You are on page 1of 40

แบบจ ลองโมเลกุ ล

และ

รู ปทรงเรขาคณิ ตของโมเลกุ ล

https://chem.sci.ku.ac.th/labchem

วั ตถุ ประสงค์
1. เ อให้ เข้ าใจทฤษฎี VSEPR และสามารถนํ าไปประยุ กต์ ใช้ ได้
2. เ อให้ สามารถวาดรู ปทรงทางเรขาคณิ ตของโมเลกุ ลหรื อไอออนแบบง่ าย ๆ ได้
3. เ อให้ เข้ าใจในเหตุ ผลของการเ ยงเบนรู ปร่ างโมเลกุ ลจริ งจากรู ปร่ างโมเลกุ ล
ทางอุ ดมคติ
พื่
พื่
พื่

บี่



3

ง นิ สิตต้ องรู้และเข้ าใจ


1. การเขี ยนสู ตรโครงสร้ างลิ วอิ ส
2. ทฤษฎี VSEPR
Valence Shell Electron Pair Repulsion
3. รู ปร่ างเรขาคณิ ตของโมเลกุ ล
สิ่
ที่

1. การเขี ยนสู ตรโครงสร้างลิ วอิ ส


5

1. การเขี ยนสู ตรโครงสร้างลิ วอิ ส


1.1 ค นวณจ นวน valence electron งหมด ของโมเลกุ ล สนใจ เช่ น

CH4 ประกอบด้ วย C ห งอะตอม และ H อะตอม


จากตารางธาตุ
   C อยู่ หมู่   ดั ง น C แต่ ละอะตอมจะมี valence electron จ นวน 4 ตั ว
   H อยู่ หมู่ ห ง ดั ง น H แต่ ละอะตอมจะมี valence electron จ นวน 1 ตั ว

เพราะฉะ น จ นวน valence electron งหมดของ CH4  คื อ

CH4
4 + 4(1)  =  8
นึ่
นึ่


นั้
สี่


นั้
นั้
ทั้
ทั้
สี่

ที่


1. การเขี ยนสู ตรโครงสร้างลิ วอิ ส


1.1 ค นวณจ นวน valence electron งหมด ของโมเลกุ ล สนใจ เช่ น


ทั้
ที่
7

1. การเขี ยนสู ตรโครงสร้างลิ วอิ ส


1.2 อะตอมกลาง จะเ นธาตุ ค่ า
       “อิ เล็ กโทรเนกาติ วิตี (electronegativity)” น้ อย สุ ด

***ยกเว้ น H จะเ นอะตอม อยู่ รอบนอกเสมอ***


***ถ้ าโมเลกุ ลมี สองอะตอม ไม่ ต้องสนใจ EN เลย***

“อิ เล็ กโทรเนกาติ วิตี (electronegativity, EN)”


คื อ ค่ า แสดงความสามารถในการดึ งดู ดอิ เล็ กตรอนในพั นธะเข้ ามาหาตั วเอง
(ค่ ามากก็ ดึงดู ดได้ ดี)
ที่
ป็
ป็
ที่
ที่
มี่

ที่

8

1. การเขี ยนสู ตรโครงสร้างลิ วอิ ส


จากตารางธาตุ อะตอม มี ค่า EN มาก สุ ด คื อ Fluo ine (F)
อะตอม อยู่ ห่างจาก F มากเท่ าใด ค่ า EN งน้ อยลง
1 2

1 H
1.008
He
4.002602
Hydrogen Helium

3 4 5 6 7 8 9 10

2 Li Be B C N O F Ne
9
6.94 9.0121831 10.81 12.011 14.007 15.999 18.998403163 20.1797
Lithium Beryllium Boron Carbon Nitrogen Oxygen Fluorine Neon

11 12 13 14 15 16 17 18

F
3 Na
22.98976928
Mg
24.305
Al
26.9815385
Si
28.085
P
30.973761998
S
32.06
Cl
35.45
Ar
39.948
Sodium Magnesium Aluminium Silicon Phosphorus Sulfur Chlorine Argon

