You are on page 1of 7

บทที่ 10

กฎของแก๊ ส

วั ตถุ ประสงค์ 1. เพื่ อศึ กษากฎของแก๊ ส


2. เพื่ อหาปริ มาตรโมลาร์ (molar volume) ที่ สภาวะอุ ณหภู มิและความดั นมาตรฐาน
3. เพื่ อหาค่ าคงที่ ของแก๊ ส

บทนํ า

กฎของบอยล์ (Boyle’s law)


โรเบิ ร์ต บอยล์ (Robert Boyle) สรุ ปเป็ นกฎว่ า
“เมื่ ออุ ณหภู มิและจํ านวนโมลคงที่ ปริ มาตรของแก๊ สจะแปรผกผั นกั บความดั น”
เขี ยนแสดงความสั มพั นธ์ ได้ ดังนี้
1
V ∝ P (เมื่ อ T และ n คงที่ )

เมื่ อ V = ปริ มาตร, P = ความดั น, T = อุ ณหภู มิสมบู รณ์ , และ n = จํ านวนโมล

กฎของชาร์ ลส์ (Charles’ law)


จาคส์ ชาร์ ลส์ (Jacques Charles) สรุ ปเป็ นกฎว่ า
“เมื่ อความดั นและจํ านวนโมลคงที่ ปริ มาตรของแก๊ สจะแปรผั นโดยตรงกั บอุ ณหภู มิสมบู รณ์ ”
เขี ยนแสดงความสั มพั นธ์ ได้ ดังนี้
V ∝ T (เมื่ อ P และ n คงที่ )

กฎรวมของแก๊ ส (Combined gas law)


กฎรวมของแก๊ สได้ จากการรวมกฎของบอยล์ และกฎของชาร์ ลส์ เข้ าด้ วยกั น ซึ่ งเขี ยนแสดงความสั มพั นธ์ ระหว่ าง ความดั น
อุ ณหภู มิ และปริ มาตร ได้ ดังนี้

P1V1 P2V2
= …….(10.1)
T1 T2

จากสมการ (10.1) สามารถคํ านวณหาตั วแปรตั วใดตั วหนึ่ งเมื่ อทราบค่ าตั วแปรอื่ น ๆ ตั วอย่ าง เช่ น แก๊ สคาร์ บอนไดออกไซด์
ปริ มาตร 300 cm3 อุ ณหภู มิ 30 oC ความดั น 780 มม. ปรอท จะมี ปริ มาตรเปลี่ ยนไปเมื่ ออุ ณหภู มิและความดั นเปลี่ ยนไป
ถ้ า V1 , T1 , P1 เป็ นปริ มาตร, อุ ณหภู มิ, ความดั นของแก๊ สข้ างต้ น และ V2 , T2 , P2 เป็ นปริ มาตร, อุ ณหภู มิ, ความดั นที่ STP

คํ านวณหาปริ มาตรแก๊ สที่ STP จากสมการ (10.1) ดั งนี้

T2 P1
V2 = V1 × ×
T1 P2

273 K 780 มม. ปรอท


= 300 cm3 × × = 277 cm3
303 K 760 มม. ปรอท

กฎของอโวกาโดร (Avogadro’s law)


อโวกาโดร (Avogadro) สรุ ปเป็ นกฎว่ า
“เมื่ ออุ ณหภู มิและความดั นคงที่ ปริ มาตรของแก๊ สจะเป็ นสั ดส่ วนโดยตรงกั บจํ านวนโมลของแก๊ ส”
เขี ยนแสดงความสั มพั นธ์ ได้ ดังนี้

V ∝ n (เมื่ อ T และ P คงที่ )


กฎของแก๊ สอุ ดมคติ (Ideal-gas law)
กฎของแก๊ สอุ ดมคติ ได้ มาจากกฎของบอยล์ กฎของชาร์ ลส์ และกฎของอโวกาโดรมารวมกั น ซึ่ งเขี ยนแสดงความสั มพั นธ์
ระหว่ างจํ านวนโมลของแก๊ ส ความดั น ปริ มาตรและอุ ณหภู มิ ได้ ดังนี้

