You are on page 1of 45

ตะลุยโจทย์เตรียมสอบปลายภาค

ม.6 เทอม 2 [# 1]
By P’Tum (CU Engineer)
LINE : @tumtewphysics
ฟิสิกส์อะตอม LINE : @tumtewphysics
1. การทดลองของทอมสัน
หาค่าประจุไฟฟ้ าต่อมวล q/m

𝐅𝐁 = 𝐅𝐂

𝐪 𝐯
=
𝐦 𝐁𝐑
ฟิสิกส์อะตอม LINE : @tumtewphysics
1. การทดลองของทอมสัน
หาค่าประจุไฟฟ้ าต่อมวล q/m

𝐅𝐁 = 𝐅𝐄

𝐪 𝐄
= 𝟐
𝐦 𝐁 𝐑
ฟิสิกส์อะตอม LINE : @tumtewphysics
2. การทดลองของมิลลิแกน 𝐅𝐄 = 𝐦𝐠

𝐦𝐠𝐝
𝐪=
𝐕
𝐞 = 𝟏. 𝟔 𝐱 𝟏𝟎−𝟏𝟗 𝐂

จะได้
หยดน้ามันหยุดนิ่ง
𝐦 = 𝟗. 𝟏 𝐱 𝟏𝟎−𝟑𝟏 𝐂
ระหว่างระหว่างแผ่นโลหะ
ฟิสิกส์อะตอม LINE : @tumtewphysics
3. แบบจาลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด

- ประจุไฟฟ้ าบวกรวมตัวกันที่ศนู ย์กลาง


เรียกว่า นิวเคลียส(Nucleus)
- อิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยู่รอบนิวเคลียส
ฟิสิกส์อะตอม LINE : @tumtewphysics
4. ทฤษฏีอะตอมของโบร์
1. e- เคลื่อนที่รอบนิวเคลียสโดยไม่ปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าออกมา และจะมี
𝐡
โมเมนตัมเชิงมุม(L)คงที่ ซึ่งมีค่าเป็ นจานวนเท่าของ 𝐡 (เอชบาร์ , 𝐡 = 𝟐𝛑 )
𝐡
𝐋 = 𝐦𝐯𝐧 𝐫𝐧 = 𝐧𝐡 = 𝐧 n = 1 , 2 , 3 , … (เรียกว่า เลขควอนตัม)
𝟐𝛑

2. e- รับหรือคายพลังงานทุกครัง้ ที่มีการเปลี่ยนวงโคจร โดยพลังงานอยู่ใน


รูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าความถี่ f ตามสมมติฐานของพลังค์ (𝑬 = 𝒏𝒉𝒇)
𝐡𝐟 = ∆𝐄 = 𝐄𝐧𝐟 − 𝐄𝐧𝐢
ฟิสิกส์อะตอม LINE : @tumtewphysics
4. ทฤษฏีอะตอมของโบร์ - รัศมีวงโคจรของอะตอมไฮโดรเจน
𝒓𝒏 = 𝒂𝟎 𝒏𝟐 (รัศมีโบร์ , a0)

