากบริเวณต่ างๆทาให้ ทราบถึงความแปร
ผันของสิ่ งมีชีวติ ทีใ่ กล้ เคียงกัน รวมทั้งความเหมือนและความแตกต่ างกันของสิ่ งมีชีวติ ทีพ่ บใน
อดีตและในปัจจุบัน ดังนั้นข้ อมูลทีส่ าคัญทีไ่ ด้ จากการศึกษาครั้งนี้ ได้ แก่
1. ความหลากหลายและการแพร่ กระจายของสิ่ งมีชีวติ ในสภาพภูมศิ าสตร์ ต่างๆ
2. การศึกษาซากกระดูกโบราณ
3. ความแตกต่ างของรู ปร่ างและลักษณะของสิ่ งมีชีวติ บนหมู่เกาะกาลาปากอส
วิวฒ
ั นาการ (Evolution)
1. ความหลากหลายและการแพร่ กระจายของสิ่ งมีชีวิตในสภาพภูมิศาสตร์ ต่างๆ
ดาร์ วินสั งเกตสภาพแวดล้ อมที่คล้ ายคลึงกันแต่ อยู่ห่างไกลกันจะพบสิ่ งมีชีวิตที่แตกต่ างกัน เช่ น
สิ่ งมีชีวิตในทะเลทรายของทวีปอเมริกาใต้ จะต่ างจากสิ่ งมีชีวิตในทะเลทรายของทวีปออสเตรเลีย จึงเป็ น
เหตุให้ ดาร์ วินเริ่มมีความคิดขัดแย้ งกับศาสนา ที่กล่ าวว่ า พระเจ้ าเป็ นผู้สร้ างทุกสิ่ งบนโลก
วิวฒ
ั นาการ (Evolution)
2. การศึกษาซากกระดูกโบราณ
การค้ นพบซากกระดู กโบราณที่ทับถมกัน
ทาให้ เห็นความสั มพันธ์ ระหว่ างอายุและความแปร
ผั น ของโครงสร้ าง โดยดาร์ วิ น สั งเกตว่ าเมื่ อ
เปรี ยบเทียบกับสิ่ งมีชีวิตในปัจจุบันแล้ วซากกระดูก
ของสิ่ งมีชีวิตที่อายุมากหรื อที่สูญพันธุ์ไปแล้ ว จะมี
ความแตกต่ างทางโครงสร้ างมากกว่ าซากกระดูกที่มี
อ า ยุ น้ อ ย ด า ร์ วิ น จึ ง เ ชื่ อ ว่ า สิ่ ง มี ชี วิ ต มี ก า ร
เปลีย่ นแปลงโครงสร้ างอย่ างช้ าๆตามกาลเวลา
วิวฒ
ั นาการ (Evolution)
3. ความแตกต่ างของรู ปร่ างและลั ก ษณะของ
สิ่ งมีชีวิตบนหมู่เกาะกาลาปากอสจากการสารวจเกา
พกาลาปากอสดาร์ วินพบสั ตว์ เลือ้ ยคลาน และสั ตว์
ปี กหลายชนิ ด บ้ างก็มีรูปร่ างคล้ ายคลึงกับสั ตว์ บน
ผืนแผ่ นดินใหญ่ ในทวีปอเมริ กาใต้ บ้ างก็มีลักษณะ
แตกต่ างกันได้ อย่ างชัดเจน
วิวฒ
ั นาการ (Evolution)
วิวฒ
ั นาการ (Evolution)
ทฤษฏีวิวัฒนาการจากอดีตถึงปัจจุบัน
ทฤษฏีวิวัฒนาการที่มีการอ้างอิงตามหลักวิทยาศาสตร์ เริ่มมีขนึ้ จากผลงานของลามาร์ ก หลังจาก
นั้นจนถึงปัจจุบันเป็ นเวลาเกือบสองศตวรรษ ได้ มีทฤษฏีวิวัฒนาการเกิดขึน้ มากมาย บ้ างก็ถูกล้ มล้ าง บ้ าง
ก็ได้ รับการยอมรับ บ้ างก็ได้ รับความเชื่อถือเพียงบางส่ วน และในปี ค.ศ.1982 เอิร์นสท์ เมย์ ร (Ernst
Mayr) นักวิวัฒนาการชาวเยอรมันได้ สรุ ปไว้ 6 ทฤษฏี ดังนี้
วิวฒ
ั นาการ (Evolution)
1. ทฤษฏีออโตเจเนติก (Autogenetic theory)
เชื่อว่ าวิวฒ
ั นาการเกิดโดยพลังหรือความสามารถทีม่ อี ยู่ในตัวของสิ่ งมีชีวติ เอง ไม่ ใช่
โดยปัจจัยภายนอก และได้ ผลักดันให้ เกิดโครงสร้ างทีซ่ ับซ้ อนขึน้ ทฤษฏีนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของ
ทฤษฏีของลามาร์ ก
2. กฎการใช้ และไม่ ใช้ และการถ่ ายทอดลักษณะทีไ่ ด้ มา (Law of use and disuse and
inheritance of acquired characteristics)
เป็ นส่ วนหนึ่งของทฤษฏีลามาร์ ก ซึ่งปัจจุบันยังไม่ มขี ้ อมูลยืนยันความเป็ นไปได้ ทาง
วิทยาศาสตร์
วิวฒ
ั นาการ (Evolution)
3. การเหนี่ยวนาของสิ่ งแวดล้ อม (Induction of the environment)
เชื่อว่ าวิวฒั นาการของสิ่ งมีชีวติ เกิดจากการกระทาของสิ่ งแวดล้ อม
4. ซาลเทชันนิซึม หรือมิวเทชันนิซึม (Saltationism or mutationism)
เชื่อว่ าวิวฒ
ั นาการของสปี ชีส์ใหม่ เกิดขึน้ อย่ างฉับพลันจากการกลาย
5. ทฤษฏีแรนดอม (Random theory)
เชื่อว่ าวิวฒ ั นาการเกิดขึน้ แบบสุ่ ม ไม่ มกี ฎเกณฑ์ ทแี่ น่ นอนไม่ ได้ เกิดจากปัจจัยใน
สิ่ งมีชีวติ เอง สิ่ งแวดล้ อม หรือการคัดเลือกโดยธรรมชาติ ทฤษฎีนีจ้ งึ ไม่ สอดคล้ องกับทฤษฏี
การคัดเลือกโดยธรรมชาติของดาร์ วนิ
วิวฒ
ั นาการ (Evolution)
6. ทฤษฏีซินเทติก (Synthetic theory)
เป็ นทฤษฎีที่ผสมผสานระหว่ างทฤษฏีการคัดเลือกโดยธรรมชาติของดาร์ วิน ผนวกกับความรู้ ใหม่
ทางด้ านพันธุศาสตร์ ประชากร ซึ่งนาคณิตศาสตร์ และสถิติมาใช้ กบั ประชากรธรรมชาติ เพือ่ อธิบาย
กระบวนการวิวัฒนาการของสิ่ งมีชีวิต ปัจจุบันทฤษฏีซินเทติกได้ รับการยอมรับมากที่สุด และเป็ นที่ร้ ู จักใน
อีกชื่อหนึ่งว่ า นีโอ ดาร์ วินนิซึม (neo-Darwinism)
วิวฒ
ั นาการ (Evolution)
หลักฐานทีย่ นื ยันว่ าสิ่ งมีชีวติ มีววิ ฒ
ั นาการ ได้ แก่
1. การศึกษาซากดึกดาบรรพ์ ของสิ่ งมีชีวติ (Paleontology)
การศึกษาซากดึกดาบรรพ์ ที่พบในชั้นหิน สามารถนาไปใช้ อธิบายการเกิดวิวฒ ั นาการ
ของสิ่ งมีชีวติ ได้ เช่ น ในปี ค.ศ. 1860 มีการขุดพบซากดึกดาบรรพ์ ของ Archaeopteryx จากยุค
จูแรสสิ ก ซึ่งมีลกั ษณะร่ วมระหว่ างสั ตว์ เลือ้ ยคลานและนก มีขากรรไกร ฟันคม มีเกล็ดทีข่ า แต่
มีขนคล้ ายนก นักวิวฒ ั นาการหลายท่ านเชื่อว่ า Archaeopteryx เป็ นตัวเชื่อมโยงที่หายไป
ระหว่ างสั ตว์ ท้งั สองประเภท ซึ่งทาให้ สันนิษฐานได้ ว่านกอาจมีววิ ฒ ั นาการมาจาก
สั ตว์ เลือ้ ยคลาน เป็ นต้ น
วิวฒ
ั นาการ (Evolution)

Archaeopteryx
วิ ว ฒ
ั นาการ (Evolution)
2. กายวิภาคศาสตร์ เปรียบเทียบ (Comparative anatomy)
การศึกษาโครงสร้ างของอวัยวะต่ างๆ ทาให้ ทราบถึงความสั มพันธ์ ทางวิวฒ ั นาการของ
สิ่ งมีชีวติ
Homologous Structure คือ โครงสร้ างเหล่ าทีพ่ ฒ ั นามาจากจุดกาเนิดเดียวกัน แต่ อาจ
มีการเปลีย่ นแปลงไปเพือ่ ทาหน้ าทีต่ ่ างกัน เช่ น แขนของคน ขาหน้ าของม้ า ปี กของนก ครีบ