19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36

4 K Ca Sc Ti V Cr Mn Fe Co Ni Cu Zn Ga Ge As Se Br Kr

EN
39.0983
Potassium
40.078
Calcium
44.955908
Scandium
47.867
Titanium
50.9415
Vanadium
51.9961
Chromium
54.938044
Manganese
55.845
Iron
58.933194
Cobalt
58.6934
Nickel
63.546
Copper
65.38
Zinc
69.723
Gallium
72.630
Germanium
74.921595
Arsenic
78.971
Selenium
79.904
Bromine
83.798
Krypton
18.998403163
37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54
Fluorine
5 Rb Sr Y Zr Nb Mo Tc Ru Rh Pd Ag Cd In Sn Sb Te I Xe

ลด
85.4678 87.62 88.90584 91.224 92.90637 95.95 98 101.07 102.90550 106.42 107.8682 112.414 114.818 118.710 121.760 127.60 126.90447 131.293
Rubidium Strontium Yttrium Zirconium Niobium Molybdenum Technetium Ruthenium Rhodium Palladium Silver Cadmium Indium Tin Antimony Tellurium Iodine Xenon

55 56 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86

6 Cs Ba 57 Hf Ta W Re Os Ir Pt Au Hg Tl Pb Bi Po At Rn

ลง
132.90545196
Caesium
137.327
Barium
71 178.49
Hafnium
180.94788
Tantalum
183.84
Tungsten
186.207
Rhenium
190.23
Osmium
192.217
Iridium
195.084
Platinum
196.966569
Gold
200.592
Mercury
204.38
Thallium
207.2
Lead
208.98040
Bismuth
209
Polonium
210
Astatine
222
Radon

87 88 104 105 106 107 108 109 110 111 112 113 114 115 116 117 118

7 Fr Ra 89 Rf Db Sg Bh Hs Mt Ds Rg Cn Uut Fl Uup Lv Uus Uuo


223
Francium
226
Radium
103 267
Rutherfordium
268
Dubnium
269
Seaborgium
270
Bohrium
269
Hassium
278
Meitnerium
281
Darmstadtium
281
Roentgenium
285
Copernicium
286
Ununtrium
289
Flerovium
289
Ununpentium
293
Livermorium
294
Ununseptium
294
Ununoctium

57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71
Lanthanide
Series La
138.90547
Ce
140.116
Pr
140.90766
Nd
144.242
Pm 145
Sm 150.36
Eu
151.964
Gd 157.25
Tb
158.92535
Dy
162.500
Ho
164.93033
Er
167.259
Tm
168.93422
Yb
173.054
Lu
174.9668
Lanthanum Cerium Praseodymium Neodymium Promethium Samarium Europium Gadolinium Terbium Dysprosium Holmium Erbium Thulium Ytterbium Lutetium

89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103


Actinide
Series Ac 227
Th
232.0377
Pa
231.03588
U
238.02891
Np 237
Pu 244
Am Cm 243 247
Bk 247
Cf
251
Es252
Fm257
Md258
No259
Lr
266
Actinium Thorium Protactinium Uranium Neptunium Plutonium Americium Curium Berkelium Californium Einsteinium Fermium Mendelevium Nobelium Lawrencium

เราสามารถเปรี ยบเที ยบค่ า EN โดยประมาณ ของอะตอมแต่ ละอะตอมในโมเลกุ ล


โดยดู จากต แหน่ ง อยู่ ห่างจากอะตอม F

ที่
ที่
ที่่
ที่

ยิ่

1. การเขี ยนสู ตรโครงสร้างลิ วอิ ส


10

1. การเขี ยนสู ตรโครงสร้างลิ วอิ ส


1.3 เขี ยน “คู่ electron ระหว่ างอะตอม”  เ อสร้ างพั นธะเคมี

electron ของอะตอมกลาง
electron ของอะตอม อยู่ รอบอะตอมกลาง
ที่

พื่
11

1. การเขี ยนสู ตรโครงสร้างลิ วอิ ส


1.4 เขี ยน electron เหลื อของอะตอมแต่ ละอะตอม  โดยพิ จารณา “กฎออกเตต”