- พลังงานอิเล็กตรอนของอะตอมไฮโดรเจน
𝒌𝒆𝟐 𝟏 𝒌𝒆𝟐
𝑬𝑷 = −
𝒓𝒏
𝑬𝒌 =
𝟐 𝒓𝒏
𝑬𝑷 = 𝟐𝑬𝒌

- สูตรการหาพลังงานรวมของอิเล็กตรอน
𝑬𝟏
𝑬𝒏 = 𝟐 n = ชัน้ วงโคจรอิเล็กตรอน
𝒏
−𝟏𝟑.𝟔
𝐄𝐧 =
𝐧𝟐
[eV]
ฟิสิกส์อะตอม LINE : @tumtewphysics
4. ทฤษฏีอะตอมของโบร์ อนุกรมสเปกตรัมของไฮโดรเจน
การเกิดสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน
หาความถี่คลื่นได้จาก
∆𝐄 = 𝐄𝐧𝐟 − 𝐄𝐧𝐢 = 𝐡𝐟
𝟏𝟐𝟒𝟎
∆𝐄 = [eV]
𝝀[𝒏𝒎]
𝟏 𝟏 𝟏
= 𝑹𝑯 −
𝝀 𝒏𝒊 𝟐 𝒏𝒇 𝟐
ฟิสิกส์อะตอม LINE : @tumtewphysics
3.1 ถ้าสังเกตเห็นว่า รัศมีความโค้งของทางวิ่งของอิเล็กตรอนที่มีประจุ e มวล m
ในสนามแม่เหล็ก B ดังที่เห็นในหลอดตาแมว ว่ามีค่าเป็ น R แสดงว่าอิเล็กตรอน
นัน่ วิ่งด้วยอัตราเร็วเท่าใร
𝒆𝑩 𝒆𝑹
1. 𝒎𝑹 2. 𝒎𝑩
𝒆 𝒆𝑩𝑹
3. 𝒎𝑩𝟐𝑹𝟐 4. 𝒎
ฟิสิกส์อะตอม LINE : @tumtewphysics
3.2 ในการทดลองของมิลลิแกน เมื่อทาให้หยดน้ามันมวล 1.6 × 10-14 กิโลกรัม ลอย
หยุดนิ่งระหว่างแผ่นโลหะขนานซึ่งวางห่างกัน 1 ซม. โดยแผ่นบนมีศกั ย์ไฟฟ้ าสูง
กว่าแผ่นล่างเท่ากับ 392 โวลต์ ถ้าความเร่งเนื่ องจากแรงดึงดูดของโลกเทากับ 9.8
เมตร/วินาที2 และอิเล็กตรอนมีประจุ 1.6 × 10-19 คูลอมบ์ จงคานวณหาว่าหยด
น้ามันมีอิเล็กตรอนอิสระแฝงอยู่กี่ตวั
1. 25 2. 50 3. 250 4. 500
ฟิสิกส์อะตอม LINE : @tumtewphysics
3.3 การที่รทั เทอร์ฟอร์ด ทาการทดลองยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผ่นทองคาบาง
แล้วพบว่าโครงสร้างของอะตอมไม่เป็ นไปตามแบบของทอมสัน เนื่ องจาก
รัทเทอร์ฟอร์ดพบว่า
1. อนุภาคแอลฟาเกือบทัง้ หมดเบนไปจากแนวเดิมเป็ นมุมใดๆ และบางที่มีการ
สะท้อนกลับ
2. อนุภาคแอลฟาเบนไปจากเดิมทุกทิศทางเท่าๆ กัน
3. อนุภาคแอลฟาทัง้ หมดวิ่งทะลุผา่ นแผ่นทองคาไปในแนวเกือบเป็ นเส้นตรง
4. อนุภาคแอลฟาบางส่วนเบนไปจากแนวคิดเป็ นมุมใดๆ ทัง้ ที่เป็ นส่วนใหญ่ผา่ น
ไปในแนวตรง
ฟิสิกส์อะตอม LINE : @tumtewphysics
3.4 ในการทดลองยิงอนุภาคแอลฟาผ่านแผ่นทองคาบางๆ ของรัทเทอร์ฟอร์ด ข้อ
ใดที่แสดงว่านิวเคลียสของอะตอมมีขนาเล็กและมีประจุบวกทัง้ หมดรวมกันอยู่
1. อนุภาคแอลฟาส่วนใหญ่ผา่ นไปตรงๆ
2. อนุภาคแอลฟาบางตัวเบนไปถึง 90 องศาหรือมากกว่า
3. จานวนอนุภาคแอลฟาที่เบนเป็ นมุมโตมีไม่น้อย
4. จานวนอนุภาคที่ย้อนกลับมีมาก
ฟิสิกส์อะตอม LINE : @tumtewphysics
3.5 อิเล็กตรอนประจุ –e โคจรรอบนิวเคลียสประจุ +e ตามแนววงกลมรัศมี r จะมี
𝟏
พลังงานรวมเท่าใด (ในที่นี้ค่าคงตัวทางไฟฟ้ า 𝑲 = 𝒌𝑬 = 𝟒𝝅𝜺 )
𝟎