ของวาฬ
Analogous Structure คือ โครงสร้ างของสิ่ งมีชีวติ ทีม่ ลี กั ษณะภายนอกเหมือนกันและ
ทาหน้ าทีเ่ ดียวกัน แต่ มจี ุดกาเนิดต่ างกัน ไม่ สามารถใช้ อธิบายความสั มพันธ์ ของสิ่ งมีชีวติ ว่ าได้
สื บทอดมาจากบรรพบุรุษร่ วมกัน เช่ น ปี กค้ างคาว และปี กแมลงทาหน้ าที่สาหรับ
วิวฒ
ั นาการ (Evolution)
วิวฒ
ั นาการ (Evolution)
3. วิทยาเอ็มบริโอเปรียบเทียบ
(Comparative embryology)
สั ตว์ ที่มคี วามสั มพันธ์ ใกล้ ชิดกันจะมี
ความคล้ ายคลึงกันในระยะเอ็มบริโอ
มากกว่ าเมือ่ โตเต็มวัย
วิวฒ
ั นาการ (Evolution)
4. ชีวเคมีเปรียบเทียบ (Comparative
biochemistry) ในสิ่ งมีชีวติ ทัว่ ไปมีองค์ ประกอบ
ทางพันธุกรรมทีเ่ หมือนกัน คือ ดีเอ็นเอ (ยกเว้ น
ไวรัสบางชนิดทีม่ อี าร์ เอ็นเอเป็ นสารพันธุกรรม)
จากการศึกษาโดยเทคนิคทางชีวเคมีพบว่ า
สิ่ งมีชีวติ มีความสั มพันธ์ ใกล้ ชิดกันจะมี
องค์ ประกอบทางพันธุกรรมหรือโปรตีนที่
คล้ ายกัน
วิวฒ
ั นาการ (Evolution)
5. การแพร่ กระจายของสิ่ งมีชีวิต (Biogeographical distribution)
นักชีววิทยาหลายท่ านทราบดีว่ากลุ่มของสิ่ งมีชีวิตที่มีความสั มพันธ์ เชิงวิวฒ
ั นาการใกล้ ชิดกันมัก
พบแพร่ กระจายในบริเวณที่ใกล้ ชิดกัน แต่ สิ่งกีดขวาง เช่ น มหาสมุทร หรือเทือกเขา สามารถแยกกลุ่มของ
สิ่ งมีชีวิตเหล่ านี้ ทาให้ มีความแตกต่ างกันจนกระทั่งเกิดสปี ชีส์ใหม่ นอกจากนีก้ ารมีสภาพภูมิศาสตร์ ที่
แตกต่ างกันทาให้ สิ่งมีชีวิตปรับตัวเข้ ากับสภาพแวดล้ อม และการปรับตัวเป็ นระยะเวลานานจะส่ งผลให้
ลักษณะพันธุกรรมแตกต่ างไปจากเดิม จนในที่สุดอาจนาไปสู่ การเกิดสปี ชีส์ใหม่
วิวฒ
ั นาการ (Evolution)
วิวฒ
ั นาการ (Evolution)
6. การคัดเลือกโดยมนุษย์ (Artificial selection)
ดาร์ วินแสดงให้ เห็นถึงอิทธิพลของการคัดเลือกซึ่งเป็ นแรงผลักดันที่สาคัญในการเกิดวิวัฒนาการ
โดยใช้ ตัวอย่ างจากการคัดเลือกลักษณะที่ต้องการของพืชหรือสั ตว์ โดยมนุษย์ ซึ่งต้ องผ่ านการคัดเลือกใน
หลายชั่วรุ่ น เช่ น การปรับปรุ งพันธุ์สุนัข โดยการคัดเลือกโดยมนุษย์ นี้ ส่ งผลให้ เกิดการเปลีย่ นแปลงอย่ าง
มากภายในระยะเวลาอันสั้ น เมื่อเทียบกับการคัดเลือกโดยธรรมชาติที่ต้องใช้ ระยะเวลายาวนานมากกว่ า
วิวฒ
ั นาการ (Evolution)
วิวฒ
ั นาการ (Evolution)
พันธุศาสตร์ ประชากร
ประชากร หมายถึง กลุ่มของสิ่ งมีชีวติ สปี ชีส์เดียวกัน ทีส่ ามารถผสมพันธุ์เพือ่ ถ่ ายทอด
ลักษณะทางพันธุกรรมไปยังรุ่นต่ อๆไปได้ การผสมพันธุ์ของสมาชิกในประชากรเมือ่ เกิดขึน้
อย่ างอิสระ ณ ช่ วงเวลาหนึ่ง จะทาให้ ได้ แหล่ งรวมขององค์ ประกอบทางพันธุกรรม เรียกว่ า ยีน
