You are on page 1of 91

Content

ด เทอม

1. โครงสร้ างอะตอม (Atomic Structures)


2. พันธะเคมี (Chemical Bonding)
โค วา เลน
-
3 ช ด % ออ ก
'
โลหะ

3. ปริมาณสารสั มพันธ์ (Mass Relationships in


Chemical Reaction)
4. แก๊ส (Gases)
5. ของแข็ง (Solids)

1
ต์
มิ
นิ
นิ
Content

i
ห ง สอน
7. สารละลาย (Solutions)
อ .

8. จลนพลศาสตร์ เคมี (Chemical Kinetic)


9. สมดุลเคมี (Chemical Equilibrium)
10. สมดุลของไอออน(Acid-Base Equilibria and
Solubility Equilibria)
11. ธาตุเรพรีเซนเททีฟ (Representative elements)
12. ธาตุแทรนซิชัน (Transition elements)
↳ cu หลอ ไฟ
สาร ษ
Hg อา ต เ นไฟ า
โซลา เซล →
เป ยน จากแสง

2
ผู้
พิ
ป็
ญิ
ลี่
ทิ
ฟ้
ล์
ร์
ย์
Fundamentals of General Chemistry
01403117

Atomic structures

ผศ. ดร. บุญธนา วรรณเลิศ


อะตอม(Atom)
✪ อนุภาคเล็กที่สุดที่แสดงสมบัตขิ องธาตุหรื อสสาร

ทฤษฎีอะตอมของดอลตัน
✪ อะตอมมีลกั ษณะเป็ นทรงกลมขนาดเล็กมากและไม่ สามารถ
แบ่ งแยกได้ อกี
✪ อะตอมของธาตุเดียวกันเหมือนกันทุกประการ

(ปัจจุบัน กฏข้ อนีไ้ ม่ ถูกต้ องเสมอไป)


✪ อะตอมตั้งแต่ 2 ชนิดขึน
้ ไปรวมกันเกิดเป็ นสารประกอบ
1. Atomic Structures

ปี ค.ศ. 1897 เซอร์ โจเซฟ จอห์ น ทอมสั น (Sir Joseph John Thomson)
=> ค้ นพบแบบจาลองของอะตอมมีลกั ษณะ รู ปร่ างเป็ นทรงกลม และมีประจุบวก
=>ประจุลบของอิเล็กตรอนเท่ ากับประจุบวก อะตอมเป็ นกลางทางไฟฟ้ า
ปี ค.ศ. 1911 ลอร์ ดเออร์ เนสต์ รัทเทอร์ ฟอร์ ด (Lord Ernest
Rutherford)
- การทดลองโดยนาอนุภาคแอลฟาจากแหล่ งกาเนิดเข้ าไปในแผ่ นทองแดงบางๆ

- สรุ ป 1. ประจุบวกและมวลทั้งหมดของอะตอมควรรวมกันเป็ นกลุ่มก้ อนเรียกว่ า


นิวเคลียส และ อิเล็กตรอนจะกระจายตัวบริเวณที่ว่างเปล่า
2. จานวนอิเล็กตรอนเท่ ากับจานวนประจุบวกในนิวเคลียส
Atom
(How and what are atoms constructed?)

อะตอมประกอบด้ วย 3 อนุภาค

- อิเล็กตรอน electron (e-)


electron

- โปรตอน proton (p)


nucleon = neutron + proton
-นิวตรอน neutron (N)
ญ nญ จง เ ยน ก ด เ ง ของ
ธา
×

สั ญลักษณ์ ทางนิวเคลียร์ ของธาตุ


.
จน .

เ น กลาง ทาง ไฟ า
าน ทาง วเค ย p
→ =
e-

เลขเชิงมวล Mass Number (A) = ? A


เลขเชิงอะตอม Atomic Number (Z) = ? X
A=p+N Z
Z=p
✦ จานวน e- = จานวน p ✦

235

92
U p = ?

“Isotopes” N = ?
238

92
U e- = ?
จั
ยั
นิ
ญัล้
ป็
ขี
ร่
ติ
ตุ
ฟ้
ลี
ย์
ร์
ไป วเค ย + อง เ ยน ง าง บน
1 ช ,
พญา
"หาย ทาง
ประ < [ เ ยเ มมา . . . .
) µ
"
""
ฌื
Ex. จงหาจานวนโปรตอน อิเล็กตรอน และนิวตรอนของอะตอม
หรือ ไอออนต่อไปนี้
7 Li 27Al 51 V2-
3 13 23
↳ im
e- 13 n =
14
=
13
p
=

Al →

25 1 23
µ
+

V → ะ
23 =

p
ประ

โจท
ex .

เ ยน ญ กษ ธา
p
=
_
eะ _
n =
_ ประ nn
จง
นิ
ต้
ล่
ทั้
อั
มี
สั
พิ่
ขี
มี
ขี
ณ่
ตุ
จุ
ลั
จุ
ย์
จุ
ลี
ณ์
ร์
ไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร์ nf ไ ออก

✪ ธาตุทมี่ จี านวนโปรตรอน(p) เท่ ากันแต่ จานวนนิวตรอน(N)ต่ างกัน เรียกว่ า


ไอโซโทป (isotope) เช่ น 235 238

92 U 92 U

✪ ธาตุทมี่ จี านวนนิวตรอน(N) เท่ ากันแต่ จานวนโปรตรอน(p)ต่ างกัน เรียกว่ า


ไอโซโทน (isotone) เช่ น
9 10 11
3 Li 4 Be 5 B

✪ ธาตุทมี่ จี านวนนิวคลีออนเท่ ากัน เรียกว่ า ไอโซบาร์ (isobar) เช่ น


12 12 12

5 B 6 C 7 N
ม่
Ex. กาหนดสัญลักษณ์ทางนิวเคลียร์ของธาตุสมมุติ
14
7A 6B 8C 9D 6E 11
12 14 18
F
15 20

คูใ่ ดเป็ นไอโซโทป…………………….


คูใ่ ดเป็ นไอโซโทน…………………….
คูใ่ ดเป็ นไอโซบาร์……………………..
การหามวลเชิงอะตอมและนา้ หนักเชิงอะตอม
การหามวลเชิงอะตอม = เครื่ องมือแมสสเปกโทรโฟโตมิเตอร์12
= หาอัตราส่ วนมวลเชิงอะตอมกับ 6 C
10 11
1. B มี 2 ไอโซโทป คือ 5 B มีจานวน 19.9% และ 5 B มีจานวน80.1% จง
คานวณหามวลเชิงอะตอม
10
10
B
5
= 0.8344, 5 B = 0.8344X12 = 10.013D
12
6 C
11
11
5 B = 0.9174, = 0.9174X12 = 10.009D
5 B
12
6 C
10
5 B = 19.9 X 10.013 = 1.99
11 100
5 B = 80.1 X 11.009 = 8.82
100
น้ ำหนักเชิงอะตอม = ผลบวกของมวลเชิงอะตอมทุกไอโซโทป
น้ ำหนักของ B = 1.99 + 8.82
= 10.18D
Atomic Mass Unit

12 23
1 mol of C = 6.02 x 10 atoms
6
= 12 g

12 12
Mass of 1 atom C = g
6 23
6.02 x 10

1 amu (1D) 1 12
= x g
23
12 6.02x10
-24
= 1.66 x 10 g
ปี ค.ศ. 1913 นีลส์ โบร์ (Niels Bohr)