−𝟏 𝒆𝟐 𝟏 𝒆𝟐
1. ∙ 2. ∙
𝟖𝝅𝜺𝟎 𝒓 𝟖𝝅𝜺𝟎 𝒓

−𝟏 𝒆𝟐 𝟏 𝒆𝟐
3. ∙ 4. ∙
𝟒𝝅𝜺𝟎 𝒓 𝟒𝝅𝜺𝟎 𝒓
ฟิสิกส์อะตอม LINE : @tumtewphysics
3.6 ในช่วงระดับพลังงานตา่ สุดสามระดับเเรกของอะตอมไฮโดรเจน คลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้ าที่ตรวจพบอยู่ในชุดความถี่ที่ได้ชื่อว่า
1. ชุดไลมานและชุดบาล์มเมอร์
2. ชุดไลมานและชุดพาสเซน
3. ชุดบาล์มเมอร์และชุดพาสเซน
4. ชุดไลมาน ชุดบาล์มเมอร์ และชุดพาสเซน
ฟิสิกส์อะตอม LINE : @tumtewphysics
3.7 เมือ่ อิเล็กตรอนของไฮโดรเจนเปลี่ยนระดับจากพนักงาน n = 4 เป็ นระดับ
พลังงาน n = 2 จะให้แสงสีน้าเงิน ถ้าอิเล็กตรอนเปลี่ยนพลังงานจาก n = 5 ไปยัง n
= 2 จะได้แสงสีใด
1. ม่วง 2. เขียว 3. เหลือง 4. แดง
ฟิสิกส์อะตอม LINE : @tumtewphysics
3.8 อะตอมไฮโดรเจนเปลี่ยนระดับพลังงานจาก n = 2 ไป n = 1 ความยาวคลื่นของ
แสงที่ปล่อยออกมาเป็ นกี่เท่าของในกรณี ที่เปลี่ยนระดับพลังงานจาก n = 4 ถึง
n=2
1. 1/4
2. 1/2
3. 2 เท่า
4. 4 เท่า
ฟิสิกส์อะตอม LINE : @tumtewphysics
3.9 ความยาวคลื่นสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจนเส้นแรก (ที่มีความยาวคลื่นมาก
ที่สดุ ) ในอะตอมบัลเมอร์คือ 656 นาโนเมตร โฟตอนที่สามารถทาให้อะตอม
ไฮโดรเจนจากสถานะพืน้ ฐานแตกตัวเป็ นไอออนได้พอดีควรจะต้องมีความยาว
คลื่นเท่าไร
1. 151 นาโนเมตร
2. 121 นาโนเมตร
3. 91 นาโนเมตร
4. 71 นาโนเมตร
ฟิสิกส์อะตอม LINE : @tumtewphysics
3.10 ระดับพลังงานของอะตอมไฮโดรเจนแสดงได้ดงั ตาราง
n 1 2 3 4 5 6 7 ∞
En (eV) -13.6 -3.4 -1.51 -0.85 -0.54 -0.37 -0.277 0