“กฎออกเตต” (Octet rule)


อะตอมพยายาม จะท ให้ เวเลนซ์ อิเล็ กตรอนของตั วมั นเอง “ครบแปด”
งเ นสภาพ อะตอมเสถี ยร สุ ด

ข้ อยกเว้ นส หรั บกฎออกเตต


- H จะมี e- ล้ อมรอบ 2 ตั ว
- สารประกอบของ Be และ B จะไม่ ครบออกเตต
- สารประกอบของธาตุ อยู่ ในคาบ 3 ของตารางธาตุ เ นต้ นไป จะเกิ นออกเตต
- “อนุ มูลอิ สระ” สารประกอบ มี e- โดดเ ยวเ นเลข
ซึ่
ป็

ที่
ที่
ที่
ที่

ที่

ที่
ที่

ดี่
ป็

คี่

ป็


12

1. การเขี ยนสู ตรโครงสร้างลิ วอิ ส


1.4 เขี ยน electron เหลื อของอะตอมแต่ ละอะตอม  โดยพิ จารณา “กฎออกเตต”

ที่
13

สรุป CH4 NH3 H2O


1.1 จำนวน valence electron ทั้งหมด 8 8 8
1.2 อะตอมกลาง จะเป็นธาตุที่มี่ค่า
“อิเล็กโทรเนกาติวิตี (electronegativity)”
น้อยที่สุด

1.3 เขียนคู่ electron ระหว่างอะตอม


เพื่อสร้างพันธะเคมี

1.4 เขียน electron ที่เหลือของแต่ละอะตอม


โดยพิจารณา “กฎออกเตท” (Octet rule)
14

1. การเขี ยนสู ตรโครงสร้างลิ วอิ ส


1.5 ถ้ าอะตอมกลางไม่ เ นไปตาม “กฎออกเตต” ให้ น electron จากอะตอม อยู่ รอบๆ   
       มาไว้ อะตอมกลางเ อท ให้ เกิ ด พั นธะคู่ หรื อ พั นธะสาม

- ไม่เสถียร - electron อยู่เป็นคู่


- เพราะ electron - แต่ ไม่ครบออกเตต ครบออกเตต
ต้องอยู่เป็นคู่
ที่
ป็
พื่


ที่

15

1. การเขี ยนสู ตรโครงสร้างลิ วอิ ส


1.5 ถ้ าอะตอมกลางไม่ เ นไปตาม “กฎออกเตต” ให้ น electron จากอะตอม อยู่ รอบๆ   
       มาไว้ อะตอมกลางเ อท ให้ เกิ ด พั นธะคู่ หรื อ พั นธะสาม

- ไม่ครบออกเตต - ไม่ครบออกเตต
- ไม่เสถียร
electron ต้องอยู่เป็นคู่ ครบออกเตต
ที่
ป็
พื่


ที่

16

1. การเขี ยนสู ตรโครงสร้างลิ วอิ ส


1.6 ต้ องพิ จารณา formal charge ของอะตอมในโมเลกุ ล
โดยแต่ ละอะตอมตั วควรมี formal charge เข้ าใกล้ ศูนย์

H2O O 6 - 4 - 4/2 =0
H 1 - 0 - 2/2 =0

formal charge ของ O และ H มีค่าเป็นศูนย์


17

1. การเขี ยนสู ตรโครงสร้างลิ วอิ ส


(-1)

SO 4
2-
(-1)

(+2)

(-1)
(-1)

- ครบออกเตต
- แต่ ไม่เสถียร

S 6 - 0 - 8/2 = +2
O 6 - 6 - 2/2 = -1
formal charge ของ S และ O ควรมีค่าเข้าใกล้ศูนย์
18

1. การเขี ยนสู ตรโครงสร้างลิ วอิ ส


SO4 2-
(-1)
จะเห็ นว่ า Formal charge ของ S = +2 และ ของ O = -1
(-1)

งโมเลกุ ลยั งไม่ เสถี ยร


(+2)

(-1)
ดั ง นจึ งควรลองปรั บค่ า Formal charge ของ S และ O
(-1)

ให้ มีค่าเข้ าใกล้ ศูนย์ โดยการน electron ของ O จ นวน 2 คู่


- ครบออกเตต
- แต่ไม่เสถียร เข้ ามาไว้ อะตอมกลาง (S)

หรือ

หา Formal charge ใหม่ซิ!