ได้ เสนอแบบจาลองอะตอมซึ่งแสดงตาแหน่ งของอิเล็กตรอนในอะตอมจากการศึกษา


สเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน

The Hydrogen spectrum


นีลส์ โบร์ ได้ต้งั ทฤษฎีเกีย่ วกับการจัดตัวของอิเล็กตรอนในอะตอมสรุปได้ 2 ข้ อ คือ
1. อิเล็กตรอนหมุนรอบนิวเคลียสโดยมีเส้ นวงโคจรเป็ นวงกลม มีโมเมนตัมเชิงมุมเป็ น
จานวนเท่ าของค่ าคงตัวของพลังค์

mvr = nh = nh
2
n = ลำดับวงโคจรของอิเล็กตรอน จำนวนเต็ม 1, 2, 3, …..
h = ค่ำคงที่พลังค์ = 6.6262 x 10-34 Js

r e-
แบบจาลองตามทฤษฎีของโบร์
นิวเคลียส
วงโคจรที่ 1, E1 E2 E3
นิวเคลียส
2. เมื่ออิเล็กตรอนได้ รับพลังงานหรื อเปล่ งพลังงานออกมาเท่ ากับผลต่ างของระดับ
พลังงานวงโคจรจะเป็ นผลให้ อเิ ล็กตรอนเปลีย่ นวงโคจรและพลังงานจานวนนี้

ΔE = h‫ = ע‬h‫ע‬c = hc

ΔE = Enf – Eni
Enf
ΔE = + ดูดกลืนพลังงาน
Eni
Eni
ΔE = - คายพลังาน
Enf
ปี ค.ศ. 1924 ลุย เดอ บรอยล์ (Louis de Broglie)
✪ ได้ ต้งั สมมติฐานว่ า แสงมีสมบัตเิ ป็ นอนุภาคได้ ในทางกลับกันอนุภาคก็จะมี
สมบัติเป็ นคลื่นได้ เหมือนแสง
=> “สารทุกชนิดมีสมบัตคิ วามเป็ นทั้งคลื่นและอนุภาค”
เมื่อโฟตอนเป็ นคลื่นจะมีพลังงาน E = hν hν = mc2
เมื่อโฟตรอนเป็ นอนุภาคจะมีพลังงาน E = mc2
mc = hν/c ; ν/c = 1/λ
mc = h/λ

• สาหรับอนุภาค mv = h/λ λ = h/mv

λ = ความยาวคลื่นของโฟตรอน
เมื่อให้ อเิ ล็กตรอนเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสในวงโคจรที่เสถียร หมายความว่ า
อิเล็กตรอนมีสมบัตเิ ป็ นคลื่นนิ่งเท่ านั้น ซึ่งจะต้ องเป็ นไปตามความสั มพันธ์ ที่ว่าความ
ยาวของเส้ นรอบวงของวงโคจรของอนุภาคอิเล็กตรอน ต้ องเท่ ากับจานวนเท่ าของความ
ยาวคลื่นของอิเล็กตรอนนั้น ตามสมการ 2r = n (เมื่อ n = เลขจานวนเต็ม)

จะไม่เกิดขึ้น
a) b) n=41
n=4 เพรำะ n ต้อง
3
เป็ นจำนวนเต็ม

2πr = nλ …...(1)
From λ = h/mv and (1)
mvr = nh/2π
which related to Bohr’s model
Ex. จงคานวณมวลของอนุภาคชนิดหนึ่งซึ่งเคลื่อนทีด่ ้ วนความเร็ว 10 m.s-1
(กาหนดให้ λ = 3.3 x 10-30 m, h = 6.6 x 10-34 J.s, 1 J = 1 kgm2s-2)

Ans.

λ = h/mv,
m = h/λv = 6.6 x 10-34 kgm2s-1
10 x (3.3 x 10-30) m2s-1

m = 2x10-5 kg
= 2x10-2 g
ปี ค.ศ. 1927 เวอร์ เนอร์ ไฮเซนเบร์ ก (Werner Heisenberg)

เสนอหลักการใหม่ คือ หลักความไม่ แน่ นอน (the Heisenberg


uncertainty principle) : เราไม่ สามารถร้ ู ตาแหน่ งทีอ
่ ย่ แู ละ
โมเมนตัมของอิเล็กตรอน ได้ อย่ างเทีย่ งตรงพร้ อมๆกันได้
(∆x)(∆p) ≥ h/4π

∆x, ∆p = the uncertainties in measuring the position and


momentum, respectively
a ΔX
b ΔX
Z ΔP Z ΔP
ผลงานของเดอ บรอยล์ และไฮเซนแบร์ กเป็ นพืน้ ฐานของการศึกษา
ทฤษฏีกลศาสตร์ ควอนตัม 2 ประการ

☐ เนื่องจากอิเล็ตรอนมีสมบัติเป็ นคลืน่ ด้ วย จึงอาจวิเคราะห์ หาสมบัติต่างๆ


ของอิเล็ตรอน โดยการสร้ างสมการคลืน่ แล้ วแก้สมการโดยใช้ คณิตศาสตร์ ชันนสูง

☐ จากความจริ งทีอ่ ิเล็กตรอนมีขนาดเล็กมากจนเกินกว่ าทีเ่ ราจะวัดสมบัติ


ต่ างๆได้ โดยตรง ทาให้ เราพิจารณาสมบัติต่างๆของอิเล็กตรอน ได้ แค่ ระดับ
โอกาส หรื อความน่ าจะเป็ นเท่ านันน
กษา โรคมะเ งµ มะเ ง ) ออสเต ย
ด น
grovb เ อก ส าง เ อง หลวงเ ยนนา
ยา
ม เ ด ป
ๆ(
ปี ค.ศ. 1927 แอร์ วนิ โชรดิlงเจอร์ (Erwin Schrödinger)
าท
.
.

0 อา เ ย

" ภาษา เยอร น1


โลหะทรง
\ pt → ใ โครงส างเส น
pt ( ทอง ขาว ) อย
มา

เ น

✪ “ อิเล็กตรอนว่ ามีการเคลือ่ นทีใ่ นบริ เวณหนึ่งๆ ซึ่งมีรูปร่ างต่ างๆ กันใน 3 มิติรอบ
เ น นาน

นิวเคลียส แต่ ละบริเวณทีอ่ ิเล็กตรอนเคลื่อนทีเ่ รียกว่ า ออร์ ทลั (orbital)


หรือ ออร์ บิทลั เชิงอะตอม (atomic orbital)”
Pt แพง ก า ทอง

✪ รูปร่ างออร์ บิทลั โอกาสพบอิเล็กตรอนหรือ ความหนาแน่ นอิเล็กตรอน

✪ ภาพของออร์ บิทลั มีลกั ษณะเป็ น 3 มิติ ในขณะทีภ่ าพวงโคจรอิเล็กตรอนตามทฤษฎี


ของโบร์ มีลกั ษณะเป็ นวงกลม 2 มิติ

Bohr model s orbital p orbital d orbital


นี้คิ
รั
ย่
ทำ
กั
นำย่
สีดำ
ว้
มื
วี
ลื
กิ
ป็
งิ
ยู
ห้
ว่
ร้
ค้
ร็
มั
ร็
คำ
ร้
รี
ปี ค.ศ. 1927 แอร์ วนิ โชรดิงเจอร์ (Erwin Schrödinger)

