You are on page 1of 3

ฟิสิกส์ โก้เอก สามกอง TEL 08-1734-8313 1

2. ความร้ อน
1. อุณหภูมิ คือ ปริมาณที่บอกว่าวัตถุมีพลังงานความร้อน, ระดับความร้อน มากน้อยเพียงไร
การเปรียบเทียบอุณหภูมิ
จุดเดือด 100o C 373 K 212o F 80o R B.P.

C K F R X

จุดเยือกแข็ง 0o C 273 K 32o F 0o R F.P.

2. หน่วยของพลังงานความร้อน (Unit of Thermal Energy)


2.1 หน่วยแคลอรี (calorie, cal)
1 Cal เท่ากับ พลังงานความร้อนที่ถ่ายเทให้น้ามวล 1 กรัม ท้าให้มีอุณหภูมิสูงขึ้น 1 OC
2.2 หน่วยบีทียู (British thermal unit, BTU)
1 BTU เท่ากับ พลังงานความร้อนที่ถ่ายเทให้น้ามวล 1 ปอนด์ ท้าให้มีอุณหภูมิสูงขึ้น 1 OF
2.3 พลังงานความร้อนเทียบเท่าพลังงานกล
1 Cal = 4.186 J 1 BTU = 252 Cal = 1055 J

3. ความจุความร้อน (heat capacity) และความจุความร้อนจาเพาะ (specific heat capacity)


3.1 ความจุความร้อน (heat capacity, C) คือ พลังงานความร้อนที่ท้าให้สารนั้นทั้งก้อน อุณหภูมิสูงขึ้น 1 OC

3.2 ความจุความร้อนจ้าเพาะของวัตถุ (specific heat capacity, c) คือ ความจุความร้อนต่อ มวล 1 กิโลกรัม

4. ความร้อนแฝง (latent heat, L) คือ ความร้อนที่ท้าให้สารมวล 1 กิโลกรัม เปลี่ยนสถานะ


4.1 ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว (Lm) พลังงานความร้อนที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นของเหลว
4.2 ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ (Lv) พลังงานความร้อนที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นแก๊ส
2 2. ความร้อน / 3. แสง

5. กราฟระหว่างอุณหภูมิ (T) กับพลังงานความร้อนที่สารได้รับ (Energy added)

พิจารณาพลังงานความร้อนที่ใช้ในการแปลงน้้าแข็ง 1 g ที่ -30 OC เป็นไอน้้าทั้งหมดที่ 120 OC


Part A น้้าแข็งเปลี่ยนอุณหภูมิจาก -30.0 OC เป็น 0.0 OC (ความจุความร้อนจ้าเพาะของน้้าแข็งเท่ากับ 2,090 J/kg.OC)
พลังงานความร้อนที่ได้รับ =

Part B น้้าแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นน้้าที่ 0.0 OC (ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของน้้าแข็งเท่ากับ 333x103 J/kg)


พลังงานความร้อนที่ได้รับ =

Part C น้้าเปลี่ยนอุณหภูมิจาก 0.0 OC เป็น 100.0 OC (ความจุความร้อนจ้าเพาะของน้้าเท่ากับ 4,190 J/kg.OC)


พลังงานความร้อนที่ได้รับ =

Part D น้้าเปลี่ยนสถานะเป็นไอน้้าที่ 100.0 OC (ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอน้้าของน้้าเท่ากับ 2,260x103 J/kg)


พลังงานความร้อนที่ได้รับ =

Part E ไอน้้าเปลี่ยนอุณหภูมิจาก 100.0 OC เป็น 120.0 OC (ความจุความร้อนจ้าเพาะของไอน้้าเท่ากับ 2,010 J/kg.OC)


พลังงานความร้อนที่ได้รับ =
ฟิสิกส์ โก้เอก สามกอง TEL 08-1734-8313 3

Ex1 อุณหภูมิ 45C จะตรงกับกี่ R และ F


1. 36R และ 103F 2. 36R และ 113F
3. 30R และ 113F 4. 30R และ 118F

Ex2 อุณหภูมิ 72 ฟาเรนไฮต์ จะตรงกับกี่องศาโรเมอร์ และกี่องศาเซลเซียส


1. 15.5R และ 22.2C 2. 17.8R และ 22.2C
3. 18.7R และ 32.2C 4. 17.8R และ 22.9C

Ex3 ความร้อนแฝงของน้้าแข็ง และความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอมีค่าเท่ากับเท่าใด ในหน่วยแคลอรีต่อกรัม


1. 540 และ 80 ตามล้าดับ 2. 80 และ 540 ตามล้าดับ
3. 540 และ 540 ตามล้าดับ 4. 80 และ 80 ตามล้าดับ

Ex4 กราฟในข้อใดที่แสดงการเปลี่ยนสถานะของน้้าจากของแข็งกลายเป็นไอ

3) ข้อ ก. และ ง. 4) ข้อ ข. และ ค.

You might also like