PV = nRT

PV
R = …….(10.2)
nT

เมื่ อ R = ค่ าคงที่ ของแก๊ ส


= 0.0821 L atm mol–1K–1
= 62.36 L torr mol–1K–1
= 1.987 cal mol–1K–1 (1 L atm = 24.1 cal)
= 8.314 J mol K
–1 –1
(1 L atm = 101.3 J)

กฎความดั นย่ อยของดาลตั น (Dalton’s law)


ดาลตั น (Dalton) สรุ ปเป็ นกฎว่ า
“ความดั นไอรวมของแก๊ สผสมจะเท่ ากั บผลบวกความดั นย่ อยของแก๊ สแต่ ละชนิ ดในแก๊ สผสมนั้ น” เมื่ อทํ าการเตรี ยมแก๊ สใน
ห้ องปฏิ บัติการ โดยการเก็ บแก๊ สนั้ นเหนื อนํ้ าภายในภาชนะปิ ด แก๊ สที่ เก็ บเหนื อนํ้ าจะมี ไอนํ้ าผสมอยู่ ด้วย ไอนํ้ าเกิ ดจากการ
ระเหยของนํ้ าและไอนํ้ าจะทํ าให้ เกิ ดความดั นส่ วนหนึ่ งเรี ยกว่ า “ความดั นไออิ่ มตั ว” (ที่ สภาวะสมดุ ล)

ในการทดลองนี้ แก๊ สไฮโดรเจนที่ เกิ ดขึ้ นจากปกิ กิ ริ ยาเคมี


บรรจุ อยู่ ภายในภาชนะปิ ดที่ มีน้ํ า ความดั นทั้ งหมดในภาชนะ
เกิ ดขึ้ นเนื่ องจากความดั นของแก๊ สไฮโดรเจนร่ วมกั นความ
ดั นไอของนํ้ าและความดั นของนํ้ าที่ อยู่ ในกระบอกตวง ถ้ า
ความดั นภายในภาชนะปิ ดที่ รวมทั้ งความดั นของแก๊ ส
ไฮโดรเจน (PH2) ความดั นไอนํ้ าอิ่ มตั ว (PH2O (g)) และ ความ
ดั นของนํ้ าในกระบอกตวง (PH2O (l)) ประมาณเท่ ากั บความ
ดั นบรรยากาศภายนอก (Patm) (ซึ่ งวั ดโดยใช้ บารอมิ เตอร์ )
และจากกฎความดั นย่ อยของดาลตั นสามารถเขี ยนแสดง
ความสั มพั นธ์ ได้ ดังนี้

P (ภายนอก) = P (ภายใน)

Patm = PH2 (g) + PH2O (g) + PH2O (l)

∴ PH2 (g) = Patm - PH2O (g) - PH2O (l)

เมื่ อ Patm = ความดั นบรรยากาศขณะทํ าการทดลอง มี หน่ วยเป็ น atm


PH2 (g) = ความดั นแก๊ สไฮโดรเจน ณ อุ ณหภู มิขณะที่ ทําการทดลอง มี หน่ วยเป็ น atm
หรื อ มม. ปรอท
PH2O (g) = ความดั นไอนํ้ าอิ่ มตั ว ณ อุ ณหภู มิขณะที่ ทําการทดลอง มี หน่ วยเป็ น atm
(คํ านวณจากตาราง 10.1)
PH2O (l) = ความดั นของนํ้ าในกระบอกตวงที่ ระดั บความสู ง h เซนติ เมตร ณ อุ ณหภู มิขณะที่ ทําการทดลอง
คํ านวณจาก PH2O (l) = h / 1033 มี หน่ วยเป็ น atm
ตาราง 10.1 ความดั นไอนํ้ าอิ่ มตั วที่ อุณหภู มิต่าง ๆ