✪ “ อิเล็กตรอนว่ ามีการเคลือ่ นทีใ่ นบริ เวณหนึ่งๆ ซึ่งมีรูปร่ างต่ างๆ กันใน 3 มิติรอบ
นิวเคลียส แต่ ละบริเวณทีอ่ ิเล็กตรอนเคลื่อนทีเ่ รียกว่ า ออร์ ทลั (orbital)
หรือ ออร์ บิทลั เชิงอะตอม (atomic orbital)”

✪ รูปร่ างออร์ บิทลั โอกาสพบอิเล็กตรอนหรือ ความหนาแน่ นอิเล็กตรอน

✪ ภาพของออร์ บิทลั มีลกั ษณะเป็ น 3 มิติ ในขณะทีภ่ าพวงโคจรอิเล็กตรอนตามทฤษฎี


ของโบร์ มีลกั ษณะเป็ นวงกลม 2 มิติ

ใ"
e-

โบ ล
Bohr model s orbital
5

บอก สม ของ
p orbital d orbital
ธา
ลืมิ
ตุ
ติ
บั
ติ
ผล งาน ของ เดอ บรอย ไ
และ เซน แม ก เ น นฐาน ของ การ กษา
กลศาสต แอน ประการ
ทฤษ ม 2

☐ เ อง จาก [ สม เ นค น วย ง อาจ เคราะ หา สม าง



ของ โดย การ ส าง ลม การ ค น แ วแ สมการ โดยใ ค ตศาสต น ง

☐ จาก ค .
จง ขนาด เ ก มาก จน เ น ก า เรา จะ ด สม
าง ไ โดยตรง ใ เรา จารณา สม าง ของ
ๆ ๆ
ไ แ ระ บ โอกาส ห อ ค า จะ เ น เ า น
.

โลน เจอ
นม
"" ออก เดช
กม
รานา
- . .
.

ม .

± ในไทย
ล์
ศึ
พื้
มี
วิ
จึ
ด้
ย้
ต่
สู
ชั้
ที่ย้มี
วั
ที่
ต่
ทำ
พิ
ย้
ต่
สุ
นั้
น่
ที
มี
ข่
กุ
ท่
ป็
ป็
นื่
กิ
ด้
ป็
ล็
ค่
รื
ด้
ล้
ร้
ลื่
ก้
ว่
ช้
ห้
ริ
อ้
ณิ
ลื่
ดั
บั
บั
ร์
บั
บั
ติ
ติ
ด์
ฎี
ติ
รี
ติ
ห์
ร์
ร์
ปี 1927 : Erwin Schrödinger

Hamiltonian
_
H Ψ = EΨ

Ψ = ฟังก์ ชันคลื่นเป็ นฟังก์ ชันทางคณิตศาสตร์ ที่เกีย่ วข้ องกับความเป็ น


ซาน
คลื่นของอิเล็กตรอน
ยก า\

*
Ψ 2 = โอกาสในการพบอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียส

H = เรียกว่ าแฮมิลโตเนียนของระบบ เป็ นตัวบ่ งถึงลักษณะแวดล้ อมและ


สมบัตใิ นทางพลังงานจลน์ และพลังงานศักย์ ของอิเล็กตรอน
E = พลังงานของอิเล็ตรอนเป็ นตัวเลขที่ต้องคานวณออกมา
ว่
งํ๊
sduee ?
HY = EY

Ymyi
ระบบ
atomgmolecdgion

dx / dy Idz Y = EY

ก การ เค อน ของ e-
รพ
ngf วเค ย
.

E =P E. .
+ รอย
{n

|
-
แรง
ง ด ระห าง e- และ
p
" วเค ยส)

( แรงผ ก น ระห าง exi H ะ


1 He -2
-

การ

เอง 40
F-× ᵗ
_
ztle เอา 2

! 2


l
152

I
แรง ผ ก

1 S พ 7 .

nrpor
.
ศั
ฎู๋
ยุ
นิ
ที่
ดึ
นิ
กั
มี
ตั
หํ๋
กุ๋
ทำ
ฅื๋
อั
ข้
ลั
ลั
ย์
ลื่
ดู
ว่
ว่
ลี
ลี
ร์
The Schrödinger solution
✪ การแก้สมการคลื่น ให้ค่า Ψ เป็ นฟั งก์ชนั ในพิกดั ทรงกลม (spherical coordinates) คือ
มีตวั แปรเป็ น r, θ, Φ แทน x, y, z ค่าที่ได้จะแยกฟั งก์ชนั คลื่นออกเป็ น 2 ส่วนคือ
Ψ (r,θ,Φ) = R(r) . Y(θ,Φ)

โดย R(r) – ส่วนเชิงรัศมี


Y(θ,Φ) – ส่วนเชิงมุม

✪ แทนทัง้ สองส่วนในสมการ Schrödinger จะมี เลขจานวนเต็ม n, l, ml บอกให้


ทราบถึงระดับพลังงานและตาแหน่งทีอ่ ยูข่ องอิเล็กตรอน
✪ เลขจานวนทัง้ 3 ค่า เรียกว่า เลขควอนตัม ซึง่ มีความสัมพันธ์กนั และระบุถงึ การ
โคจรตลอดจนพลังงานของ e ว่ามีได้ในลักษณะจาเพาะหรือค่าจาเพาะบางค่าเท่านัน้
ลักษณะเช่นนี้เรียกว่า ควอนไทเซชัน Ii
"
✪ ค่า n และ l = ส่วนเชิงรัศมี

l และ ml = ส่วนเชิงมุม
_

✪ Ψ2 n, l, ml (r, θ, Φ) = R2 n, l(r) . Y2 l, ml(θ, Φ)


พจน์ที่ 1 = 2 . 3
☐ พจน์ที่หนึ่ง คือ โอกำสพบอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสในทิศทำงที่ทำมุม θ และ Φ กับ
นิวเคลียสที่ระยะห่ำง r จำกนิวเคลียส หรื อ Ψ2 ก็คือโอกำสพบอิเล็กตรอนทีจ่ ุดจุดหนึ่ง
รอบนิวเคลียสใน 3 มิติ
☐ พจน์ที่สอง คือ โอกำสพบอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสที่ระยะห่ ำง r จำกนิวเคลียส
☐ พจน์ที่สำม คือ โอกำสพบอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสในทิศทำงที่ทำมุม θ และ Φ กับ
นิวเคลียส
เลขควอนตัม
1. เลขควอนตัมหลัก The Principal quantum number (n)

เลขควอนตัม n เป็ นเลขจานวนเต็มมีค่าตันงแต่ 1, 2, 3,… ง ท มาก ล ให ออ ขนาด

-
บอกถึ งระดับพลังงานหลักของอิเล็กตรอนในอะตอม
เมื่อค่ า n มีค่ามาก ออร์ บิทลั จะมีขนาดใหญ่ และขยายตัวออกจากนิวเคลียสมากขึน้
ตาแหน่ งของอิเล็ตรอนอยู่ห่างจากนิวเคลียสและจะมีพลังงานสู งขึน้