ซึ่
นั้
ที่




19

1. การเขี ยนสู ตรโครงสร้างลิ วอิ ส


SO4 2-

S 6 - 0 - 12/2 = 0
(0)
(-1)

(0) O 6 - 4 - 4/2 = 0
(-1) O 6 - 6 - 2/2 = -1
- ครบออกเตต
(0)
formal charge มีค่าเข้าใกล้ศูนย์

[ ]
- เสถียร ซึ่งดีกว่าโครงสร้างก่อนหน้านี้

ใส่วงเล็บกับ charge
2-
ให้เรียบร้อย
เป็นอันเสร็จพิธี
2. ทฤษฎี VSEPR
    Valence Shell Electron Pair Repulsion

21

2. ทฤษฎี VSEPR

ทฤษฎี VSEPR
Valence Shell Electron Pair Repulsion
ชั้นนอกสุด

electron ที่อยู่ชั้นนอกสุด

คู่ electron ที่อยู่ชั้นนอกสุด

การผลักกันของคู่ electron ที่อยู่ชั้นนอกสุด


22

2. ทฤษฎี VSEPR
ค ถาม: ทฤษฎี VSEPR ต้ องเข้ าใจอะไรบ้ าง ?
ค ตอบ:             
1. พั นธะโคเวเลนต์
2. การผลั กกั น ของ “คู่ electron” ใน “Valence shell”
3. ลดแรงผลั กระหว่ าง “คู่ electron” ใน “Valence shell”

การเกิดรูปร่างโมเลกุลที่เสถียร เกิดจาก
แรงผลักระหว่าง “คู่ electron” ใน “Valence shell”
ที่อยู่ภายในโมเลกุล “มีค่าน้อยที่สุด”


23

2. ทฤษฎี VSEPR
พั นธะโคเวเลนต์ - เกิ ดจากการ อะตอมอย่ างน้ อยสองอะตอมสร้ างพั นธะเคมี ร่วมกั น
เ อเกิ ดเ นโมเลกุ ล โดย อะตอมแต่ ละอะตอมจะน electron มาร่ วมสร้ างพั นธะ

electron
คู่ โดดเดี่ยว
electron
คู่สร้างพันธะ electron electron
คู่สร้างพันธะ คู่สร้างพันธะ
electron
คู่ โดดเดี่ยว

electron electron electron


คู่สร้างพันธะ คู่สร้างพันธะ คู่สร้างพันธะ
พื่
ป็
ที่
ที่

24

2. ทฤษฎี VSEPR
ชนิ ดของคู่ electron
1. electron คู่ สร้ างพั นธะ
electron เกิ ดจากการ อะตอมน electron มาร่ วมกั นสร้ างพั นธะ
คู่ โดดเดี่ยว
electron
• พั นธะเ ยว
electron
คู่สร้างพันธะ คู่สร้างพันธะ • พั นธะคู่
• พั นธะสาม

2. electron คู่ โดดเ ยว


เ นคู่ electron อยู่ บริ เวณรอบๆอะตอม
ไม่ เกิ ดการสร้ างพั นธะ
ป็
ดี่

ที่
ที่
ดี่

25

2. ทฤษฎี VSEPR
1. electron คู่ สร้ างพั นธะ

electron คู่ สร้ างพั นธะ


- ถู กจ กั ดอยู่ ในบริ เวณ เกิ ดพั นธะ มี อิสระน้ อย
- จ นวน electron มาก น เ อมี พันธะมาก น
- จ นวน electron  มาก น ท ให้ พันธะแข็ งแรง น