อุ ณหภู มิ ความดั น อุ ณหภู มิ ความดั น


( C)
o
(มม. ปรอท) ( C)
o
(มม. ปรอท)
26 25.2 34 39.9
27 26.7 35 42.2
28 28.3 36 44.6
29 30.0 37 47.1
30 31.8 38 49.7
31 33.7 39 52.4
32 35.7 40 55.3
33 37.7 41 58.3

ปริ มาตรโมลาร์ (Molar volume)


ตามกฎของอโวกาโดร จะได้ ว่าแก๊ สใดๆ หนึ่ งโมลจะมี ปริ มาตรเท่ ากั นภายใต้ สภาวะอุ ณหภู มิและความดั นเดี ยวกั น เรี ยกว่ า
“ปริ มาตรโมลาร์ ”
ปริ มาตรโมลาร์ ที่สภาวะอุ ณหภู มิและความดั นมาตรฐาน (Standard Temperature Pressure, STP)
หมายถึ งปริ มาตรของแก๊ ส 1 โมล ซึ่ งมี ปริ มาตร 22.4132 ลิ ตร ที่ ความดั น 760 มม.ปรอท อุ ณหภู มิ 273.15 K (0oC)

รายละเอี ยดการทดลอง
ในการทดลองนี้ เป็ นการศึ กษากฎของแก๊ สต่ างๆ ปริ มาตรโมลาร์ ที่ STP และค่ าคงที่ ของแก๊ สภายใต้ สภาวะในห้ องปฏิ บัติการ
โดยการเตรี ยมแก๊ สไฮโดรเจนจากปฏิ กิริยาระหว่ างแมกนี เซี ยมและกรดเกลื อ ดั งสมการ

Mg + 2HCl ⟶ MgCl2 + H2 …….(10.3)

แก๊ สไฮโดรเจนที่ เกิ ดขึ้ นสามารถเก็ บโดยการแทนที่ น้ํ าในขวดปิ ด จํ านวนโมลของแก๊ สหาได้ จากมวลของสารกํ าหนดปริ มาณ
และมวลโมเลกุ ลของสารกํ าหนดปริ มาณดั งนี้

มวลของสารกํ าหนดปริ มาณ (m)


n =
มวลโมเลกุ ลของสารกํ าหนดปริ มาณ (MW)

แทนค่ าลงในสมการ (10.2) จะได้

MW PV
R = …….(10.4)
m T

จากสมการ (10.3) จะเห็ นได้ ว่าแมกนี เซี ยม 1 โมล จะทํ าปฏิ กิริยาพอดี กับกรดเกลื อ 2 โมล และ ได้ แก๊ สไฮโดรเจน 1 โมล
ดั งนั้ นอั ตราส่ วนปริ มาณสั มพั นธ์ ของแมกนี เซี ยมต่ อกรดเกลื อเท่ ากั บ 1:2 และปฏิ กิริยาจะสิ้ นสุ ดลงเมื่ อสารตั้ งต้ นที่ มีปริ มาณ
น้ อยกว่ าหมดไป เรี ยกสารตั้ งต้ นที่ มีปริ มาณน้ อยกว่ านี้ ว่ า “สารกํ าหนดปริ มาณ” โดยทั่ วไปสารกํ าหนดปริ มาณคื อสารที่ มี
ปริ มาณน้ อยกว่ า แต่ ในการทดลองเพื่ อให้ ผลการทดลองถู กต้ องยิ่ งขึ้ นควรจะเลื อกสารที่ มีความเสถี ยรสู ง ไม่ ดูดความชื้ น
และมี มวลโมเลกุ ลสู ง เพื่ อลดความผิ ดพลาดในการชั่ งสารกํ าหนดปริ มาณ ซึ่ งในการทดลองนี้ จะใช้ แมกนี เซี ยมมาเป็ นสาร
กํ าหนดปริ มาณและจะใช้ กรดเกลื อมากเกิ นพอในการทํ าปฏิ กิริยา จากนํ้ าหนั กหรื อจํ านวนโมลของสารกํ าหนดปริ มาณนํ ามาใช้
ในการคํ านวณหานํ้ าหนั ก หรื อ จํ านวนโมลผลิ ตภั ณฑ์ ที่ เกิ ดขึ้ นจากปฏิ กิ ริ ย า ในการทดลองนี้ จะได้ จํ านวนโมลของแก๊ ส
ไฮโดรเจนเท่ ากั บจํ านวนโมลของแมกนี เซี ยม จากค่ าปริ มาตร ความดั น อุ ณหภู มิ และจํ านวนโมลของแก๊ สสามารถคํ านวณหา
ปริ มาตรโมลาร์ ของแก๊ สไฮโดรเจนที่ STP จากสมการ (10.1) และค่ าคงที่ ของแก๊ สได้ จากสมการ (10.4)
ขั้ นตอนการทดลอง