1S 2S
52
3S
5=}
5= |
บิ
ยิ่
มี
ทั
ญ่
2. เลขควอนตัมโมเมนตัมเชิงมุม The angular momentum
quantum number (l) เ ม

l เป็ นเลขควอนตัมที่บอกถึงระดับพลังงานย่ อยของระดับพลังงานหลัก


บอกรูปร่ างของออร์ บิทัลของอิเล็กตรอน
ค่ า l จะขึน้ กับค่ า n คือมีค่า 0, 1, 2,…, (n-1) และมีได้ จานวน n ค่ า
l 0 1 2 3 4 5
ชนิดของออร์ บิทลั s p d f g h
น ไหน
ระดับพลังงาน n = 2 k 0 1 1
ะ aniiiev

บอก
ทะ 2 D= 2

=> n = 2 : ประกอบด้ วยระดับพลังงานย่ อยคือ 2s และ 2p


ชั้
ที่
ริ่
ด้
สรุป ความสั มพันธ์ ของ n, l ชนิด และรูปร่ างของออร์ บิทลั ทีม่ ีค่า l ต่ างๆ ได้
ดังนี้
n l lสู งสุ ด ชนิดของ รู ปร่ าง
ออร์ บิทลั
1 0 (1ค่า) 0 s ทรงกลม

2 0, 1 (2ค่า) 1 p พู 2 พู
บ เบล

3 0, 1, 2 (3ค่า) 2 d พู 4 พู
¥
หรอ
_
?

4 0, 1, 2, 3 (4ค่า) 3 f พู 6 พู
ดั
อ สอบ
แนว
Ex. จงเขียนสัญลักษณ์ของออร์บิทลั ที่มีเลขควอนตัมต่อปนนี้
ก) n = 2,  = 0 2s

ข) n = 3,  = 2 d 3

ค) n = 4,  = 1 p 4

ง) n = 5,  = 3 f 5
ข้
3. เลขควอนตัมแม่ เหล็ก The magnetic quantum number (ml)

บอกการจัดเรียงตัวและทิศทางของออร์ บิทัลในที่ว่าง (space)


ค่ า ml จะขึน้ กับค่ า l โดยจะมีจานวนเท่ ากับ 2l+1
มีค่า +l ,…0…, -l ระดับพลังงานเท่ ากัน(degeneracy)

✪ l = 0, ml = 2(0)+1 = 1 (0) ออร์ บิทัล s


l = 1, ml = 2(1)+1 = 3 (+1, 0, -1) ออร์ บิทัล p
l = 2, ml = 2(2)+1 = 5 (+2, +1, 0, -1, -2) ออร์บิทลั d
างบน าน

Py ml = -1
E Px Py Pz
สนำมแม่เหล็ก -

หรื อ
Pz ml = 0
s
ml = +1 0 -1
อ าง ด Px ml = +1
ทน ว์คา แ ง ขนาน สนาม แ เห ก มาก มา
าง าง
ออ

ออ ล แกนy าน
ทั่
บิ
ต้
ข้
บ้
ล่
ข้
สุ
ล่
ต้
ยู่
ม่
ทั
ต่
ร์
ล็
จะ
เ ยน ก ด เ ยง e- .
ใน อ อ จ _

(1)

ล 21+1 2 เอา +1 เวอ บน


Sjd ;จ น ออ
=
= =
= 0 .

m 0
d

pjl 1 จ น ออ จะ 24 แวะ 3 orbitals


j
=
.

b จน ออ ล


↓ o
=

Pj - - -

04
Md
+1

djd ะ 2
j
จ น ออ .
ละ 2 (2) +1=5 orbitals

di - - - -
-

+2 + | 0 -
| -2
Md

อ าง าง
f) d =3
me ะ ว เลข

fj _ _ _ _ - - -

+3 42 41 °
7 -2 J
md

ระ
ๆ รอ
งเคราะ ธ . .


.
.

_
จั
ร์
ร์
บุ
บิ
ร์
ที่
ตั
หุ
สั่
ล่
ข้
รี
ขี
บิ
ยู่
บิ
ท้
บิ
ร่
ท์
ทั
บิ
ท้
ทั
ร์
4. เลขควอนตัมสปิ น Electron spin quantum number (ms)

✪ อิเล็กตรอนสามารถหมุนรอบตัวเองได้ 2 แบบคือตามเข็มและทวนเข็ม
นาฬิ กา ทาให้ เกิดค่ า ms ได้ 2 ค่ า

✪ ms = + ½ แบบหมนุ ทวนเข็มนาฬิ กา เรี ยกว่ าหมุนขึนน (spin up)


=-½ แบบหมุนตามเข็มนาฬิ กา เรี ยกว่ าหมุนลง (spin down)
ms ไม่ ได้ ปรากฏในการแก้ สมการโชรดิงเจอร์

เมื่อพิจารณาสมบัติต่างๆทีเ่ ป็ นไปได้ ของ e ในการระบุถงึ e ตัวใด


ตัวหนึ่ง เราจะต้ องใช้ เลขควอนตัมทั้ง 4 (n, l, ml, ms)
d-- -
- - - -

1 ออ ล บรร ะ ว → 2× ญื๋
Ex.จงหำลำดับที่ในกำรบรรจุของอิเล็กตรอนซึ่งมีเลขควอนตัม m =
spindown1
+1 และ ms = – 2 ในออร์บิทลั d

Ex.จงเขียนเลขควอนตัม n, , m และ ms ของอิเล็กตรอนที่


ถูกบรรจุเน็ นลำดับที่ 5 ในออร์บิทลั 4p
บิ
ตั
ยั
ท์
ญํ๊
จุ
Ex เฉลย

iii.:
.

+2 + 10 + -2
ml *

me

i. บ 7
*
.
. .
.

.
.. ..
.

.
. .. ..

l ะ 1 ( 1 เม อา


=

TET tee

ne
3 = จ น ออ .
ล spihup อน
% 4
4 Pj _

+1 y
ty
o

4,1 1g


1mg
i.

= = = =
.

.
.
ลำ
ที่
บิ
ที่
ญึ้
ญั๋
ก่
ริ่
ทั
ดั
The boundary surface diagrams of
+
the 1s orbital.

1 วาด ป าง องไ 1

ไ เ น เค องหมาย น .
ใ ทด
Pgd

-
-
+ -
+ +

The boundary surface diagrams of the three 2p orbitals.


ต้
ร่
รู
น้
ด้
ม่
ห้
รื่
ออ
ล วาง ระห าง แกน

- - +
+ + -
ระห าง + -
- +
แกน
- +

บน แกน

- +
+ -
+ -
-
+

The boundary surface diagrams of the five 3d orbitals.


บิ
ท้
ว่
ว่
ไ ออก สอบ

The boundary surface diagrams of


the seven 4f orbitals.
eaee
ม่
ชะ เยอะ

พบ
โอกาสใน การ หนาแ น ชาย
อะ

/ Gocentcrt
เพราะ p

\ นi
Cptnl cent
ตก

เอส โพ ยล

ออร์บิทลั 1S

0
( ตะเ บ ชาย งก V1

นอง
บ เวณ พบ
"
นอน ..

เพราะ ด ด แกนy

ออร์บิทลั 2S
ยั
กำ
ย้
มี
ต่ำสุ
จุ
ยั่
ที่
ริ
อำ
ข็
ชั
น่
fnrviw
0
1 บล 1 ฟ

00

15
15

28 แ H

รู ปร่ ำงและโหนดของออร์ บิทลั 1S, 2S และ 3s


ริ
ออร์บิทลั 2p

ออร์บิทลั 3p
กราฟ
ไ ออก
ม่
ทรง กลม
คม เบส

w
2 โหน ค เห อน

มี
กั
มื
Electron configuration (โครงแบบอิเล็กตรอน)
Ex. Write the four quantum numbers for an electron in 3p,
3d orbital.