พูล การเปลีย่ นแปลงขององค์ ประกอบทางพันธุกรรม หรือยีนพูลของประชากรบ่ งชี้ว่า
สิ่ งมีชีวติ นั้นกาลังเกิดวิวฒ
ั นาการในระดับจุลภาค ซึ่งสามารถศึกษาได้ จากการคานวณเพือ่ หา
การเปลีย่ นแปลงความถี่ของแอลลีล และความถี่ของจีโนไทป์ การศึกษานี้ เรียกว่ า พันธุศาสตร์
ประชากร
วิวฒ
ั นาการ (Evolution)
ทฤษฏีของฮาร์ ดี – ไวน์ เบิร์ก
มีใจความว่ า “ในประชากรขนาดใหญ่ ทมี่ กี ารผสมพันธุ์แบบสุ่ ม เมือ่ ไม่ มกี ารกลาย ไม่ มี
การคัดเลือกทางธรรมชาติ และไม่ มกี ารอพยพ ประชากรดังกล่าวจะอยู่ในสภาพสมดุลของฮาร์
ดี- ไวน์ เบิร์ก และหากประชากรนีม้ กี ารสื บพันธุ์แบบอาศยเพศเพือ่ ถ่ ายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรมไปสู่ ร่ ุนถัดไป จะไม่ มกี ารเปลีย่ นแปลงความถี่ของแอลลีลหรือความถี่ของจีโนไทป์
ในประชากรทุกรุ่น หรือไม่ เกิดวิวฒ ั นาการในประชากรนี้" ดังนั้นความสมดุลทางพันธุกรรม
ของประชากรจึงอาจถูกรักษาไว้ ได้ ในยีนพูล
วิวฒ
ั นาการ (Evolution)
แบบทดสอบความเข้ าใจ
1. การผันแปรของสิ่ งมีชีวติ (Variation) เป็ นสาเหตุสาคัญของการเกิด
วิวฒ
ั นาการ การผันแปรดังกล่ าวเป็ นผลมาจากข้ อใด
1. การสื บพันธุ์แบบอาศัยเพศ
2. การผันแปรของสภาพแวดล้ อม
3. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ
4. การสื บพันธุ์แบบไม่ อาศัยเพศ
2. ข้ อใดกล่ าวได้ ถูกต้ องเกีย่ วกับทฤษฏี Use and Disuse ของ Jean Lamark
1. สิ่ งมีชีวติ ต้ องดิน้ รนต่ อสู้ เพือ่ เอาชีวติ รอด และสื บพันธุ์ต่อไป
2. ลักษณะใดทีเ่ กิดขึน้ ในรุ่ นพ่ อแม่ จะสามารถถูกถ่ ายทอดไปยังรุ่ นลูกได้
3. เมือ่ มีการใช้ งานอวัยวะใดมาก อวัยวะนั้นก็จะใหญ่ และแข็งแรงขึน้
อวัยวะใดหากไม่ ได้ ใช้ งานก็จะหดลง
4. สิ่ งมีชีวติ สามารถเปลีย่ นแปลงรู ปร่ างได้ แต่ จะไม่ สูญพันธุ์ไปไหน
3. อวัยวะคู่ใดต่ อไปนี้ จัดว่ าเป็ น Analogous Organ
1. มือของมนุษย์ และมือของลิงชิมแพนซี
2. ครีบวาฬ และครีบโลมา
3. ปี กนก และปี กแมลง
4. ปี กนก และปี กค้ างคาว
4 การผ่ าเหล่ า มีอทิ ธิพลต่ อวิวฒั นาการก็ต่อเมื่อลักษณะที่เกิดจากการผ่ า
เหล่ านั้น
1. ต้ องเป็ นลักษณะเด่ น
2. ต้ องเป็ นลักษณะทีม่ อี ยู่น้อยและหายาก
3. ต้ องเป็ นลักษณะที่สอดคล้ องกับสิ่ งแวดล้ อม
4. ต้ องเป็ นลักษณะที่คล้ ายกับสิ่ งมีชีวติ อืน่
5. ปัจจัยใดทีม่ ผี ลกระทบต่ อความถี่ของยีน และความถี่จีโนไทป์ ในประชากรที่
อยู่ในสภาวะสมดุลมากทีส่ ุ ด
1. การเกิดมิวเทชัน
2. การคัดเลือกตามธรรมชาติ
3. การอพยพโยกย้ ายของสมาชิก
4. การผสมพันธุ์แบบเจาะจงของสมาชิก

You might also like