อุ ปกรณ์ การทดลอง
1. เทอร์ มอมิ เตอร์
2. ขวดทดลองพร้ อมฝาที่ มีสายยางเสี ยบอยู่
3. สํ าลี
4. กระบอกตวงขนาด 10 cm3 และ 100 cm3
5. อ่ างสํ าหรั บบรรจุ น้ํ า
6. ขาตั้ งพร้ อมที่ ยึดอุ ปกรณ์
7. ไม้ บรรทั ด

สารเคมี ที่ใช้
โลหะแมกนี เซี ยม
6M HCl (hydrochloric acid)
รู ปที่ 1 อุ ปกรณ์ การทดลอง

วิ ธีทดลอง

1. เติ มนํ้ าลงในอ่ างนํ้ าให้ ได้ ระดั บ 3/4 ของอ่ างนํ้ า 2. นํ ากระบอกตวงขนาด 100 cm3 มาเติ มนํ้ าให้ เต็ ม
พร้ อมนํ าปลายสายยางใส่ เข้ าไปในกระบอกตวง

3. ควํ่ ากระบอกตวงที่ มีน้ํ าอยู่ เต็ มแล้ วลงในอ่ างนํ้ า 4. ตวง 6M HCl ปริ มาตร 5 cm3 ใส่ ขวดทดลอง
พร้ อมทั้ งติ ดตั้ งกระบอกตวงเข้ ากั บขาตั้ ง
5. ใช้ สําลี ห่อโลหะแมกนี เซี ยม และนํ าไปใส่ ให้ อยู่ บริ เวณคอขวดทดลอง พร้ อมปิ ดฝาให้ แน่ น
*ระวั งอย่ าให้ โลหะแมกนี เซี ยมทํ าปกิ กิริยากั บกรด HCl

6. เอี ยงขวดทดลองให้ กรด HCl ทํ าปฏิ กิริยากั บโลหะ 7. บั นทึ กปริ มาตรนํ้ าที่ ถูกแทนที่ ด้วยแก๊ ส H2
แมกนี เซี ยม แก๊ ส H2 ที่ เกิ ดขึ้ นในระบบจะเข้ าไปแทนที่ บั นทึ กความสู งของนํ้ าในกระบอกตวง และ
นํ้ าในกระบอกตวง ปฏิ กิริยาจะเสร็ จสิ้ นเมื่ อไม่ มี บั นทึ กอุ ณหภู มิของนํ้ า
ฟองแก๊ สในขวดทดลอง

8. ทํ าการทดลองซํ้ าอี ก 1-2 ครั้ ง

ข้ อควรระวั ง แก๊ สไฮโดรเจนติ ดไฟได้ ง่าย ไม่ ควรทํ าการทดลองใกล้ เปลวไฟ


ปฏิ บัติการ 01403 ............