Electron configuration = how the electron are distributed


among the various atomic orbitals.

to understand electronic behavior


3 % แ ละ ออ ล 2 → 6
P j
=

ญ +1 0 ำ

รก
ก\ อง
spinup
ว ท
3,1 1
me +1
ทาง {
=

1g
= ะ ะ +

, ,

2
j
ทะ
3,1 ะ 1
, me
= 0
, ๆ
ะ +
{

3,1 1g
ประทะ
3 ท
me -1
!
ะ +
ms
= = =

j ,

zy แนว ด 0,1W )
} 1 =

3mi ms
= -

5in =
3,1 ะ
1
, me
=
0g mi
-

oj
ท =

3,1=1, me
= -1
, Mg ะ -1
=

1 e- 4
า_ควร
ด เลข ม
↳ แ ละ set ไ เห อน


ด เลข ค วอน ตาม าะ ว เ ยว น

yrny ไ
เห อน =
คน ละ ว
ญั๋ญั๋
บิ
ชุ
มี
บู่
ลิ
คิ
ที่
ตั
ยั
ร่
ล์
ฐู
ย้
มี
ตั
ซํ
มีชุ
ถ้
กั
ตั
ดี
ต่
ม่
ม่
ท์
ต่
มื
มื
ท์
The Pauli Exclusion Principal (หลักของเพาลี)

“ไม่ มี e คู่หนึ่งคู่ใดในอะตอมเดียวกันทีม่ ีเลขควอนตัมทั้ง 4 เหมือนกัน


ทุกประการ”

Only two electrons may occupy the same atomic orbital,


and these electrons must have opposite spins.
Hund’s rule (กฏของฮุนด์ )

“การบรรจุ e ใน orbital ทีม่ ีระดับพลังงานเท่ ากัน จะบรรจุในลักษณะที่


ทาให้ มี e เดี่ยวมากทีส่ ุ ดเท่ าทีจ่ ะมากได้ ”
บอก ง ค .
.
เส ยร ( ?)
ถึ
ถี
Electron
configvration
Energy of Orbital

4s 4p 4d 4f
3s 3p 3d
Energy

2s 2p

1s
Orbital energy levels in the hydrogen atom: Each
short horizontal line represents one orbital. Orbitals
with the same principal quantum number (n) all have
the same energy.
Energy of Orbital
ไม อน
P
4s มา 3

4d
5s
4p
4s 3d
Energy

3s 3p

2p
2s

1s

Orbital energy levels in a many-electron atom : Note


that the Energy level depends on both n and l values.
ก่
ทำ
เนต
= แทรก ว
วเค ยส ไ
ง แรง ง ดมา ง เ า ใก บด งไ
ระห าง แฉก
อง าง
3d


วม
45

ราย คน
อิ
มียั
ยิ่
ตั
ดึ
ดึ
นิ
ว่
ช่
ทั่
ฉึ
ดั
ข้
ดิ
มั
ม่
ด้
ทั
ล้
ดู
บั
ว่
ลี
Energy of Orbital

1s The order in which atomic


subshells are filled in a
2s 2p many-electron atom : Start
3s 3p 3d with 1s orbital and move
4f downward, following the
4s 4p 4d
direction of the arrows.
5s 5p 5d 5f Thus the order goes as
6s 6p 6d follows:
1s<2s<2p<3s<3p<4s<3d….
7s 7p
ด เ ยง e- แบบ ออ
ก .

1 1s He (2)
2 2s 2p Ne (10)
3 3s 3p Ar (18)
4 4s 3d 4p Kr (36)
5 5s 4d 5p Xe (54)
6 6s 4f 5d 6p Rn (86)
7 7s 5f 6d 7p
จั
รี
15
ย]
2J 2
p IN e
lo

3s 3
P IA r]
☒# ☒ 18

IKr]
ว 6

5s 4 d 5
p [ Xe]
µ

65 tf 5 d [ Rn]
ap 81

f d 7
7s 5 6 p

" e-
สอบ เ ยน แบบ อ ห อ เ ม
i
[ Ar] qg 3 d
"

qpi
ตอน

|8 20 30 32

7
[ Xe ]
2
=
แ qf
แy 54 56 63

" "
=
[ Xe ] 6 af 5 d 6

54 56 70 80 781

f"
"

[R ] d" '


= 7s 6
5
xp
88 102 111 113

แรก
1 บ บอก
1. ด
ห่หํ่กำ
ปุ๋
ย่
ก็
ตุ
ห้
รั
จั
ทํ๋
กุ่
ร้
ตั้
ยุ
หั๋
ติ
ขี
ด้
รื
The Building-up (Aufbau) Principle

ground state electron configuration

1. ใช้ หลักของเพาลีในการบรรจุ e ใน orbital (_, Ο, □) โดยแทน e


ด้ วย ↑
2. บรรจุ e ของอะตอมนั้นเข้ าไปใน orbital ต่ างๆ จนครบจานวน e ทีม่ ีอยู่
โดยบรรจุ e ใน orbital ทีม่ ีพลังงานต่าสุ ดทีย่ งั ว่ างอยู่เสี ยก่อน
3. ถ้ ามี orbital ที่มีพลังงานเท่ าๆกันมากกว่ าหนึ่งขึน้ ไป (p, d, f) การบรรจุ
e จะอาศัยกฏของฮุนด์
4. ในระดับพลังงานทีเ่ ป็ นดีเจนเนอเรต การบรรจุเต็มและการบรรจุครึ่ง จะมี
เสถียรภาพมากกว่ าการจัดเรียง e แบบอื่นๆ 2p3 > 2p4
3d10 > 3d9 บรรจุเต็ม > บรรจุครึ่ง
Diamagnetism and paramagnetism

Paramagnetic – ธาตุทมี่ อี เิ ล็กตรอนเดีย่ วในออร์ บิทัล ธาตุเหล่านีจ้ ะถูกดึงดูดเมื่อ


นาไปวางในสนามแม่ เหล็กซึ่งมีสมบัติแม่ เหล็ก

Diamagnetic – ธาตุทไี่ ม่ มอี เิ ล็กตรอนเดีย่ ว ธาตุเหล่านีจ้ ะถูกสารแม่ เหล็กผลักเมื่อ


นาไปวางในสนามแม่ เหล็ก ซึ่งไม่ มีสมบัติแม่ เหล็ก

Li (Z=3) paramagnetic
1s 2s

He (Z=2) diamagnetic
1s
Exercise
เขียนการจัดเรียง e ของH → Ca

the outer electrons of an atom, which are the ones


involved in chemical bonding, are often called
“valence electrons”.