เมื่อพิจารณาการเปลี่ยนแปลงระดับพลังงานของอิเล็กตรอนจากระดับเริ่มต้น niไป
ยังระดับสุดท้าย nf หรือ (ni, nf) การเปลี่ยนแปลงข้อใดที่ให้สเปกตรัมเส้นสว่างที่มี
ความยาวคลื่นสัน้ ที่สดุ
1. (2, 5) 2. (5, 3) 3. (7, 4)
4. (4, 7) 5. (6, 2)
ฟิสิกส์อะตอม LINE : @tumtewphysics
3.11 ในทฤษฎีอะตอมของโบร์ มีสมมุติฐานว่าค่าโมเมนตัมเชิงมุมของอิเล็กตรอนมี
ได้เฉพาะบางค่าเท่านัน้ ข้อใดต่อไปนี้ ไม่สามารถเป็ นค่าโมเมนตัมเชิงมุมของ
อิเล็กตรอนในขณะใดๆ ของอะตอมไฮโดรเจน
1. 3.15 × 10-34 Js
2. 4.20 × 10-34 Js
3. 6.80 × 10-34 Js
4. 7.35 × 10-34 Js
ฟิสิกส์อะตอม LINE : @tumtewphysics
3.12 จงคานวณหาความยาวคลื่นยาวที่สดุ และสัน้ ที่สดุ ในอนุกรมไลแมนของ
ไฮโดรเจนสเปกตรัม (ตอบในหน่ วยอังสตรอม)
1. 1215, 952 2. 1215, 912 3. 1415, 912 4. 1415, 952
ฟิสิกส์อะตอม LINE : @tumtewphysics
5. การทดลองของฟรังก์และเฮิรตซ์
สรุปการทดลองของฟรังก์และเฮิรตซ์
“พลังงานอะตอมปรอทมีค่าไม่ต่อเนื่ อง”
ฟิสิกส์อะตอม LINE : @tumtewphysics
6. รังสีเอกซ์ 2. การเกิดรังสีเอ็กซ์แบบเฉพาะตัว
การเกิดรังสีเอ็กซ์มี 2 กระบวนการ (characteristic X-rays)
1. การเกิดรังสีเอ็กซ์แบบต่อเนื่ อง จะให้คลื่นออกมาเป็ นช่วงๆ
(continuous X-rays) ∆𝐄 = 𝐡𝐟
รังสีเอ็กซ์ต่อเนื่ องมี
พลังงานได้มากสุด
เท่ากับพลังงานสูงสุด
ของอิเล็กตรอน
ฟิสิกส์อะตอม LINE : @tumtewphysics
6. รังสีเอกซ์
การเกิดรังสีเอ็กซ์มี 2 กระบวนการ
2. การเกิดรังสีเอ็กซ์แบบเฉพาะตัว
(characteristic X-rays)
ทานองเดียวกับการเกิดสเปกตรัมของ
อะตอมไฮโดรเจน ซึ่งจะให้คลื่นออกมา
เป็ นช่วงๆ
∆𝐄 = 𝐡𝐟
ฟิสิกส์อะตอม LINE : @tumtewphysics
4.1 เส้นสเปกตรัมของอะตอมของธาตุชนิดหนึ่ ง ประกอบด้วยชุดของแสงที่มีความ
ยาวคลื่นต่างๆ และ
1. เป็ นการสนับสนุนทฤษฎีของบอร์
2. เหมือนกับธาตุชนิดอื่น
3. เป็ นคุณสมบัติเฉพาะของธาตุชนิดนัน้
4. กระจายอยู่ในช่วงที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า
ฟิสิกส์อะตอม LINE : @tumtewphysics
4.2 ในการทดลองของฟรังค์-เฮริตซ์ ถ้าใช้แก๊สไฮโดรเจนแทนไอปรอท และใช้
ความต่างศักย์เร่งอิเล็กตรอนเท่ากับ 10.3 โวลต์ แก๊สไฮโดรเจนจะปล่อยคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้ าได้มากที่สดุ กี่ความถี่ (ถ้ากาหนดให้สถานะพืน้ ของอะตอมไฮโดรเจน
มีพลังงาน 13.6 อิเล็คตรอน-โวลต์ หรือ -21.76 × 10-19 จูล)
1. 1 ความถี่ 2. 2 ความถี่
3. 3 ความถี่ 4. 4 ความถี่
ฟิสิกส์อะตอม LINE : @tumtewphysics
4.3 สมมติว่าแผนภาพแสดงระดับพลังงานของอะตอมชนิดหนึ่ งเป็ นดังรูป ให้ค่า
ความยาวคลื่นของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่จะทาให้อะตอมในสถานะพืน้ ฐานแตกตัว
เป็ นไอออนได้พอดี
1. 62 nm
2. 100 nm
3. 210 nm
4. 310 nm
ฟิสิกส์อะตอม LINE : @tumtewphysics
4.4 การทดลองของฟรังก์และเฮิรตซ์พบว่าต้องใช้พลังงาน 4.9 eV, 6.7 eV, 10.4 eV
ตามลาดับ แก่อะตอมสภาวะปกติของไอปรอท ถ้าอะตอมปรอทเปลี่ยนระดับ
พลังงานกระตุ้นที่ 3 สู่สภาวะกระตุ้นที่ 1 จะต้องเปลี่ยนโฟตอนพลังงานเท่าใด
1. 1.8 eV
2. 3.7 eV
3. 5.5 eV
4. 6.7 eV
ฟิสิกส์อะตอม LINE : @tumtewphysics
4.5 อิเล็กตอนถูกเร่งในหลอดโทรทัศน์ ด้วยความต่างศักย์ประมาณ 10,000 โวลต์
เมื่ออิเล็กตรอนกระทบจอโทรทัศน์ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่แผ่ออกจากหน้ าจอ
โทรทัศน์ มีความยาวคลื่นได้สนั ้ สุด คือ (หน่ วยเมตร)
1. 4.1 × 10-9 2. 1.2 × 10-10 3. 8.0 × 109 4. 2.4 × 1016

You might also like