อิทธิพลของการผลักกันระหว่าง
“electron คูส
่ ร้างพันธะ”
พันธะเดี่ยว พันธะคู่ พันธะสาม
หรือ หรือ หรือ พันธะเดีย
่ ว  <  พันธะคู่  <  พันธะสาม
ขึ้
ขึ้
ขึ้
ขึ้



ที่
ที่

มื่



26

2. ทฤษฎี VSEPR
2. electron คู่ โดดเ ยว
electron
คู่ โดดเดี่ยว

electron คู่ โดดเ ยว


- มี อิสระในการอยู่ รอบๆ อะตอม   ต้ องการ น เยอะ
- ส่ งอิ ทธิ พลในการผลั กสู ง
ดี่

ดี่
พื้
ที่

27

2. ทฤษฎี VSEPR
อิ ทธิ พลของการผลั กกั นระหว่ างคู่ electron เ นไดั ง

แรงผลักมากสุด 1 คู่ โดดเดี่ยว - คู่ โดดเดี่ยว

2 คู่ โดดเดี่ยว - คู่สร้างพันธะ

3 คู่สร้างพันธะ - คู่สร้างพันธะ
อิทธิพลของการผลักกัน ระหว่าง electron คู่สร้างพันธะ
พันธะเดี่ยว < พันธะคู่ < พันธะสาม
ป็
นี้
28

2. ทฤษฎี VSEPR
อิ ทธิ พลของการผลั กกั นระหว่ างคู่ electron เ นไดั ง
คู่ โดดเดี่ยว - คู่ โดดเดี่ยว > คู่ โดดเดี่ยว - คู่สร้างพันธะ > คู่สร้างพันธะ - คู่สร้างพันธะ
1 2 3
1
2 2
3 3
2 2
3 3
3 3 3

คู่สร้างพันธะ - คู่สร้างพันธะ คู่ โดดเดี่ยว - คู่สร้างพันธะ คู่ โดดเดี่ยว - คู่ โดดเดี่ยว


คู่สร้างพันธะ - คู่สร้างพันธะ คู่ โดดเดี่ยว - คู่สร้างพันธะ
คู่สร้างพันธะ - คู่สร้างพันธะ

โมเลกุลไหนมีมุมพันธะกวางที่สุด ?
ป็
นี้
3. รู ปร่างเรขาคณิ ตของโมเลกุ ล
30

3. รูปร่างเรขาคณิ ตของโมเลกุ ล
มุ มพั นธะในโมเลกุ ล

มุ มพั นธะ คื อ มุ ม อยู่ ะหว่ างพั นธะ เกิ ดจาก


• โมเลกุ ล มี การสร้ างพั นธะเคมี จากอะตอมอย่ างน้ อยสามอะตอม
• พั นธะเคมี เกิ ดจาก electron คู่ สร้ างพั นธะ 
มุมพันธะ • มุ มพั นธะ จะเกิ ดจากการผลั กกั นของคู่ electron ในโมเลกุ ล
งจาก electron คู่ สร้ างพั นธะ  และ จาก electron คู่ โดดเ ยว
ทั้
ที่
ที่

ดี่

31

3. รูปร่างเรขาคณิ ตของโมเลกุ ล
รู ปทรงเรขาคณิ ตของโมเลกุ ล

AXm AXmEn
A คือ อะตอมกลาง
X คือ อะตอมที่อยู่ล้อมรอบอะตอมกลาง
จำนวน m อะตอม
E คือ electron คู่ โดดเดี่ยว จำนวน n คู่
1
2 2
3 3
2 2
3 3
3 3 3

จาก สูตรโครงสร้างลิวอิส สามารถเขียนสูตร AXm หรือ AXmEn ได้


AX4 AX3E AX2E2
ทำให้สามารถทำนายรูปทรงเรขาคณิตของโมเลกุลได้ต่อไป
32

3. รูปร่างเรขาคณิ ตของโมเลกุ ล
รู ปทรงเรขาคณิ ตของโมเลกุ ล
1
2 2
3 3
2 2
3 3
3 3 3