Similarity in valence electrons is what makes the


elements in the same group resemble out another in
chemical behavior.
Ex. จงเขียนกำรจัดเรี ยงอิเล็กตรอนของ
2+ 3+ 2-
23V 33As 8O

Ex.จงเขียนกำรจัดเรี ยงอิเล็กตรอนของ
24Cr 29Cu
*** การหาเวเลนซ์ อเิ ล็กตรอน (Valence electron)

ให้ดูวำ่ อิเล็กตรอนตัวสุ ดท้ ายของกำรจัดเรี ยงอิเล็กตรอนว่ำอยูใ่ นออร์ บิทลั ใดต่อไปนี้

1. ออร์ บิทลั s ; valence electrons = ns


2. ออร์ บิทลั p; valence electrons = ns + np
3. ออร์ บิทลั d ; valence electrons = ns +(n-1)d
4. ออร์ บิทัล f ; valence electrons = ns + (n-2)f
Ex. อิเล็กตรอนตัวสุ ดท้ำยของธำตุหนึ่งมีเลขควอนตัม
n, , m และ ms เน็ น 3, 1, 0 และ - 1
2

จงตอบคำถำมต่ อไปนี้
ก) จงหำเลขเชิงอะตอมของธำตุนี้
ข) จงบอกเลขควอนตัมของอิเล็กตรอนตัวที่ 9 ของธำตุนี้
ค) อิเล็กตรอนตัวที่ 12 ของธำตุนีอ้ ยู่ในออร์ บิทลั ทีม่ ีรูปร่ ำงอย่ ำงไร
ง) ธำตุนีม้ ีสมบัติแม่ เหล็กหรื อไม่
จ) จงเขียนกำรจัดเรียงอิเล็กตรอนของไอออน 2+ ของธำตุนี้
ฉ) จงหำจำนวนออร์ บิทลั และจำนวนคู่อเิ ล็กตรอนของธำตุนี้
Ex. อิเล็กตรอนตัวสุ ดท้ ายของธาตุ A และ B มีชุดของเลขควอนตัม
n, , m และ ms เป็ น 4, 1, –1, + 12 และ 5, 3, -1, - 12 ตามลาดับ

ก) จงหำว่ำธำตุ A หรื อ B ที่มีสมบัติแม่เหล็ก (เป็ นสำรพำรำแมกเนติก)


แรงกว่ำ
ข) เขียนกำรจัดเรี ยงเวเลนซ์อิเล็กตรอนของ A และ B
ค) เขียนกำรจัดเรี ยงอิเล็กตรอนที่สมั พันธ์กบั ตำรำงพีริออดิก (กำร
จัดเรี ยงอิเล็กตรอนแบบย่อ) ของ A และ B
ง) หำเลขเชิงอะตอมของ A และ B
The Building-up (Aufbau) Principle

Z = 19 K 1s22s22p63s23p64s1 [Ar]4s1
Z = 22 Ti 1s22s22p63s23p64s23d2 [Ar]4s23d2

Sc (Z=21) Cu (Z=29) are transition metals.

Transition metals either have incompletely filled d subshell


or readily give rise to cations that have incompletely filled
d subshells.
The Building-up (Aufbau) Principle
Cr (Z=24)
[Ar]4s13d5 not [Ar]4s23d4
Cu (Z=29)
[Ar]4s13d10 not [Ar]4s23d9

ความแตกต่ างของพลังงานระหว่ าง d electron ของระดับหนึ่ง กับ


S electron ของระดับสู งขึน้ ไปมีอยู่น้อย การเคลื่อนย้ าย e จากระดับย่ อย
หนึ่งไปยังอีกระดับย่ อยหนึ่ง จึงเกิดขึน้ ได้ ไม่ ยากโดยเฉพาะในกรณีที่ทาให้ เกิด
เสถียรภาพมากขึน้
ในการเสี ย electron และอะตอมเปลีย่ นไปเป็ นไอออนบวก e จะ
หลุดจากระดับย่ อย ทีม่ ีพลังงานสู งสุ ดของระดับซึ่งมีค่า n เป็ นค่ า
สู งสุ ดของอะตอมนั้น

Ti 1s2, 2s2, 2p6, 3s2, 3p6, 3d8, 4s2

Ti2+ 1s2, 2s2, 2p6, 3s2, 3p6, 3d8, 4s0


ความสั มพันธ์ ระหว่ างการจัดเรียงอิเล็กตรอนกับตารางพีริออดิก
กำรเรี ยงธำตุในตำรำงพีรีออดิกแบ่งเป็ น
1. กำรเรี ยงตำมแนวนอนเรี ยกว่ำ คำบ(period)
*** หมำยเลขคำบ = เลขควอนตัมหลักสู งสุ ด(nmax)
¤ คำบที่ 6 และ 7 แยกออกเป็ นคำบย่อย
1. ธำตุที่ 58-71 ในคำบ 6 เรี ยกว่ำ อนุกรมแลนทำไนด์ (Lanthanide series)
2.ธำตุที่ 90-103 ในคำบ 7 เรี ยกว่ำ อนุ กรมแอกทิไนด์(Actinide series)
2. การเรียงตามแนวตัง้ เรียกว่าหมู่ (group)
*** หมายเลขหมู่ = จานวนเวเลนซ์อเิ ล็กตรอน
- อักษร A ธาตุทม่ี เี วเลนซ์อเิ ล็กตรอนในออร์บทิ ลั ns หรือ ns+np
- อักษร B ธาตุทม่ี เี วเลนซ์อเิ ล็กตรอนในออร์บทิ ลั ns+(n-1)d
1. ธาตุเรพรีเซนเททีฟคือ ธาตุทม่ี อี กั ษร A ประกอบด้วยธาตุหมู่ IA ถึง VIIIA
หมู่ IA = valence electron = 1e- = โลหะแอลคาไล(alkali metal)
หมู่ IIA = valence electron = 2e- = โลหะแอลคาไล เอิรท์ (alkali earth metal)
*หมู่ IA และ IIA = block S = e- ตัวสุดท้ายในออร์บิทลั S
หมู่ IIIA = valence electron = 3e-
หมู่ IVA = valence electron = 4e-
หมู่ VA = valence electron = 5e-
หมู่ VIA = valence electron = 6e- = ชาลโคเจน (chalcogen)
หมู่ VIIA = valence electron = 7e- = แฮโลเจน (halogen)
หมู่ VIIIA = valence electron = 8e- = แก๊สเฉื่อย(inert gas)
*หมู่ IIIA ถึง VIIIA = block p = e- ตัวสุดท้ายในออร์บิทลั p
2.ธาตุแทรนซิชนั คือธาตุทม่ี อี กั ษรB ประกอบด้วยธาตุหมู่ IIIB ถึง IIB ดังนี้
หมู่ IIIB VIIB = valence electron = 3e- (ns2(n-1)d1)
= 4e- (ns2(n-1)d2)
= 5e- (ns2(n-1)d3)
= 6e- (ns1(n-1)d5)
= 7e- (ns2(n-1)d5)
หมู่ VIIIB = valence electron = 8e- (ns2(n-1)d6)
= 9e- (ns2(n-1)d7)
= 10e- (ns2(n-1)d8)
หมู่ IB IIB = valence electron = 11e- (ns1(n-1)d10)
= 12e- (ns2(n-1)d10)
*หมู่ IIIB ถึง IIB = block d = e- ตัวสุดท้ายในออร์บิทลั d
3.ธาตุอนิ เนอร์แทรนซิชนั คือธาตุทม่ี ี e- ในออร์บทิ ลั f และ มี valence e-
ใน ns+(n-2)f
n = 6 คาบ 6 เรียกว่า อนุกรมแลนทาไนด์ (Lanthanide series)
n = 7 คาบ 7 เรียกว่า อนุกรมแอกทิไนด์ (Actinide series)