ชื่ อ.....................................….....….....….........คณะ........................................... หมู่ ....................เบอร์ ตู้.....................

ชื่ อ.....................................….....….....….........คณะ........................................... หมู่ ....................เบอร์ ตู้.....................

ชื่ อ.....................................….....….....….........คณะ........................................... หมู่ ....................เบอร์ ตู้.....................

ชื่ อ.....................................….....….....….........คณะ........................................... หมู่ ....................เบอร์ ตู้.....................

อาจารย์ ผู้ควบคุ ม .....................................................................…............…. วั นที่ .......................................................

รายงานการทดลอง เรื่ องกฎของแก๊ ส

ผลการทดลอง ครั้ งที่ 1 ครั้ งที่ 2

1. นํ้ าหนั กแมกนี เซี ยม (กรั ม)

2. ปริ มาตรของนํ้ า (ลิ ตร)

3. อุ ณหภู มิของนํ้ า (K)

4. ความสู งของนํ้ าในกระบอกตวง, h (cm)

5. ความดั นของนํ้ าในกระบอกตวง (atm)

6. ความดั นไอนํ้ าอิ่ มตั วที่ อุณหภู มิการทดลอง (atm)

7. ความดั นบรรยากาศ (atm)

สมการแสดงการเตรี ยมแก๊ สไฮโดรเจน ....................................................................................................

ตั้ งตั วเลข


แสดงวิ ธีคํานวณ ครั้ งที่ 1 ครั้ งที่ 2
การทดลองครั้ งที่ 1
1. ความดั นของแก๊ สไฮโดรเจน
(atm)

2. จํ านวนโมลของแมกนี เซี ยม
(โมล)

มวลอะตอม Mg = 24.31 g/mol


3. จํ านวนโมลของแก๊ สไฮโดรเจน
(โมล)

4. ปริ มาตรของแก๊ สไฮโดรเจนที่


อุ ณหภู มิห้อง (ลิ ตร)
ตั้ งตั วเลข
แสดงวิ ธีคํานวณ ครั้ งที่ 1 ครั้ งที่ 2
การทดลองครั้ งที่ 1
5. ปริ มาตรของแก๊ สไฮโดรเจนที่ STP (ลิ ตร)
(คํ านวณจากข้ อ 4)

6. ปริ มาตรโมลาร์ ที่ STP จากผลการทดลอง


(ลิ ตร)

7. ปริ มาตรโมลาร์ (เฉลี่ ย)


(ลิ ตร)

8. ความผิ ดพลาดสั มพั ทธ์


(%)

9. R
(L atm mol–1K–1)

10. R (เฉลี่ ย)
(L atm mol–1K–1)

11. ความผิ ดพลาดสั มพั ทธ์


(%)

คํ าถาม
1. จงหานํ้ าหนั กของแก๊ สต่ อไปนี้ ที่มีปริ มาตร 1 ลิ ตร ที่ สภาวะมาตรฐาน
(ใช้ มวลอะตอมและปริ มาตรโมลาร์ ในการคํ านวณเท่ านั้ น)

1.1 นํ้ าหนั กแก๊ ส Br2 = ……………………………….……. = ………………….. กรั ม

1.2 นํ้ าหนั กแก๊ ส O2 = ……………………………….……. = ………………….. กรั ม

1.3 นํ้ าหนั กแก๊ ส CO2 = ………………………………….…. = ………………….. กรั ม

(ตั้ งตั วเลขแสดงวิ ธีคํานวณ) (ผลลั พธ์ )


2. นํ้ า 10 กรั ม ระเหยกลายเป็ นไอได้ ที่อุณหภู มิ 100 C และความดั น 700 มม. ปรอท จงหา
o

2.1 จํ านวนโมลของนํ้ า 2.2 ปริ มาตรของไอนํ้ า (ลิ ตร)

You might also like