คู่สร้างพันธะ - คู่สร้างพันธะ คู่ โดดเดี่ยว - คู่สร้างพันธะ คู่ โดดเดี่ยว - คู่ โดดเดี่ยว


คู่สร้างพันธะ - คู่สร้างพันธะ คู่ โดดเดี่ยว - คู่สร้างพันธะ
คู่สร้างพันธะ - คู่สร้างพันธะ

AX4 AX3E AX2E2


ทรงสี่หน้า ? ?
มุมพันธะ 109.5° ?* ?*
*ให้เทียบจากมุมที่รู้ เราจะประมาณค่าของมุมว่าน้อยกว่าหรือมากกว่ามุมที่รู้ ได้
33

3. รูปร่างเรขาคณิ ตของโมเลกุ ล
เปรี ยบเที ยบมุ มพั นธะในโมเลกุ ล

ก หนดให้ ค่า EN ของอะตอม A, B และ C เ นไปตามล ดั บ   EN:  A > B > C

A----A B----B C----C


A----B B----C
A----C อะตอมที่มี EN มาก
ความหนาแน่น
จะดึงกลุ่ม electron
ของ electron เข้าหาตัวเองได้ดี
ที่ร่วมสร้างพันธะ

ป็

34

3. รูปร่างเรขาคณิ ตของโมเลกุ ล
เปรี ยบเที ยบมุ มพั นธะในโมเลกุ ล

ก หนดให้ ค่า EN ของอะตอม A, B และ C เ นไปตามล ดั บ   EN:  A > B > C

มุมพันธะ
BAB กับ CAC
มุมไหนกว้างกว่ากัน ?

กลุ่ม electron มีประจุลบ ถ้าเข้าใกล้กันจะผลักกันมาก


ดังนั้น เราจะพิจารณาขนาดของมุมโดยดูความหนาแน่นของ electron รอบๆอะตอมกลาง

ความหนาแน่น
ของ electron
ที่ร่วมสร้างพันธะ

ป็

35

3. รูปร่างเรขาคณิ ตของโมเลกุ ล
แบบจ ลองรู ปทรงเรขาคณิ ตของโมเลกุ ล

AXm AXmEn
AX2
AX3 AX2E
AX4 AX3E AX2E2
AX5 AX4E AX3E2 AX2E3
AX6 AX5E AX4E2
A คือ อะตอมกลาง
X คือ อะตอมที่อยู่ล้อมรอบอะตอมกลางจำนวน m อะตอม
E คือ electron คู่ โดดเดี่ยว จำนวน n คู่

36

3. รูปร่างเรขาคณิ ตของโมเลกุ ล
แบบจ ลองรู ปทรงเรขาคณิ ตของโมเลกุ ล

AX2 AX3 AX2E


เส้นตรง ระนาบสามเหลี่ยม รูปตัววี

120°

120° 120°
180 ° <120°

37

3. รูปร่างเรขาคณิ ตของโมเลกุ ล

AX4 AX3E AX2E2


ทรงสี่หน้า พีระมิดฐานสามเหลี่ยม รูปตัววี
109.5°

109.5°
109.5°

1
3 3 2 2
2 2
3 3 3 3
3
38

3. รูปร่างเรขาคณิ ตของโมเลกุ ล

AX5 AX4E AX3E2 AX2E3


พีระมิดคู่ ไมกระดานหก รูปตัวที เสนตรง
ฐานสามเหลี่ยม

มุมพันธะจะอยู่ในแนวระนาบและแนวดิ่ง
39

3. รูปร่างเรขาคณิ ตของโมเลกุ ล

AX6 AX5E AX4E2


ทรงแปดหน้า พีระมิดฐานจัตุรัส ระนาบจัตุรัส
109.5°
90 °

109.5°
109.5°
© 2022 ปฏิ บัติการเคมี
ภาควิ ชาเคมี คณะวิ ทยาศาสตร์ มหาวิ ทยาลั ยเกษตรศาสตร์

You might also like