* ธาตุอินเนอร์แทรนซิชนั = block f = e- ตัวสุดท้ายในออร์บิทลั f


s-block
p-block

d-block

f-block
Periodic Relationship among the Elements

Classification of the element


1) The representative elements
s block
- alkaline and alkaline earth metals
p block

2) Transition elements
d-block

3) Inner transition elements


f block (lanthanides (4f) and actinides (5f)
Ex. ธาตุ M, Q, R และ T มีเลขเชิงอะตอม 51, 63, 79 และ 113
ตามลาดับ
จงตอบคาถามเกีย่ วกับธาตุทงั ้ สีโ่ ดยไม่ตอ้ งดูตารางพีรอิ อดิก
ก) อยูห่ มูใ่ ดคาบใด
ข) เขียนการจัดเรียงเวเลนซ์อเิ ล็กตรอน
ค) เขียนการจัดเรียงอิเล็กตรอนทีส่ มั พันธ์กบั ตารางพีรอิ อดิก
(การจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบย่อ)
ง) เขียนเลขควอนตัมทัง้ สีข่ องอิเล็กตรอนตัวสุดท้าย
Ex. กาหนดธาตุต่อไปนี้ 31Ga, 39Y, 47Ag, 54Xe, 56Ba, 60Nd, 83Bi
จงเติมคาตอบในช่องว่างโดยไม่ตอ้ งดูตารางพีรอิ อดิก
ก) ธาตุแทรนซิชนั คือ ......................................................................................................
ข) ธาตุอนิ เนอร์แทรนซิชนั คือ ........................................................................................
ค) ธาตุบล็อก s คือ ........................................................................................................
ง) ธาตุบล็อก p คือ ........................................................................................................
จ) ธาตุในคาบที่ 4 คือ ....................................................................................................
ฉ) ธาตุในหมู่ IB คือ .......................................................................................................
ช) ธาตุลาดับที่ 13 ในคาบคือ ........................................................................................
ฌ) ธาตุทส่ี มบัตแิ ม่เหล็กเป็ นสารพาราแมกเนติกมากทีส่ ุดคือ .........................................
Exercise
209
1. ธาตุ 84M3+ มีจานวน นิวตรอน และ e =?
2. เลขควอนตัมทีบ่ อกให้ ทราบรูปร่ างของกลุ่มหมอก e เรียกว่ าอะไร
3. จานวน e ทีม่ ีได้ มากทีส่ ุ ดในระดับพลังงาน n = 4 คือ
4. กลุ่มธาตุทมี่ ี e ตัวสุ ดท้ ายเข้ าไปใน d orbital มีชื่อว่ าอะไร ถ้ าเข้ าไปใน
5f orbital เรียกว่ าอะไร
5. ถ้ าธาตุหนึ่งมี e ตัวสุ ดท้ ายเป็ นตัวที่ 5 ใน p orbital จะเป็ นธาตุในหมู่ใด
6. ธาตุที่ 111 จะเป็ นธาตุซึ่งอยู่ในคาบใด หมู่ใด และมีการจัดเวเลนซ์ e เป็ น
อย่ างไร
7. ก. เขียนการจัด e แบบเต็มของ 31Ga
ข. จงเขียนการจัด e แบบย่ อของ 52Te
ค. จงเขียนเลขควอนตัมทั้ง 4 ของ e ทีม่ ีระดับพลังงานสู งทีส่ ุ ดของ 21Sc+
ง. สารใดในข้ อ ก-ค จะไม่ ถูกดูดในสนามแม่ เหล็ก
8. เขียนเลขควอนตัมทั้ง 4 ค่ า (n, l, ml, ms) ของ e ทั้งหมดซึ่งอยู่ใน
orbital ทีม่ ีระดับพลังงานสู งสุ ดในอะตอมทีม่ ี เลขเชิงอะตอมเท่ ากับ 25
(วาดรูปและเรียกชื่ อ orbital ทีม่ ีระดับพลังงานสู งสุ ดนีม้ า 2 orbital)
9. เขียนโครงแบบ e ของไอออนที่มีสัญลักษณ์ นิวเคลียร์ 32A2+ ธาตุ A
อยู่ในคาบใดและหมู่ใด
10. e ตัวสุ ดท้ ายในอะตอมของธาตุ X เป็ น 4p4 ธาตุ X มีเลขอะตอม ?
โครงแบบ valence e ของ X ? ถ้ าธาตุ Y มีจานวนโปรตอนมากกว่ า
X อยู่ 7 อนุภาค ธาตุ Y จัดเป็ น โลหะ กึง่ โลหะหรื ออโลหะ และธาตุ Y มี
สมบัติ paramagnetic หรื อไม่ เพราะอะไร
11. สมมติถ้าค่ า ms มีได้ 3 ค่ าคือ +1/2, 0, -1/2 แต่ ค่า n, l, ml มีค่าปกติ
ก. จานวน e ใน p orbital
ข. จานวนธาตุในคาบที่ 1 มีได้ กธี่ าตุ
ค. จานวนธาตุทรานซิชันในคาบที่ 5 มีได้ กธี่ าตุ
12. จงเขียนการจัด e แบบเต็มและแบบย่ อของ 47A และ 47A+
13. ก. จงเขียนการจัด e วงนอก ของาตุ X ซึ่งอยู่ในหมู่ VIB คาบที่ 5
ข. ธาตุ X เป็ นธาตุลาดับทีเ่ ท่ าไรในตารางธาตุ
ค. เขียนชุ ดของเลขควอนตัมของ e ทีอ่ ยู่ในวงโคจรนอกสุ ดของธาตุ X
14. Node คืออะไร จงวาดกราฟแสดงการเกิด node ใน 3s orbital
15. อิเล็กตรอนทีม่ ีระดับพลังงานสู งสุ ดใน 5d orbital จะมีเลขควอนตัมทั้ง
4 อย่ างไร
16. ชุ ดของเลขควอนตัมของ e ตัวสุ ดท้ ายเป็ น 5,1,0,1/2 ตามลาดับ
ก. เวเลนซ์ e ของ A มีโครงแบบอย่ างไร
ข. A อยู่คาบใด หมู่ใด และเป็ นลาดับทีเ่ ท่ าไรในคาบ
ค. A มีเลขอะตอมเท่ าใด และมี e เดี่ยวกีต่ ัว
17. จงเรียงลาดับความเสถียรจากมากไปน้ อยของการจัด e วงนอกดังนี้
a) 3d54s1 b) 3d104s2 c) 3d64s2
การจัด e แบบใดทีท่ าให้ อะตอมไม่ มีสมบัตแิ ม่ เหล็ก
Atomic Radius
เป็ นระยะครึ่งหนึ่งของระยะห่ างระหว่ างจุดศูนย์ กลางของอะตอม 2 อะตอมทีอ่ ยู่ตดิ กันใน
สภาพทีม่ คี วามหนาแน่ นมากทีส่ ุ ด

metal covalent molecules


radius Increasing atomic

Increasing atomic radius

Ex. Arrange the following atoms in order of decreasing


radius : C, Li, Be.
Ionic Radius
ขนาดของไอออนหรื อรัศมีไอออน พิจารณาได้ 2 กรณี คือ
1. รัศมีไอออนบวกหรื อไอออนลบของอะตอมเดียวกัน
• ไอออนบวก - เวเลนซ์ อเิ ล็กตรอนจานวนหนึ่งหลุดจากอะตอม
ระดับพลังงานตา่ กว่ าเดิม รัศมีไอออนบวกสั้ นกว่ ารัศมีอะตอม
• ไอออนลบ - เวเลนซ์ อเิ ล็กตรอนเพิม่ ขึน้ ระดับพลังงานสู งขึน้
รัศมีไอออนลบจึงยาวกว่ าอะตอมเดิม

atom Cation (Na+)

atom Anion (F-)


2. ไอออนบวกและไอออนลบของอะตอมต่ างชนิดกันที่มีจานวนอิเล็กตรอนเท่ ากันและมี
การจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบเดียวกัน เรียกว่ า ไอโซอิเล็กตรอน(isoelectron)

• N3-, O2-, F-, Ne, Na+, Mg2+, Al3+ = 10 อิเล็กตรอน


1s2 2s2 2p6
• P3-, S2-, Cl-, Ar, K+, Ca2+, Sc3+ = 18 อิเล็กตรอน
1s2 2s2 2p6 3s2 3p6

รัศมี : ไอออนลบ > อะตอม> ไอออนบวก


รัศมี : ไอออนประจุลบมาก > ไอออนประจุลบน้ อย
รัศมี : ไอออนประจุบวกน้ อย > ไอออนประจุบวกมาก
Ex. For each of the following pairs, indicate which one
of the two species is larger :
a. Mg2+ or Ca2+
b. Fe2+ or Fe3+
c. F- or N3-
d. P3- or N3-
Ionization Energy

คือ พลังงานน้ อยทีส่ ุ ดที่ต้องใช้ ในการทาให้ อเิ ล็กตรอนหลุดจากแรงดึงดูดของนิวเคลียสของ


อะตอมในสถานะแก๊สทีส่ ถานะพืน้
(IE1) energy + X(g) → X+(g) + e-
(IE2) energy + X+(g) → X2+(g) + e-
(IEn) energy + Xn-1(g) → Xn+(g) + e-

IE1, IE2 และ IEn คือพลังงานไอออไนเซซันทีท่ าให้ อเิ ล็กตรอนตัวที่ 1, ตัวที่ 2 และ
ตัวที่ n หลุดออกจากอะตอมX(g), ไอออนX+(g) และไอออนXn-1(g)

IE1 < IE2 < IE3 <…<IEn

ค่ า IE ในคาบเดียวกันมีการเพิม่ ขึน้ จากซ้ ายไปขวา และ ในหมู่เดียวกันมีการลดลงจาก


บนลงล่าง
N = [He] 2s2 2p3 Be = [He] 2s2
O = [He] 2s2 2p4 B = [He] 2s2 2p1
P = [Ne] 3s2 3p3 Mg = [Ne] 3s2
S = [Ne] 3s2 3p4 Al = [Ne] 3s2 3p1
Electron Affinity (E.A)

พลังงำนที่อะตอมในสถำนะแก๊สที่สถำนะพื้นคำยออกมำเมื่อรับอิเล็กตรอนและ
เกิดเป็ นไอออนลบในสถำนะแก๊ส

X(g) + e- X-(g)

“The sign of E.A is opposite to the one we use for I.E.”


Ex. อะตอม F ในสถำนะแก๊สรับอิเล็กตรอน 1อิเล็กตรอนกลำยเป็ นไอออน F-
และมีกำรคำยพลังงำนออกมำ 328 kJ/mol หรื อเรี ยกว่ำสัมพรรคอิเล็กตรอนมีค่ำ
328 kJ/mol

F(g) + e- F-(g) , ∆H = -328 kJ/mol


E.A = -(∆H) = 328 kJ/mol
1s22s22p5
Table E.A (kJ/mol) of some representative Elements and
the Noble gases
H 1s22s22p2 1s22s22p3 He
73 <0
Li Be B C N O F Ne
60 ≤0 27 122 0 141 328 <0
Na Mg Al Si P S Cl Ar
53 ≤0 44 134 72 200 349 <0
K Ca Ga Ge As Se Br Kr
48 2.4 29 118 77 195 325 <0
Rb Sr In Sn Sb Te I Xe
47 4.7 29 121 101 190 295 <0
Cs Ba Tl Pb Bi Po At Rn
45 14 30 110 110 - - <0
Electronegativity

คือ ความสามารถของอะตอมทีจ่ ะดึงดูดคู่อเิ ล็กตรอนจากพันธะโควาเลนต์ หรื อ


คู่อเิ ล็กตรอนโดดเดีย่ วของอะตอมเข้ าหาตัว
อะตอมขนำดเล็กจะมีสภำพไฟฟ้ำลบมำกกว่ำอะตอมขนำดใหญ่เพรำะตำแหน่งคู่
อิเล็กตรอนในพันธะหรื อคู่อิเล็กตรอนโดดเดี่ยวจะอยูใ่ กล้นิวเคลียสของอะตอมขนำดเล็ก
มำกกว่ำอะตอมขนำดใหญ่
ธำตุฟลูออรี น (F) มีค่ำสภำพไฟฟ้ำลบสู งสุ ดเท่ำกับ 4.0
สรุป ภาพรวมทีแ่ สดงแนวโน้ มของสมบัติของธาตุตามตารางพีริออดิกทั้ง
4 ประเภท คือ รัศมีอะตอม(R) พลังงานไอออไนเซชัน(IE) สั มพรรค
ภาพอิเล็กตรอน(EA) และสภาพไฟฟ้ าลบ(EN)

IE, EA, EN

R
IE
EA R
EN
Ex. กาหนดธาตุสมมติ 16A, 17B, 18C, 19D จงตอบคาถาม
ก) ธาตุใดมีพลังงานไอออไนเซชันน้ อยทีส่ ุ ด เพราะเหตุใด
ข) ธาตุใดมีสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนมากทีส่ ุ ด เพราะเหตุใด
ค) ระหว่ าง 17B– กับ 19D+ ไอออนใดมีขนาดใหญ่ กว่ า
Ex. กาหนดสั ญลักษณ์ สมมติของธาตุ 5 ธาตุดงั นี้ 13A, 25B, 31C, 37D, 53E
จงตอบคาถาม
ก) ธาตุใดอยู่ในหมู่เดียวกับธาตุ C
ข) ธาตุใดอยู่ในคาบเดียวกับธาตุ C
ค) ธาตุใดอยู่บล็อก d
ง) นอกจากธาตุ B แล้ วธาตุใดทีน่ ่ าจะมีความเป็ นโลหะมาก
จ) ธาตุใดมีขนาดของอะตอมใหญ่ ทสี่ ุ ด
ฉ) ธาตุใดเป็ นอโลหะมากทีส่ ุ ด
ช) ธาตุในกลุ่ม A, B, C ธาตุใดมีสภาพไฟฟ้ าลบต่าทีส่ ุ ด
และธาตุใดมีสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนสู งทีส่ ุ ด
ซ) ธาตุในกลุ่ม A, D, E ธาตุใดมีพลังงานไอออไนเซชันต่าทีส่ ุ ด
โลหะ อโลหะ และ กึง่ โลหะ

โลหะแอลคาไลน์ เอิร์ท (S block)


โลหะแอลคาไล (s block)
อโลหะ (p block)

โลหะแทรนซิชัน
(d block)
กึง่ โลหะ
(p block)
โลหะอินเนอร์ แทรนซิชัน (f block)

You might also like